งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี วันที่ 12 มกราคม 2561

2 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

3 ประเด็น : แผนงานโครงการ คปสอ.สามโก้
ประเด็น : แผนงานโครงการ คปสอ.สามโก้ แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 หน่วยงาน จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ (PP) บำรุง ระบุ โรงพยาบาลสามโก้ 12 6 5,410,785 4,583,791 - 250,530 576,464 1,096,730 สสอ.สามโก้ 10 1 193,680 135,830 57,850 3,640 รวม 22 7 5,604,465 308,380 1,100,370 เงิน pp ปี จำนวน 1,322,770 บ. *จัดทำโครงการ 4,583,791 บ กิจกรรมส่งเสริม 2,847,341 บาท ซื้อวัสดุ ยา บริการพื้นฐาน 1,736,450 บาท

4 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา แผนงานโครงการ -โครงการที่ได้รับอนุมัติยังไม่เป็นไปตามแผน โครงการที่อนุมัติแล้วอยู่ในระหว่างดำเนินการ จัดทำแผนงานโครงการ 4.5 ล้าน แต่งบ PP จัดสรรประมาณ 1.3 ล้าน CUP มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการไว้ และจะมีการปรับแผน 6 เดือน โครงการ PP รพ.เป็นเจ้าภาพในการจัดโครง แต่การจัดกิจกรรมทำร่วมกัน ระหว่าง รพ. สสอ. รพ.สต ผู้รับผิดชอบไม่ค่อยรายงานผลการดำเนินงานให้งานแผนงานของหน่วยงาน ผู้รับผิดชอบงานแผนงานของ สสอ. รับผิดชอบงานรายด้านทำให้การดำเนินงาน และการติดตามแผนงานโครงการล่าช้า -ผู้รับผิดชอบโครงการเร่งรัดจัดทำโครงการและรายงานผลโครงการให้งานแผนของ รพ. -นำเรื่องเข้าเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล -ปรับแผนงานโครงการ รอบ 6 เดือน

5 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

6 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 1. การดูแลโปรแกรม บันทึกข้อมูลสุขภาพ(HOSxP, HOMC) - การบำรุงรักษา สำรอข้อมูล - การบันทึกข้อมูล และส่งออกข้อมูล สภาพเครื่องที่ใช้งานในการบันทึกข้อมูล เครื่อง HOSxP ประมาณ 40 เครื่อง การบันทึกข้อมูลตามตัวชี้วัดบางตัว ยังไม่ได้ดำเนินการ ควรกำหนดผู้กำกับติดตามผลงานจาก HDC

7 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 2. การดำเนินงานในบทบาทคณะกรรมการคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - ทีมพัฒนาคุณภาพ ข้อมูล Health Data Center (HDC) ทีมพัฒนาคุณภาพข้อมูล 43 แฟ้ม ยังไม่มีแผนการประชุมคณะกรรมการ - ควรรวบรวมประเด็นปัญหา เข้าประชุมคณะกรรมการคุณภาพข้อมูล 3. คุณภาพข้อมูล ตามตัวชี้วัดการ ตรวจราชการ - ข้อมูลสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุ ( ill-defined error) ข้อมูล เดือน ตค. พย.60 ตายทั้งหมด 30 คน Ill error คน ร้อยละ - ยังไม่มีการติดตามข้อมูลสาเหตุการตาย ของของการตาย นอก รพ. ประสานข้อมูลกับที่ว่าการอำเภอ ใช้ข้อมูล จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

8 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 4.รูปแบบการใช้ประโยชน์จากศูนย์ข้อมูลอำเภอ กำลังปรับปรุงเว็บไซต์

9 กลุ่มงานควบคุมโรค

10 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรับ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง Primary Prevention 1 ผลการคัดกรอง DM ร้อยละ 60.6 HT ร้อยละ 61.9 กลุ่มเสี่ยง -DM 133 ราย ร้อยละ 6.4 -HT 302 ราย ร้อยละ 7 2. แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง มีแผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงทุก รพ.สต. 1.ผลการคัดกรอง DM สูง ต่ำ ผิดปกติ -ผลการคัดกรองต่ำผิดปกติ 0.00, 0.05,0.62 ที่รพ.สต. ราษฎรพัฒนา รพ.สต.อบทม รพ.สต. มงคลธรรมนิมิต รพ.สามโก้ / รพ.สต. มงคลธรรมนิมิต ร้อยละ 3 , ร้อยละ 29 -ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงผิดปกติ รพ.สามโก้ ร้อยละ 40 รพ.สต. มงคลธรรมนิมิต ร้อยละ 0.23 สาเหตุ - การคีย์ข้อมูลลงข้อมูลกลุ่มเสี่ยงก่อนกลุ่มปกติยังไม่ได้คีย์ -เร่งรัดการคัดกรอง และบันทึกข้อมูลให้เสร็จภายในเดือนมกราคม 2561

11 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา Secondary Prevention 1 การควบคุมระดับน้ำตาล ร้อยละ 4.6 การควบคุมระดับความดัน ร้อยละ 14.5 2. ผลการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน - CVD Risk ร้อยละ 29.1 - จอประสาทตา ร้อยละ 1 - ไต ร้อยละ 9.7 - เท้า ร้อยละ 2.4 3. มีคลินิก NCD ทุก รพ.สต. ผู้ป่วย ร้อยละ 4.มีการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้ -การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่ำกว่าเป้าหมาย -ไม่มีเครื่องตรวจ จอประสาทตา 1.วางแผนการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ดังนี้ -ตา เท้า เดือน ก.พ. 61 -CVD Risk และ ไต เดือน ม.ค. 61 2.มีการจัดทำแนวทางการปฏิบัติของ คปสอ. สามโก้ในการควบคุมน้ำตาลและความดัน -วางแผน ( P) -จัดกิจกรรม ( D) -ตรวจสอบข้อมูล ( C ) -ปรับปรุงแก้ไข ( A )

12 171 88 การรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด (TB) เขตสุขภาพที่ 4 ปี 2564
ต่อแสน ปชก. เป้าหมายระดับประเทศ อุบัติการณ์วัณโรคลดลง ร้อยละ12.5 ต่อปี อัตราความสำเร็จการรักษา วัณโรคทุกประเภท ร้อยละ 85 88 ต่อแสน ปชก.

13 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
โครงการควบคุมโรค 1.เป้าหมายผลการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง -ไม่มีข้อมูลเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง TB - จัดทำข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายให้แล้วเสร็จภายในเดือน มกราคม 2561 เป้า ผลงาน ร้อยละ 1 ผู้สัมผัส TB 2 HIV 3 DM รายใหม่ DM คุมน้ำตาลไม่ได้ 4 แรงงานต่างดาว 5 สูงอาย 65 ปีขึ้นไป COPD 6 บุคลการการแพทย์

14 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรค 2. อัตราอุบัติการณ์วัณโรค ปี 58 = 41.4 : แสน ปี 59 = : แสน ปี 60 = : แสน 3. อัตรารักษาสำเร็จ ปี 58 = 100 % ปี 59 = 100% ปี 60 = 100 % 4. ปี (ต.ค. – ธ.ค.60 ) ผู้ป่วยขึ้นทะเบียน 3 ราย - M ราย -Relapse 1 ราย

15 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

16 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) HA อยู่ขั้น 2 ระยะเวลารับรอง 28 มิย. 60 – 27 มิ.ย. 61 มีการจัดทำ Time Line ในการต่ออายุ ขั้น 2 เดือน มิ.ย. 61 -ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินงานคุณภาพ -งบประมาณในการดำเนินงาน ผู้บริหารจัดทีมและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดให้ผู้ปฏิบัติให้ชัดเจน ประมาณการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโดยแยกเป็นรายการเช่น ระบบยา IC บริหารความเสี่ยง สิ่งแวดล้อม

17 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) Home Ward มีข้อมูลผู้ป่วยในภาพ CUP และกำหนดผู้รับผิดขอบ มีระบบส่งต่อที่เชื่อมโดยถึงชุมชน มีการจัดระบบจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยติดเตียงในภายCUP การรายงานผลการเยี่ยมบ้ายยังไม่เป็นไปตามแนวทาง ทบทวนแนวทางการรายงานผลการเยี่ยมบ้านกับผู้เกี่ยวข้อง เช่นผู้ป่วย โครงการ IMC ให้ประสานกับกายภาพ

18 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) พชอ ทีมเลขาเข้ารับการอบรมเมื่อวันที่ 8-9 มกราคม 2561 -ทบทวนคำสั่งคณะกรรมการ พชอ. ตามร่างระเบียบสำนักนายก -อยู่ระหว่างดำเนินการ กำหนดวันประชุมคณะกรรการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดประเด็นอย่างน้อย 2 เรื่อง

19 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) รพ.สต ติดดาว กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2 แห่ง รพ.สต. โพธิ์ม่วงพันธ์ และรพ.สต.อบทม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการระดับอำเภอ ถ่ายทอด เกณฑ์การพัฒนาสู่ระดับตำบล ประเมินตนเองและจัดทำแผนพัฒนา การเขียนแบบด้านปรับโครงสร้างล่าช้า ประสานกับช่างโยธาในการจัดลำดับการเขียนแผนการปรับโครงสร้าง

20 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) PCC มีการจัด mapping ใหม่เป็น 2 ทีม ทีมแรก เปิดดำเนินการปี 2563 -

21 กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

22 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) โครงการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ช่องปากใน รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 จัดระบบบริการทันตกรรม ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100 พัฒนาศักยภาพ อสม. ด้านทันตสาธารณสุข

23 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

24 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.มีแผนการดำเนินงานตรวจสอบคุณภาพและฉลากของผลิตภัณฑ์สุขภาพ และมีแผนการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ GMP/Primary GMP 2.มีแผนและดำเนินการจัดซื้อชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ อยู่ระหว่างรอการจัดส่งชุดทดสอบ ไม่มี ไม่มี่

25 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.)
ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.) ขั้นที่ 2 ไม่มี ผ่าน RDU 2 (ระดับอำเภอ)ขั้นที่ 2 เกณฑ์≥ 60% ผลงาน 80% ผลจากHDC สรุปว่า รพ.สต.อบทมไม่ผ่านตชว.อุจจาระร่วง เนื่องจากจำนวนคนไข้ =0 1. ให้รพ.สต.ที่มีจำนวน case เป็น 0 ทบทวนข้อมูล

26 กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

27 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ
แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการ GREEN CLEAN Hospital โรงพยาบาลสามโก้ ๑.ขยะ ติดเชื้อ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย   ในโรงพยาบาล มีการบริหาร จัดการโดยให้บริษัทเอกชนเข้ามารับทุกวันศุกร์ นำไปกำจัดขยะ อำเภอบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ในชุมชน (Home Word) และ รพ.สต. นำมารวบรวมไว้ที่ รพ. ขายนำเงินเข้าโรงพยาบาล ส่ง เทศบาล บางครั้งมีขยะ ตกค้างที่ รพ. เนื่องจากบริษัทมาเก็บไม่ตรงเวลา ( หจก.พีระภัทร) โทรตาม ปรับตามสัญญา ประสานกับ รพ.วิเศษชัยชาญในการฝากขยะติดเชื้อ (เป็นบริษัทเดียวกัน)

28 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ
แนวทางการแก้ไขปัญหา ๒.ส้วม ทุกแผนก สำรวจข้อมูลโดยให้ประเมินตนเอง OPD ทำความสะอาด ทุกชั่วโมง IPD ห้องพิเศษ และห้องรวม - สุขภัณฑ์ชำรุด - ได้มาตรฐาน -แนะนำให้ปรับปรุงและซ่อมแซม ๓.สิ่งแวดล้อม เก็บตัวอย่างน้ำเพื่อส่ง น้ำ ได้มาตรฐาน ตรวจปีละ ๒ ครั้ง น้ำเสีย ( โดยส่งตัวอย่างตรวจทุกไตรมาส) พบ TDS เกินมาตรฐาน - แนะนำให้มีการปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์

29 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ
แนวทางการแก้ไขปัญหา ๔.พลังงาน ทางโรงพยาบาล มีมาตรการที่ชัดเจนจัดในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดย เปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่มีอายุการใช้งานนาน เช่น หลอดไฟฟ้า คาดว่าจะสามารถลดการใช้พลังงานลงได้ ใช้ระบบ Timmer ในแต่ละ แผนก เพื่อควบคุมเวลาในการประหยัดพลังงาน - ๕.อาหาร มีการตรวจอาหาร - ปีละ ๑ ผ่านเกณฑ์

30 กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล

31 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
การดำเนินการงานถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคลของหน่วยงาน กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัด -มีการประชุมชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัดหน่วยงาน ลงสู่ หัวหน้า -คณะกรรมการกลั่นกรองที่พิจารณาตัวชี้วัด -หัวหน้า มอบหมายตัวชี้วัด ลงสู่ผู้ปฏิบัติ สสอ. การมอบหมายตัวชี้วัดล่าช้า -เร่งรัดการดำเนินการมอบหมายตัวชี้วัด ทุกคนและรวมกลุ่มกันกำหนดตัวชี้วัด

32 งานการเงินและบัญชี

33 คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
(แผนยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาลGovernance Excellence) โครงการที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน สรุปนิเทศโรงพยาบาลสามโก้ วันที่ 12 มกราคม 2561

34 ประเด็นการตรวจ 1.การบริหารแผนทางการเงินและการกำกับติดตาม 1.1การจัดทำแผนทางการเงินการทำแผนทางการเงิน ครบถ้วน 7 แผน ผ่านการอนุมัติจากนพ.สสจ. และผู้ตรวจราชการตามกำหนดเวลา 1.1.1การทำแผน planfinรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) จำนวน 60,950,000 บาท ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อม) จำนวน 69,950,000 บาท ทำแผนแบบสมดุล EBITDA = 0 บาท วงเงินที่ลงทุนได้ (ร้อยละ 20%ของ EBITDA = 0 บาท ทำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง = 0 บาท งบลงทุนด้วยเงินบำรุงเปรียบเทียบEBITDA>20% = 0 บาท NI = 4,455,000 บาท รายได้งบลงทุน = 785,000 บาท (งบค่าเสื่อมรพ. = 785,000 บาท งบค่าเสื่อม รพสต. = 337,000 บาท) เงินงบประมาณ อาคารโรงครัว = 8,745,000 บาท 1.1.2.แผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จำนวน จำนวน 7,750,000 บาท 1.1.3.แผนจัดซื้อวัสดุอื่น จำนวน 1,380,000 บาท 1.1.4.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ จำนวน 23,350,000 บาท 1.1.5.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ จำนวน 29,150,000 บาท 1.1.6.แผนงบลงทุน จำนวน 785,000 บาท 7.แผนสนับสนุนรพสต.จำนวน 2,275,000 บาท

35 งบค่าเสื่อมทำแผน70 % = (งบค่าเสื่อมรพ.=785,000 บาท
ปัญหาที่พบ งบค่าเสื่อมทำแผน70 % = (งบค่าเสื่อมรพ.=785,000 บาท งบค่าเสื่อมรพสต. = 337,000 บาท) แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. งบค่าเสื่อมทำแผนในแผนงบลงทุนให้ครบตามที่ได้รับจัดสรร 70% วงเงิน 791, บาท รพสต. 329,700 บาท) โดยรพ.ต้องทำแผนตามที่ได้รับจัดสรรงบค่าเสื่อมเพิ่ม - 20 % รพ.สต. 401,000 บาท - 10 % รพ. วงเงิน 620,000 บาท โดยให้ปรับแผนในรอบ 6 เดือนหลังประมาณเดือนเมษายน 2561 2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนทางการเงินทั้ง 7 แผนในวาระการประชุม กรรมการบริหารรพ.อย่างน้อยรายไตรมาส

36 มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561
1. การเพิ่มรายได้โรงพยาบาลมีเป้าหมายและผู้รับผิดชอบชัดเจน 2. การจัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้ มีการกำหนดแนวทางในการชำระหนี้การค้าเรียงตามลำดับอายุหนี้ (งานการเงิน ฝ่ายบริหาร) และมีแผนชำระหนี้ปี 61 จำนวน 23,350,000 บาท ค่าตอบแทน ฉ .11 ณ. เดือนธันวาคม จ่ายถึงเดือนสิงหาคม และมีแผนจ่ายของเดือนกันยายน 2560 ในเดือนมกราคม 2561 3. การบริหารแผนลูกหนี้ มีผู้รับผิดชอบตามสิทธิ ( สิทธิ uc, ประกันสังคม กลุ่มการพยาบาล, สิทธิกรมบัญชีกลาง ,อปท งานการเงิน ,สิทธิ พรบ กลุ่มงานประกัน) การจัดทำแผนงบลงทุน ในส่วนของรพ.พัสดุดำเนินการจัดหา และส่วนรพ.สต.ให้รพ.สต.เป็นผู้จัดหา มีแผนในการโอนเงินให้ รพ.สต.ภายในเดือนมกราคม 2561 การจัดทำแผนสนับสนุนรพ.สต.โอน fixcost มีแผนโอนให้รพ.สต.ล่วงหน้า 6 เดือน ภายในเดือนมกราคม 2561

37 ประเด็นการตรวจ ปัญหาที่พบ ด้านรายได้ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5
-รายได้ uc เป็นการจัดสรรล่วงหน้า 6 เดือน ทำให้มากกว่า 2,563, (ร้อยละ %) รับจัดสรร opหลังหักค่าแรง = 4,383, บาทหารหกเดือนเฉลี่ยรับเดือนละ = 730,000 บาท รับจัดสรร pp หลังหักค่าแรง = 927, บาท หารหกเดือนเฉลี่ยรับเดือนละ = 154,515 บาท (แผน op =1,291,000+ แผน pp = 325,000 บาท รวมแผน 2 เดือน = 1,616,000 บาท) รวมรับจัดสรรเฉลี่ย 2 เดือน = 1,769,030 บาท ได้มากกว่าแผนเดือนละ 153,030 บาท รวม ล่วงหน้า 4 เดือน = 612,120 บาท) IP ทำแผนรับหลังหักค่าแรงเดือนละ =340,000 บาท ผลงาน IP หลังหัก ค่าแรงตค-พย 60 =215,000 บาท น้อยกว่าแผน 125,000บาท) 2.น้อยกว่าแผน เกินร้อยละ 5 มีดังนี้ -รายได้ EMS จำนวน -21, (-100%))เนื่องจากยังไม่ได้รับจัดสรร -รายได้ เบิกต้นสังกัด จำนวน -8, (-40.77%) -รายได้ อปท จำนวน 7, บาท (-6.36%) รายได้ค่ารักษาและบริการอี่น ๆ จำนวน -64, บาท (-17.24%) ชำระเงินเอง -รายได้อื่น จำนวน -215, บาท (-41.02%) พตสยังไม่ได้รับจัดสรรตค-พย= บาท - รายได้งบลงทุน จำนวน 803, บาท (-50.59%) งบค่าเสื่อม อาคารโรงครัว

38 ประเด็นการตรวจ แนวทางการแก้ไข
สอบทานระบบรายงานข้อมูลทางบัญชีตามนโยบายกระทรวง โดยในเบื้องต้นให้มีการจัดทำ Flow พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางในการรายงานข้อมูลให้บัญชีและการส่งข้อมูลเรียกเก็บให้ชัดเจน เช่น นโยบายการรับรู้รายได้ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในรายงานเมื่อจำหน่าย ,ผู้ป่วยนอกรายงานเมื่อสิ้นสุด การรักษา ฯลฯ 2. ผู้รับผิดชอบแต่ละจุดที่หารายได้ควรวิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน 3. กำหนดเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารรพ.ทุกเดือน ทบทวนแผนประมาณการรายได้ในรอบ 6 เดือน หลัง เดือนเมษายน 2561โดยมีทีมที่เกี่ยวข้องกับการ หารายได้ร่วมวิเคราะห์และวางแผนจากผลงาน 6 เดือนแรก

39 ด้านค่าใช้จ่าย น้อยกว่าแผน -637,279.64 บาท (ร้อยละ -5.79 %)
ปัญหาที่พบ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5 - ค่าใช้จ่ายอื่น จำนวน 366,375 บาท (52.34 %) ค่ารักษาตามจ่ายทำแผน 500,000 บาท รพอ่างทอง เรียกเก็บหนี้ตั้งแต่เดือนพค-กค60 = 930,000 บาท และค่า oprefer เดือน ตค = 70,000 บาท 2.น้อยกว่าแผนเกินร้อยละ 5 - ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ -92, บาท (-46.91%) - ต้นทุนวัสดุทันตกรรม จำนวน -33, บาท ( %) - ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน -87, บาท ( %) - ค่าตอบแทน จำนวน -196, บาท (-12.81%) พตส.ยังไม่ได้บันทึก - ค่าใช้สอย จำนวน -282, บาท (-42.36%) บำรุงรักษาปรับอากาศ,ปลวกเรียกเก็บปีละ 2 ครั้ง - ค่าสาธารณูปโภค จำนวน -21, บาท ( -6.40%) - วัสดุใช้ไป จำนวน 99, บาท (-44.52%) ทำแผนเรื่องวัสดุบริโภคที่ทำในโรงครัว - ค่าเสื่อมราคา จำนวน 59, บาท (7.02%) - หนี้สงสัยจะสูญ จำนวน -6,391 บาท ( %) แนวทางแก้ไข สอบทานระบบรายงานข้อมูลทางบัญชีตามนโยบายกระทรวงในเบื้องต้นให้จัดทำ Flow พร้อมผู้รับผิดชอบและแนวทางในการจัดส่งข้อมูล เช่น นโยบายการรายงานข้อมูลเจ้าหนี้รายงานเมื่อตรวจรับของ,หรือตรวจรับงาน,การรายงานวัสดุคงคลัง เมื่อสิ้นเดือนตามมูลค่า FiFO เป็นต้น ควบคุม กำกับ ติดตามให้เป็นไปตามแผนเพื่อให้การจัดทำแผนมีประสิทธิภาพ กำหนดเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารรพ.ทุกเดือน ทบทวนปรับแผน 6 เดือนหลังภายในเมษายน 2561 โดยวิเคราะห์และวางแผนจากผลงาน 6 เดือนแรก

40 ประเด็นการตรวจ 2.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 4/60 ผ่าน ตัว ไม่ผ่าน ตัว ดังนี้ ปัญหา ประสิทธิภาพการทำกำไร เกณฑ์ >=ค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม (รพช.F3ประชากร ) ค่ากลางกลุ่มรพ. = ผลการดำเนินงานของ รพ. = -2.14 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เกณฑ์ >=ค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม (รพช.F3ประชากร ) ค่ากลางกลุ่มรพ.=2.70 ผลการดำเนินงานของรพ.=0.91 การจ่ายชำระเจ้าหนี้การค้า เกณฑ์ cash มากกว่า 0.80 จ่ายภายใน 90 วัน cash น้อยกว่า 0.80 จ่ายภายใน 180 วัน ผลการดำเนินงาน รพ cash = จ่ายชำระหนี้ วัน

41 ประเด็นการตรวจ แนวทางแก้ไข
ประสิทธิภาพการทำกำไร เกณฑ์ >=ค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม (รพช.F3 ประชากร15,000-25,000) - ทบทวน planfin - กำกับ planfin อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เกณฑ์มากกว่าค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม -การใช้สินทรัพย์เดิมให้สร้างมูลค่าโดยการเพิ่ม productivity การจ่ายชำระเจ้าหนี้ - มีแผนบริหารเจ้าหนี้ - จัดซื้อตามแผน - บริหารคงคลัง

42 ประเด็นการตรวจ 3.คะแนนการประเมิน FAI (เป้าหมาย : คะแนนผลการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมการควบคุมภายใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง การบริหารต้นทุน ผลการดำเนินงานไตรมาส 4 /60 คะแนนการประเมิน FAI ได้ร้อยละ 92 ปัญหาที่พบ -กิจกรรมควบคุมภายในได้ 3 คะแนน โดยการดำเนินงานเรื่องการควบคุมภายในส่งรายงานการประเมินแบบ 5 มิติไม่ทันภายในกำหนดเวลา แนวทางแก้ไข ทบทวนคณะทำงานแต่ละกิจกรรมให้เป็นปัจจุบัน เพื่อดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนด คณะทำงานมีการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยรายไตรมาสตลอดจนนำผลการประเมินไปใช้เพื่อวางแผนและแก้ไขในแต่ละประเด็น และมีการติดตามการแก้ไขตามแนวทางที่กำหนด นำเสนอผลการประเมินรายไตรมาสให้คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลรายไตรมาส

43 กลุ่มงานประกันสุขภาพ

44 ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม
ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา -มีการกำหนดเป้าหมายเพิ่มรายได้จกาปี ร้อยละ 10 -ดำเนินการ 1-2 ไตรมาสสรุปผลงานรายกิจกรรม ปรับเป้าหมายใหม่ เพื่อให้ผลงานภาพรวมได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 -ผลงาน 3 เดือน ได้มากกว่าเป้าหมาย 2 กิจกรรม คือ Fitness และกายภาพบำบัด ได้น้อยกว่าเป้าหมาย 3 กิจกรรม คือทันตกรรม แพทย์แผนไทย และห้องพิเศษ ภาพรวมน้อยกว่าเป้าหมาย = 47, บาท -มีการกำหนดเป้าหมายการเพิ่มรายได้ในกลุ่มประกันสังคม กิจกรรมทันตกรรม(อยู่ระหว่างการกำหนดแนวทางที่ชัดเจน) -ผลการดำเนินงานไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากมีการกำหนด เป้าหมายเพิ่มแต่มาตรการการดำเนินงานเป็นของปี ไม่ได้กำหนดมาตรการใหม่ -ผู้รับผิดขอบทุกกิจกรรมร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคและหาแนวทางแก้ไข ร่วมกันเพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาสมต่อไป

45 เป้าหมายการเพิ่มรายได้ปีงบประมาณ 2561 โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง
โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง ลำดับ กิจกรรม รายได้ เป้าหมาย ปี 61 ผลงาน ที่เพิ่มจาก ปี 60 ปี 60 เพิ่ม 10 % ต่อเดือน ต่อปี 1 Fitness 519,480.00 51,948.00 47,619.00 571,428.00 2 กายภาพบำบัด 357,180.00 35,718.00 32,741.50 392,898.00 3 ทันตกรรม 1,060,924.00 106,092.40 97,251.37 1,167,016.40 4 แพทย์แผนไทย 1,067,250.00 106,725.00 97,831.25 1,173,975.00 5 ห้องพิเศษ 1,082,400.00 108,240.00 99,220.00 1,190,640.00 รวม 4,087,234.00 408,723.40 374,663.12 4,495,957.40

46 โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง
เดือนตุลาคม ธันวาคม 2560 (3 เดือน) ลำ ดับ กิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน รายได้ที่เพิ่ม 3 เดือน รายได้ที่เพิ่ม เทียบเป้าหมายการเพิ่ม 3 เดือน เป้าหมาย ผลงานรวม ผลงานที่เพิ่ม มากกว่า/น้อยกว่า  จำนวน(บาท) 1 Fitness 142,857 234,800 - มากกว่า  91,943 2 กายภาพบำบัด 98,224.50 106,800 มากกว่า 8,575.50 3 ทันตกรรม 291,754.10 184,166 น้อยกว่า - 107,588.10 4 แพทย์แผนไทย 293,493.75 265,130 - 28,363.65 5 ห้องพิเศษ 297,660 285,800 - 11,860 รวม 1,123,989.35 1,076,696 - 47,293.35

47 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google