การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา :ห้องเรียนเศรษฐกิจพอเพียง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา :ห้องเรียนเศรษฐกิจพอเพียง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา :ห้องเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา :ห้องเรียนเศรษฐกิจพอเพียง โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 24 มกราคม 2550 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

2 คนยุคใหม่ต้องมีคุณภาพ
นำความเปลี่ยนแปลง โลกยุคใหม่ แก้ปัญหา เผชิญหน้า รู้หลายอย่าง นอกห้องเรียน เผชิญ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี เปลี่ยนเร็ว คนยุคใหม่ต้องมีคุณภาพ คิดริเริ่ม พึ่งตนเอง มีเหตุผล ปรับตัว ต้องเปลี่ยนวิธีสอน เปลี่ยนสิ่งแวดล้อม คณาจารย์ยุคใหม่

3 องค์ความรู้สำหรับนักการศึกษา/ คณาจารย์ยุคใหม่
1.รู้จัก Learning Styles – เช่นการเรียนรู้แบบโครงงาน/ เรียนรู้เพื่อพัฒนาสมอง/ การสร้างสรรค์ด้วยปัญญา/เรียนรู้ด้วยการวิจัย 2.รู้จัก Learning How to Learn - รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร/ How to Search 3. รู้จักใช้ตัวช่วย(ICT for Learning) 5

4 มีงานทำ ทำงานและ เรียนรู้ ตลอดชีวิต การเรียน การสอน
ยุคเก่า หลักสูตร+วิธีสอน+ตำรา/อุปกรณ์+วัดผล ได้รับปริญญา มีงานทำ การเรียน การสอน ยุคใหม่ สร้างศักยภาพเรียนรู้ด้วยตนเอง + เครือข่ายการเรียนรู้ ทำงานและ เรียนรู้ ตลอดชีวิต ระบบช่วยเหลือนักศึกษา+กิจกรรมรวมพลังทางสังคม 15

5 จุดอ่อนการสอนของคณาจารย์แบบดั้งเดิม
สอนตามแบบที่ตนเองเรียนมา เน้นท่องจำเนื้อหา เน้นจดบันทึกคำบรรยาย สอนแบบตายตัว ทฤษฎี กฎ ตัวอย่างโจทย์ แบบฝึกหัด ให้ทำรายงาน ยัดเยียดให้ครบ/ เกินหลักสูตร

6 สิ่งที่ผู้เรียนได้จากการสอนแบบดั้งเดิม
นกแก้วท่องจำเนื้อหา แก้โจทย์ปัญหาได้ แต่แก้ปัญหา ชีวิตจริงไม่ได้ เป็นนักทฤษฎี แต่ปฏิบัติไม่ได้ ฝึกข้อสอบจากแบบทดสอบรุ่นพี่/ แบบฝึกหัดสำเร็จรูป ลอกรายงาน/ไม่เข้าห้องสมุด

7 ผู้สอน ประสิทธิประสาทวิชา
คณาจารย์ ยุค ใหม่ แม่พิมพ์แบบอย่าง ของการพัฒนา แม่พระให้ความอบอุ่น ความรักความเมตตา

8 หลักการฝึกพัฒนาครูยุคใหม่ หลักการสอนผู้เรียนของครูยุคใหม่
1. จากครู : ผู้สอน ครู : ผู้สอน+ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง 2. จากครู : ผู้บรรยาย ครู ผู้คิดริเริ่ม+ครูที่มีเหตุผล หลักการสอนผู้เรียนของครูยุคใหม่ ครูเป็น ต้นแบบ ครูเรียนรู้ด้วยตนเอง +คิดริเริ่ม+มีเหตุผล ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง +คิดริเริ่ม+มีเหตุผล

9 กระบวน/วิธีฝึกครูให้เป็นผู้เรียน/ผู้เรียนที่คิดริเริ่ม+มีเหตุผล
1. รวบรวมข้อมูล 2. จัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ 3. เชื่อมโยงข้อมูล 4. สร้างแนวคิดทฤษฎี 5. กำหนดทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา 6. ประเมินผลทางเลือก 7. ทดสอบทางเลือกที่ต้องการนำมาใช้ 8. ปรับปรุงทางเลือกที่ใช้ประโยชน์ได้ 9. ลงมือปฏิบัติ + นำไปใช้จริง

10 คุณลักษณะผู้เรียนรู้ด้วยตนเองที่ดี
ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบซ้ำ ๆ ให้เป็นนิสัย ช่างสังเกตเพื่อหาข้อมูล รู้จักฟังให้ได้ข้อมูลที่ดี ฉีกแนวคิดเดิมให้มีทางเลือกใหม่

11 ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง ที่เก่งที่สุด
ปรัชญาของธรรมะ ผู้ปฏิบัติธรรมเท่านั้นที่จะเห็นธรรม ปรัชญาของการศึกษา การศึกษาคือการให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้เอง ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง ที่เก่งที่สุด รู้ว่าจะไปหาความรู้ได้จากที่ไหน ครูที่เก่งที่สุด ครูที่สามารถรายงานได้ครบว่า 1. ผู้เรียนของท่านมีปัญหาอะไร ทั้งด้านการเรียน และการพัฒนา 2. ครูใช้วิธีอะไรแก้ปัญหา 3. วิธีที่ใช้ได้ผลอย่างไร 4. ปีหน้าจะทำอย่างไร

12 การปฏิบัติตนต่อผู้เรียน การปฏิบัติตนต่อผู้เรียน
เดิม การปฏิบัติตนต่อผู้เรียน การสอนของครู - ผู้เรียนต้องเคารพเชื่อฟัง - ผู้เรียนคือกลุ่มที่คุ้นเคย - เรียนรู้จากครูฝ่ายเดียว - ครูบรรยาย - ครูสอนทุกคน เหมือนกัน ใหม่ การสอนของครู การปฏิบัติตนต่อผู้เรียน - ครูศึกษาเรียนรู้ให้ รู้จักแขกแปลกหน้า - ครูจำแนกจุดเด่นจุด ด้อยของผู้เรียนแต่ละคน - ครูแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น กับผู้เรียน - ผู้เรียนเป็นผู้แปลกหน้า - ผู้เรียนยังอ่อนหัด - ผู้เรียนแต่ละคนแตก ต่างกัน

13 คณาจารย์ในฐานะผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง + แม่แบบที่ดีของผู้เรียน
คุณลักษณะ + พฤติกรรมพึงประสงค์ + กระบวนการ 1. มีประสบการณ์มีเหตุผล 2. ใฝ่รู้กระตือรือร้น 3. รับผิดชอบเอาใจใส่ ผู้เรียนมากขึ้น 4. คิดอย่างมีระบบ 5. ฝึกผู้เรียนรู้จักแก้ปัญหาตนเอง 6.ครูร่วมมือทำกิจกรรมสถาบันมากขึ้น 7. ครูสอนผู้เรียนที่แตกต่างด้วยวิธีที่แตกต่างกัน 8. ครูประชุมร่วมกันเพื่อประเมินผลผู้เรียนจากการปฏิบัติ และพฤติกรรม 9. ครูร่วมมือกับผู้บริหาร + ชุมชน 10. ครูมุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมากขึ้น 11. ครูเป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษามากขึ้น 12. ครูมีวินัยพัฒนาตนเองเรียนรู้มากขึ้น 13. วางเป้าหมายการเรียนรู้ที่เป็นไปได้

14 ครูในฐานะผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง ความภูมิใจในความสำเร็จ
เปรียบเทียบครู 2 คน ครูในฐานะผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง + แม่แบบที่ดี ครูในฐานะผู้สอน เนื้อหา กระบวนการสอนแบบใหม่ การสอนดั้งเดิม ผู้เรียนได้ ผู้เรียนได้ เทคนิค/วิธีเรียนรู้ กระบวนการ ข้อเท็จจริง ทฤษฎี เรียนรู้ด้วยตัวเอง - ผู้เรียนมีโอกาสแสดง ความคิดเห็น - ผู้เรียนได้แต่เนื้อหา - เบื่อหน่าย - พบความจริง - นำไปใช้ในชีวิตจริงไม่ได้ - ริเริ่ม - เป็นผู้ตามที่ดี - มีความคิดของตัวเอง - มีความกระตือรือร้น - ความรู้ท่วมหัวเอาตัว รอดหรือไม่ยังไม่แน่ ความภูมิใจในความสำเร็จ ของตนเอง - ไปตายเอาดาบหน้า

15 สรุปปัญหาใหญ่ของการศึกษาไทยอยู่ที่ผลผลิต :การคิด
1.คิดผิด:คิดแบบเอาเปรียบ,คิดเรียนลัด,คิดเก็งกำไร 2.คิดไม่เป็น :ตามผู้อื่น,เลียนแบบ,เชื่อเพราะผู้พูด เป็นผู้ใหญ่หรือผู้อาวุโส 3.ไม่คิด: ติดนิสัยพึ่งพาผู้อื่น,เชื่อตัวบุคคล,เชื่อนัก วิชาการ,เชื่อหนังสือพิมพ์โดยไม่ไตร่ตรอง 4.คิดแล้วไม่ทำ : ประชุมเสร็จก็เลิกรา, ปล่อยให้คน ที่รับผิดชอบไปทำคนเดียว, ไม่ช่วยระดมในรูปกลุ่ม 35

16 แก้ให้จุด ต้องสอนเด็กไทยให้คิดได้ 10มิติ
1. คิดเชิงวิพากษ์ ค้นหาจุดดีจุดอ่อน 2. คิดเชิงวิเคราะห์ จำแนกแจกแจง หาเหตุผล 3. คิดเชิงสังเคราะห์ นำข้อมูลไปรวมกันเป็นสถานการณ์ใหม่ 4. คิดเชิงเปรียบเทียบ ชั่งน้ำหนัก เชื่อมโยงกับสิ่งอื่น 5. คิดเชิงมโนทัศน์ คิดถึงแก่น หลักการ ปรัชญา 36

17 การปฏิรูปการเรียนใหม่ ต้องสอนให้คิดได้ 10มิติ (ต่อ)
6. คิดเชิงประยุกต์ นำไปทดลองใช้ในรูปแบบอื่น 7. คิดเชิงกลยุทธ ค้นหากลอุบายทางเลือก หลายทางไปสู่ความสำเร็จ 8. คิดเชิงบูรณาการ คิดแบบผสมผสาน ใช้ความรู้รอบด้านมาตอบ 9. คิดเชิงสร้างสรรค์ คิดสร้าง ค้นหาสิ่งแปลกใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน 10. คิดเชิงอนาคต วาดไปในอนาคต คาดการณ์จะเกิดอะไรขึ้น 37

18 2) ใช้เกริ่นนำและสรุปเนื้อหาเพื่อบอกให้ชัดเจน ตรงไปตรงมา
การสอนแบบบรรยายไม่ใช่เลวร้ายไปหมด แต่ควรใช้เพียง 20% สอนด้วยวิธีที่หลากหลาย80% ควรใช้การบรรยายใน 3 สถานการณ์ 1) เหมาะกับการพูดกับคนจำนวนคราวละมากๆ ได้พร้อมกัน 2) ใช้เกริ่นนำและสรุปเนื้อหาเพื่อบอกให้ชัดเจน ตรงไปตรงมา 3) เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้รู้ไปยัง ผู้ไม่เคยรู้มาก่อน 38

19 การสอนแบบบรรยาย มี เงื่อนไข
1) ผู้พูดต้องเก่ง มีน้ำเสียงลีลาน่าฟัง เสียงสูงเสียงต่ำ 2) เนื้อหาต้องน่าสนใจ 3) ความยาวไม่มาก 4) เชื่อมโยงกับชีวิตจริง 5) มีการชักแม่น้ำทั้งห้า อุปมาอุปมัย พรรณนา 6) บรรยากาศไม่พูดแข่งกัน ไม่ร้อนเกินไป 39

20 วิธีการถ่ายทอดให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. ผสมผสานสรรพวิชาเข้าด้วยกัน 2. ให้รู้จักเรื่องใกล้ตัวก่อน แล้วจึงขยายวงออกไป 3. รู้จักตนเองก่อน จึงรู้จักผู้อื่น กลุ่มอื่น 4. นำเรื่องที่เหมาะสมกับตนเองมาก่อน ง่ายก่อน 5. ให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม 6. ไม่ติดยึดตำรา แหล่งเรียนรู้แหล่งเดียว 7. เปิดใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ไปค้นหาเพิ่มเติม 8. ทำให้ผู้เรียนรู้ว่ามีสิ่งที่รู้แล้วแต่ยังไม่รู้อีกมาก ต้องใฝ่รู้มากขึ้น 9. สอนให้ฟังไปคิดตามไปด้วย 40

21 แต่ละวิชาใช้ทักษะเรียนรู้ที่ไม่เหมือนกัน
วิชา เน้นทักษะ ภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน สื่อสารผู้อื่น สังคม สร้างเจตคติ ฝึกทักษะกลุ่ม ศิลปะ ดนตรี ลงมือทำ อารมณ์สุนทรียะ คิดสร้างสรรค์ กีฬา ลงมือฝึกให้ร่างกายเคลื่อนไหวในสถานการณ์แข่งขัน วิทยาศาสตร์ คิดเป็นกระบวนการ ทดลองค้นหาความจริง ฝึกอาชีพ ลงมือฝึก รับผิดชอบ สร้างเอกลักษณ์วิชาชีพ ปรัชญาศาสนา รู้เข้มวิเคราะห์สร้างศรัทธาเข้าใจชีวิตและตนเอง เทคโนโลยี ซื้อมาใช้ เลียนแบบ ดัดแปลง สร้างเอง คณิตศาสตร์ ทำแบบฝึกหัด ตีโจทย์ให้แตก หาเหตุผล ต้องเข้าใจ 41

22 รูปแบบการสอนที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง(Learning Styles)
การเรียนรู้ของสมอง Brain based-learning จัดทำโครงงาน Project based- learning ให้คิดสร้างสรรค์ Constructionism เน้นการแก้ปัญหา Problem solving learning เรียนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ต E_learning (Distant learning through internet) สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle) ทักษะชีวิต Life Skills 42

23 การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้
1.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมขั้นพื้นฐาน : ความรับผิดชอบ + ทำงานร่วมกับผู้อื่น 2.จัดกิจกรรมครอบคลุมทั้ง การคิด + พฤติกรรมที่ทำ + เกิดความรู้สึก 3.ใช้วิธีส่งเสริมแบบบูรณาการให้เกิดความคิดในเชิงบวก 4. สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น 5. สร้างโอกาสการเรียนรู้เชิงคุณธรรมให้แก่นักเรียน 43

24 การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์
6.สอดแทรกคุณธรรมทุกวิชาและ ให้เกียรตินักเรียน 7.กระตุ้นให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 8.กระตุ้นครูทุกคนเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ 9.สร้างกิจกรรมนักเรียนในการเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม 10.ขอความร่วมมือผู้ปกครองและชุมชน สนับสนุนการทำดีของลูก 11.การประเมินความสำเร็จของโรงเรียนให้ ประเมิน จาก พฤติกรรมของเด็กนักเรียน 44

25 การส่งเสริมการอ่าน อ่านดีคือ อ่านแล้วจับใจความ ตีความ และประเมินได้
วิธีส่งเสริมรักการอ่าน (อ่านเร็ว อ่านมาก อ่านยาก อ่านทน) -ครูต้องปรับการสอนให้เน้นเพื่อการสื่อสารมากกว่าเน้นไวยากรณ์ -ต้องเร่งงานวิจัยพัฒนาสร้างหลักสูตรวิธีสอนใหม่ๆให้ได้ผล -ครูต้องเปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง -ต้องมีอุปกรณ์ช่วยสอน -ภูมิปัญญาของพ่อแม่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของลูก 45

26 ตัวชี้วัดความสำเร็จ การปฏิรูปการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ของนร/นศ ตัวบ่งชี้ของครู ตัวบ่งชี้ของผู้บริหาร 1.มีประสบการณ์ตรง 1.เตรียมเนื้อหาและวิธีหลากหลาย 1.เป็นผู้นำการปฏิรูป 2.ค้นพบความถนัดของตน 2.จัดบรรยากาศจูงใจ จัดหาสถานที่อุปกรณ์ 3.ร่วมกิจกรรมกับกลุ่ม เอาใจใส่ผู้เรียนรายบุคคล 3.จัดหาความรู้มาเผยแพร่ 4.คิดหลากหลายได้แสดงออก 4.กระตุ้นผู้เรียนแสดงออก 4.ยกย่องผู้มีผลงานดีเด่น 5.ได้รับการเสริมแรง ให้โอกาสพัฒนาตนเอง รายงานความก้าวหน้า 6.ได้ฝึกค้นรวบรวมข้อมูล 6.ใช้สื่อทันสมัยช่วยสอน ให้กำลังใจครูและผู้เรียน 7.สนุกกับการร่วมกิจกรรม ใช้แหล่งเรียนรู้หลากหลาย 8.รับผิดชอบในการทำงาน ฝึกเรียนรู้จากกลุ่ม 9.ประเมินตนเองยอมรับผู้อื่น 9.สังเกตความก้าวหน้าของผู้เรียน 65

27 ตัวอย่าง websitesดีๆ เพื่อการเรียนรู้
ของสหรัฐ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม ของออสเตรเลีย 6

28 ห้องเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงคือส่วนหนึ่งของงานสร้างคุณธรรมผ่านกิจกรรมนักศึกษา หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง แนวบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงในสถาบันการศึกษา แหล่งค้นหาตัวอย่างและข้อมูลดีๆ

29 ปัญหาและพฤติกรรมเด็กไทย ดร. อมรวิชช์ นาครทรรพ ผอ
ปัญหาและพฤติกรรมเด็กไทย ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ผอ.สถาบันรามจิตติ โครงการChild Watch วัยรุ่นดื่มเหล้า สูบบุหรี่ในอัตราสูง เด็กม.ต้นถึงอุดมศึกษา ดื่มเหล้าเป็นครั้งคราวถึงเป็นประจำร้อยละ 36 และสูบบุหรี่ร้อยละ 17 เด็กอาชีวศึกษาครองแชมป์เรื่องสูบบุหรี่ร้อยละ 23 ส่วนเด็กมหาวิทยาลัยครองแชมป์เรื่องกินเหล้าร้อยละ 47 เด็กมัธยมถึงอุดมศึกษาเสพสื่อลามกประเภทวีซีดีโป๊ และเว็บโป๊เป็นครั้งคราวถึงเป็นประจำ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 39 และ 27 เป็นร้อยละ 41 และ 30 การพนันพบว่า อัตราเด็กมัธยมถึงอุดมศึกษาเล่นการพนันและหวยบนดินยังคงที่จากปีที่แล้ว ร้อยละ 17 และ 20 16

30 อายุต่ำกว่า 19ปี คลอดลูกปีละ 70,000ราย
จังหวัดใดมีอัตราดื่มสุราของวัยรุ่นสูง จะมีอัตราเสพสื่อลามกและมีเพศสัมพันธ์สูงตามไปด้วย ปัญหาเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาน่าห่วง วัยรุ่นต่ำกว่า 19 ปี มาทำคลอดเฉลี่ยเกือบวันละ 200 คน หรือกว่า 70,000 คน/ปี และเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 14 ปี ถึงกว่า 2,000 คน อุบัติเหตุจากการดื่มเหล้ายังคงสูงอยู่ มีเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี เสียชีวิตเฉพาะจากอุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์อย่างเดียวเกือบวันละ 20 ราย หรือปีละกว่า 7,000 คน เกือบครึ่งหนึ่งดื่มสุรามึนเมามาก่อนเกิดเหตุ สิ่งเหล่านี้ล้วนชี้ว่าเด็กไทยยังขาดทักษะการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย ซึ่งเป็นหน้าที่ของทั้งครอบครัวและสถาบันการศึกษาต้องช่วยกันเสริมสร้างทักษะการใช้ชีวิตให้แก่เด็ก 17

31 เด็กไทยสำลักเสรีภาพ ปัจจุบันครอบครัวเหินห่างลูกมากขึ้น พบเด็กวัยเรียนระดับมัธยมขึ้นไปเกือบร้อยละ 30 ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ และยิ่งโตขึ้นอยู่ในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ยิ่งใช้ชีวิตอิสระมากขึ้น กลายเป็นใช้เสรีภาพเกินความเหมาะสม โรงเรียนแม้จะส่งเสริมเรื่องระบบการดูแลผู้เรียน แต่ยังขาดประสิทธิภาพดีพอในการดูแลเด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ยง จึงจำเป็นที่โรงเรียนต้องหันมาช่วยส่งเสริมเรื่องทักษะการใช้ชีวิต และการดูแลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้มากขึ้น โดยเฉพาะเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มีแววเสีย ซึ่งจะเห็นได้จากผลการเรียนตกต่ำ โดดเรียนบ่อย มีปัญหากับครูประจำชั้น 18

32 ตีแผ่พฤติกรรม“วัยโจ๋”ดีสุดขั้ว มั่วสุดขีด ปี2549
ต่อมยางอายวิกฤติ แต่งตัวใส่เสื้อไซส์ SSS กางเกง “เอวต่ำ-เป้าสั้น” ไม่อายต่อการแสดงออก “จับคู่ อยู่กิน” “จับกลุ่มมั่วเซ็กซ์” ชีวิตติดไฮโซ ต้องแบรนด์เนม

33 สถานการณ์พฤติกรรมเยาวชนในส่วนที่ ศธ รับผิดชอบ
เป้าหมาย : ส่งเสริมคุณธรรมนักเรียนนักศึกษาภายในปี 2550 W O กระแสตื่นตัวของเครือข่ายองค์กร ชุมชน องค์กรภาคเอกชนและผู้ปกครองเข้มแข็งกว่าเดิม สถานศึกษามีคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีในการสื่อสาร กระจายข้อมูล นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีศธ.ให้ความสำคัญต่อการแก้ปัญหาสังคม มิติพฤติกรรมเยาวชนน่าตกใจ :ปัญหารุนแรง /ยังไม่มีมาตรการแก้ไขจริงจัง คนมอง ศธ ในแง่ลบ: ปฏิรูปการศึกษาล่าช้า/ ปฏิรูปแต่วิชาการอ่อนด้อยทางคุณธรรม ยังไม่ดำเนินงานตามพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546:ยังขาดพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤติ/ ยังไม่ออกกฎกระทรวง/ จำนวนสารวัตรนักเรียนมีน้อยไม่ทั่วถึง ไม่ทันเหตุการณ์ S ยังขาดกลไกประสานเชื่อมโยงภายใน5องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการเองและข้ามกระทรวง ขาดระบบติดตาม ประเมินผล การรายงานความก้าวหน้าของสถานศึกษา บุคลากรขาดทักษะการทำงานเชิงยุทธศาสตร์/ งานเชิงรุกเมื่อปฏิบัติจริงกลับกลายเป็นทำงานเชิงรับ/งานขาดทิศทาง T มีครู นักเรียน และผู้ปกครอง รวมกว่า 12ล้านคน ที่สามารถส่งข้อมูลข่าวสารถึงตัว มีครูที่มีความรู้ เป็นต้นแบบจริยธรรมหรือ ปูชนียบุคคลของนักเรียนนักศึกษา และครูเป็นผู้นำชุมชน เป็นที่ยอมรับนับถือจากผู้ปกครอง . มีงบประมาณเดิมจากแผนงานยาเสพติด โรคเอดส์ งบกีฬา จัดหาเพิ่มบางส่วนได้

34 ขอบข่ายการ ขับเคลื่อนกระบวนการส่งเสริมคุณธรรมของ กระทรวงศึกษาธิการ
วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเด็กและเยาวชน 2. รณรงค์สื่อสารกับสังคม มิติเชิงตัวปัญหา 1.เพศสัมพันธ์ 2.เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด 3. ความรุนแรงยกพวกตีกัน ฆ่าตัวตาย 4.การพนัน 5. เที่ยวเตร่สถานบันเทิง 6.เกม อินเตอร์เน็ต 7.สื่อลามก 8. ขับรถซิ่ง รวมแก๊งก่อกวน 9.ครอบครัวไม่ดูแล มิติเชิงยุทธศาสตร์ 1.มีตัวยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 2.มีเจ้าภาพ / หน่วยงานรับผิดชอบดูแลเชิงยุทธศาสตร์/ความรู้/การอำนวยการ 3.มียุทธศาสตร์เฉพาะในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง เฉพาะกลุ่ม ขอบข่ายการ ขับเคลื่อนกระบวนการส่งเสริมคุณธรรมของ กระทรวงศึกษาธิการ มิติการเคลื่อนไหวแบบบูรณาการ 1.ประเด็น/เรื่อง 2. พื้นที่ /เขต/ จังหวัด /สถานศึกษา องค์กร 4ระบบสนับสนุน

35 ลักษณะนิสัยประจำชาติไทย
รักสงบ เคารพอาวุโส ชอบบันเทิง เมตตากรุณา ผักซีโรยหน้า เป็นคนใจกว้าง อ่อนน้อมถ่อมตัว ช่างอดช่างทน กตัญญูกตเวที ชอบมีอภิสิทธิ์ จิตใจเอื้ออารี โอนอ่อนผ่อนตาม มีความเกรงใจ ให้อภัยเสมอ เคร่งครัดเคารพพระมหากษัตริย์ ค่านิยมต้องสร้างให้เด็กไทย ทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ทำงานไปด้วยเรียนด้วย รู้จักคิดไม่เชื่อง่าย ไม่กินเหล้าสูบบุหรี่ก็เท่ได้ ทันสมัยด้วยเทคโนโลยีใหม่ มั่นใจในวัฒนธรรมและความเป็นไทย ค่านิยมต้องสร้างให้พ่อแม่ ดูแลเอาใจใส่ ให้ความอบอุ่น เป็นแบบอย่างที่ดี รับฟังพร้อมให้เวลาและคำปรึกษา ชมเชยเมื่อทำดี แก้ไขเมื่อทำพลาด เป็นครูคนแรก ค่านิยมต้องสร้างให้ครูไทย อบรมสั่งสอนอย่างกัลยาณมิตร เป็นพ่อแม่คนที่สอง ฝึกทักษะชีวิต ให้คำแนะนำในการเรียน และการสร้างอนาคต

36 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมคุณธรรมของเด็กและเยาวชน
1.สร้างสมรรถนะองค์กร ศ.ธ. 2.สร้างภาคีเครือข่าย 3.สื่อสารกับสังคม ทุกคนร่วมกิจกรรมคุณธรรม 5.ยุทธศาสตร์ตาม ประเด็นเฉพาะ 4.การบริหารจัดการความรู้

37 คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง
ปี2550 การบริหารตามนโยบายรัฐบาล + กระทรวงศึกษาธิการ โดยหลักชูคุณธรรมนำความรู้ – วิถีประชาธิปไตย (สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางประชาธิปไตย/สอดแทรกในการสอน/จัดกิจกรรมสภานักเรียน /เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น /มีเครือข่ายถ่ายทอดความรู้) สมานฉันท์ (จิตสำนึกเป็นพวกเดียวกัน/ มีเอกภาพในความหลากหลาย/เป็นมิตรต่อกัน / พึ่งพาอาศัยกัน/ ไว้วางใจกัน/สร้างพลังร่วมของหมู่คณะ) - สันติสุข ( คารวะธรรม / ปัญญาธรรม / สามัคคีธรรม) - เศรษฐกิจพอเพียง (พอประมาณ / มีเหตุผล / มีภูมิคุ้มกันในตัว)

38 ทิศทางใหม่การจัดการศึกษาในยุโรปเริ่มตั้งแต่ปี 2004
เน้นการสร้างวิถีประชาธิปไตยและหน้าที่พลเมือง 1. ให้เข้าถึงข้อมูลกฎหมาย ข่าวสารผ่านอินเตอร์เน็ต,นสพ.,วิทยุ.ทีวี จัดทำโดยนักเรียน 2. เน้นให้สถาบันการศึกษาส่งเสริมการร่วมพัฒนานโยบาย 3. ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมชมรม/กิจกรรมสังคม 4.ส่งเสริมสิทธิและประชาธิปไตยในสถานศึกษา เปิดให้นักเรียน ประเมินสถานศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ตได้ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักสิทธิเด็กตามกฎหมาย 52

39 การทำงานแบบการสร้างเครือข่ายและสมานฉันท์
ทำบันทึกผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน/ผู้ร่วมงาน ทำบัญชีรายชื่อหน่วยงานเกี่ยวข้อง / ทำบัญชีเว็บไซต์ ไปเยี่ยมศึกษาดูงานแลกข้อมูลซึ่งกันและกัน บทบาทผู้ให้และผู้รับทุนสนับสนุน ขอใช้เป็นแหล่งวิชาการหรือฝึกอบรม มีกลุ่มเครือข่ายแม่ข่ายลูกข่าย ทำโครงการร่วมกันตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน 13

40 คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง
ระยะเวลาของสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษาไทย - งาน 3 ระยะ 1. ร่วมคิด ร่วมเข้าใจตรงกัน 2. ร่วมวางแผน – แบ่งงานกันทำ 3. ร่วมทำ – รณรงค์ - เห็นผล ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ 1. สร้างครอบครัวอบอุ่นมาร่วมมือโรงเรียนและชุมชน บ้าน-วัด-โรงเรียน 2. สร้างวัฒนธรรมสถานศึกษา 3. สร้างเครือข่ายสังคม

41 การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้
1.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมขั้นพื้นฐาน : ความรับผิดชอบ + ทำงานร่วมกับผู้อื่น 2.จัดกิจกรรมครอบคลุมทั้ง การคิด + พฤติกรรมที่ทำ + เกิดความรู้สึก 3.ใช้วิธีส่งเสริมแบบบูรณาการให้เกิดความคิดในเชิงบวก 4. สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น 5. สร้างโอกาสการเรียนรู้เชิงคุณธรรมให้แก่นักเรียน 43

42 การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์
6.สอดแทรกคุณธรรมทุกวิชาและ ให้เกียรตินักเรียน 7.กระตุ้นให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 8.กระตุ้นครูทุกคนเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ 9.สร้างกิจกรรมนักเรียนในการเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม 10.ขอความร่วมมือผู้ปกครองและชุมชน สนับสนุนการทำดีของลูก 11.การประเมินความสำเร็จของโรงเรียนให้ ประเมินจากพฤติกรรมของเด็กนักเรียน 44

43 ณ ปัจจุบัน แต่เรายังมีหนทางแก้ไข
คนไร้ศีลธรรม ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ชอบพึ่งตนเอง รายได้ต่ำรสนิยมสูง มุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตน ไม่อดทดและอดออม ซื้อทุกอย่างที่ขวางหน้า มักง่ายไม่มีความพอ รอพึ่งคนอื่น ปล่อยตัวปล่อยใจ ตามแรงกระตุ้นของวัตถุนิยม ฯลฯ เกิดมาจากความโลภ ขาดวินัยฯทั้งสิ้น แต่เรายังมีหนทางแก้ไข ถ้าเราใช้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ

44 เศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
โครงการการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษา

45 กรอบความคิดเศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำ” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (วารสารชัยพัฒนา)

46 หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขความรู้ (รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) ชีวิตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน

47 หลักปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
โดยพื้นฐาน คือการพึ่งตนเองเป็นหลัก พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร สมเหตุสมผล การสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุล ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

48 หลักของความพอประมาณ (พอดี)5ประการ ข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯ
เข็มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม พอดีด้านจิตใจ พอดีด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน พอดีด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ และเกิดความยั่งยืนสูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการ เป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม และพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน

49 หลักของความมีเหตุผล ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีพ ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพ ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง ไม่หยุดนิ่งที่หาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผู้อื่น พยายามเพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

50 หลักของความมีภูมิคุ้มกัน
มีความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันอดทนและแบ่งปัน

51 วัตถุประสงค์ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ทุกระดับทั้งในและนอกระบบ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กร บริหารการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ สู่การดำรงชีวิต เฉลิมฉลองพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตที่พอเพียง

52 เป้าหมาย สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ระยะแรก สร้างความรู้ความเข้าใจและกระแสสนับสนุนเกี่ยวกับปรัชญาฯ สร้างผู้นำ สถานศึกษาต้นแบบ เกิดการพัฒนาและสร้างคนที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้

53 ขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก
องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ระยะสอง เป็นต้นไป ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุ วัตถุประสงค์ ติดตามประเมินผลและรายงานผล นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและยั่งยืน

54 ขั้นตอนการดำเนินงานตามโครงการ
1. การขับเคลื่อนในระดับกระทรวง แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงาน สร้างพลังเครือข่ายแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ด้วยสื่อรูปแบบต่างๆ

55 2. การขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก
2. การขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุ วัตถุประสงค์และระดับความสำเร็จที่กำหนด

56 3. การติดตามประเมินผลและรายงานผล
4. นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5. กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและ ยั่งยืน

57 แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา
ปัจจัย ประเด็นหลัก ตัวอย่างกิจกรรม ด้านเศรษฐกิจ 1. รู้จักใช้จ่ายของตนเอง - ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล - ใช้จ่ายอย่างพอประมาณ 2. รู้จักออมเงิน - เรียนรู้ระบบการฝากเงิน - เรียนรู้ระบบเงินฝาก 3. รู้จักสร้างรายได้หรืออาชีพ - สอดคล้องกับความต้องการ - สอดคล้องกับภูมิสังคม ฯลฯ บันทึกบัญชีรายรับและ รายจ่าย วิเคราะห์บัญชีรายรับและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่ ฟุ่มเฟือย - ออมวันละหนึ่งบาท - จัดตั้งธนาคารโรงเรียน - ปลูกพืชผักผสมผสาน - ปลูกพืชสมุนไพรไทย

58 4. รู้จักช่วยเหลือสังคมหรือ ชุมชน
แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา ปัจจัย ประเด็นหลัก ตัวอย่างกิจกรรม ด้านสังคม 4. รู้จักช่วยเหลือสังคมหรือ ชุมชน - ปลูกจิตสำนึกสาธารณะ - ปลูกฝังความสามัคคี - ปลูกฝังความเสียสละ - เผยแพร่องค์ความรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข จัดกิจกรรมช่วย เหลือผู้ด้อยโอกาส จัดค่ายพัฒนา เยาวชน - จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ภายในโรงเรียน

59 เรียนรู้ ฟื้นฟูแม่น้ำ
แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา ปัจจัย ประเด็นหลัก ตัวอย่างกิจกรรม ด้าน สิ่งแวดล้อม 5. สร้างสมดุลของ ทรัพยากรธรรมชาติ - ปลูกจิตสำนึกรักษ์ สิ่งแวดล้อม - ฟื้นฟูแหล่งเสื่อม โทรมในท้องถิ่น - ฟื้นฟูดูแลสถานที่ ท่องเที่ยวในท้องถิ่น ฯลฯ เรียนรู้ ฟื้นฟูแม่น้ำ ในท้องถิ่น จัดค่ายอนุรักษ์ อุทยานการศึกษา จัดค่ายอบรมยุว มัคคุเทศก์ - โครงการชีววิถี พัฒนาสวนพฤกษ ศาสตร์

60 แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา
ปัจจัย ประเด็นหลัก ตัวอย่างกิจกรรม ด้านวัฒนธรรม 6. สืบสานวัฒนธรรมไทย - สร้างจิตสำนึกรักษ์ไทยรัก บ้านเกิด - ฟื้นฟูและอนุรักษ์อาหาร ประจำท้องถิ่น - ฟื้นฟูและอนุรักษ์ดนตรีไทย และเพลงไทย - ฟื้นฟูและอนุรักษ์โบราณสถานและ โบราณวัตถุ ฯลฯ - ปลูกฝังมารยาทไทย - อนุรักษ์ประเพณีพื้นบ้าน - อนุรักษ์อาหารประจำท้องถิ่น - อนุรักษ์การใช้ภาษาประจำท้องถิ่น - อนุรักษ์ถิ่นกำเนิด

61 แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา ด้านศาสนา * ส่งเสริมศาสนา
ปัจจัย ประเด็นหลัก ตัวอย่างกิจกรรม ด้านศาสนา * ส่งเสริมศาสนา - ปลูกฝังจิตสำนึก ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - ฝึกสมาธิก่อนเข้า เรียน - ถือศีลหรืออ่านบท สวดมนต์เป็นประจำ - จัดมุมธรรมะใน โรงเรียน

62 ผลสัมฤทธิ์ ด้านผลผลิต
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาและสนับสนุนกิจกรรม โดยยึด หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2550 สื่อคู่มือต้นแบบในรูปแบบเอกสาร สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเลคโทรนิคส์ เครือข่ายสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง และชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

63 ผลลัพธ์ แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการเผยแพร่และขยายผลไปยังภาคการศึกษาทุกแห่งทั่วประเทศ สถานศึกษาทุกแห่งเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดการจัดการเรียนรู้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีการนำเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ไปบูรณาการสู่กลุ่มสาระการเรียนรู้และหลักสูตรอย่างเหมาะสม และขยายผลสู่เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

64 Web Sites เศรษฐกิจพอเพียง
 ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง นิด้า

65 แนวคิดใหม่: เปิดศักราชใหม่การจัดการกิจการนักศึกษา
1. ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก มีส่วนร่วมตัดสินใจ เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ใหม่: เด็กคือ สมาชิก ปัจจุบัน เดิม: เด็กคือคน ในอนาคต 46

66 1.ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก(ต่อ)
เยาวชนมีแนวคิด บริสุทธิ์สดใส เยาวชนที่ได้ฝึกความรับผิดชอบจะมีผลงานที่ดี หากนักศึกษาเข้าใจโลกแห่งความเป็นจริง เขาจะเตรียมพร้อมรับมือ หากได้ฝึกช่วยเหลือผู้อื่น จะทำให้ตนเองมีคุณค่า บูชาวีรบุรุษเป็นต้นแบบ พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ 47

67 2. อุปสรรคของการดึงเยาวชนมาร่วมกิจกรรม
ผู้ปกครองไม่เข้าใจ คิดว่ากิจกรรมเสียเวลา ควรมุ่งวิชาการ เด็กเองมีปัญหาชีวิต ครอบครัวแตกแยก วิตก กังวล ขาดโอกาส เพราะยากจน ขาดการสื่อสารโลกภายนอก หรือป่วย กิจกรรมไม่น่าสนใจ กระบวนการยุ่งยาก ขาดข้อมูล ข้อจำกัดด้านเวลา งบประมาณ วิทยากร 48

68 3. การสร้างการมีส่วนร่วมของเด็ก
1. บังคับ ขาดการมีส่วนร่วม 2. กำหนดเป็นกฎระเบียบ 3. สั่งด้วยวาจา 4. มอบหมายโดยบอกกล่าว ระดับการมีส่วนร่วม 5. ให้คำแนะนำโดยบอกกล่าว 6. ผู้ใหญ่ริเริ่มโดยฟังข้อเสนอเด็ก 7. เด็กคิดโดยมีทิศทางให้ 8 เด็กคิด ผู้ใหญ่ให้คำแนะนำ 49

69 4. ต้องพัฒนาจากการมีส่วนร่วมไปเป็นการสร้างภาวะผู้นำ
นักศึกษามหาวิทยาลัย เด็กมัธยม เด็กเล็ก เด็กลง มือทำ เด็กมี บทบาท ทั้งหมด กลุ่มเพื่อน และ ผู้ใหญ่ ร่วมคิด เด็กจัด กิจกรรม เยาวชน ตัดสินใจ เยาวชนร่วม วางแผน ผู้ใหญ่จัด เด็กเข้าร่วม ผู้ใหญ่จัด เด็กร่วม วางแผน เด็กทำ ตามสั่ง 50

70 5.ต้องทำงานโดยใช้ ยุทธศาสตร์7ประการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 กระตุ้นนักศึกษามีส่วนร่วมโดยปรับกิจกรรมให้มีชีวิต สนุก ตื่นเต้น - นักศึกษาร่วมตัดสินใจทุกระดับการทำงาน - ผู้ใหญ่ปรับบทบาทเป็นผู้สนับสนุน ให้กำลังใจ - พัฒนาศักยภาพให้นักศึกษาทำงานเป็น - นักศึกษาเข้าถึงข้อมูล - ให้นักศึกษารับผิดชอบ 51

71 ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ผู้ใหญ่ต้องส่งเสริมให้นักศึกษารู้จักปรับตัวจากเด็กเป็นเยาวชนที่ดีมีคุณภาพ - จัดกิจกรรมที่น่าสนใจ ท้าทาย มีทางเลือก - ผู้ใหญ่มีทักษะเป็นวิทยากร 52

72 ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา
ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 3 ต้องส่งเสริมความเสมอภาคและ การส่วนร่วมรับผิดชอบไม่ว่าจะเป็น เด็กหรือผู้ใหญ่ เป็นหญิงหรือชาย - เปิดโอกาสทุกคนเข้าถึงบริการ - จัดงานให้เหมาะกับความถนัด 53

73 ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่4 ยื่นมือออกไปแสวงหาเครือข่ายและทำลายอุปสรรคที่ขวางกั้นเพื่อรวมพลังทำงานเป็นกลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ -ทำความเข้าใจกับผู้ปกครอง -หาหน่วยสนับสนุนจากภายนอก 54

74 ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา
ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา ยุทธศาสตร์ที่5 สร้างความแข็งแกร่งสร้างอาสาสมัครเป็นเครือข่ายรวมพลังการสนับสนุนเยาวชนในกิจกรรมสังคม - ฝึกอบรมวิธีทำงานของอาสาสมัคร - ให้เกียรติ ยอมรับและยกย่อง 55

75 ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา
ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 6 ปรับประสิทธิภาพการทำงานแบบสร้างเครือข่าย - จัดระบบสื่อสารให้ทั่วถึง - สร้างความสัมพันธ์ในหมู่สมาชิก 56

76 ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา
ยุทธศาสตร์7ประการ เปิดศักราชใหม่กิจการนักศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 7 กำหนดคุณลักษณะของเยาวชนยุคใหม่ เน้นให้สื่อสารกับคนอื่นๆได้ ทำงานเป็นเครือข่ายและรู้จักค้นหาทรัพยากรแหล่งเรียนรู้ที่จะทำงานให้สำเร็จ - ฝึกการเขียน การพูดที่สาธารณะ - ฝึกการใช้งานอินเตอร์เน็ตสร้างสรรค์ 57

77 2550โชคดี ปีหมูไฟ ก้าวไกลไปถึง ชีวิตพอเพียง


ดาวน์โหลด ppt การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา :ห้องเรียนเศรษฐกิจพอเพียง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google