ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยแสงดาว ติณสูลานนท์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘ ผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย โดย นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ นักวิชาการยุติธรรมชำนาญการพิเศษ สำนักงาน ป.ป.ท
2
ประวัติผู้ชี้แจง นางฉวีวรรณ นิลวงศ์
การศึกษา ปริญญาโท สาขานโยบายและการวางแผน จากมหาวิทยาลัย เกริก ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง วุฒิบัตร จากมหาวิทยาลัยมิสซูรี่ ณ เมืองโคลัมเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับทุนจาก กรมการพัฒนาชุมชน ตามโครงการ Leadership Exchange Program ประวัติการทำงาน ๑. ส่วนท้องถิ่น เคยดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ๗ แห่ง ได้แก่ ( เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลเมืองระนอง เทศบาลเมืองสระบุรี และเทศบาลนครรังสิต ) ๒. ส่วนภูมิภาค เคยดำรงตำแหน่ง เจ้าพนักงานปกครอง ( ปลัดอำเภอ ) อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย ๓. ส่วนกลาง เคยดำรงตำแหน่ง นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง และ นักวิชาการยุติธรรม สำนักคุ้มครองพยาน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ปัจจุบัน ตำแหน่ง นักวิชาการยุติธรรม ชำนาญการพิเศษ สำนักคุ้มครองและป้องกัน สำนักงาน ป.ป.ท.
3
กรอบแนวคิดการประเมิน ITA ประกอบด้วย ๕ ดัชนี
๑. ความโปร่งใส (Transparency) ๒. ความพร้อมรับผิด (Accountability) ๓. คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) ๔. วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) ๕. คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity)
4
แบบการประเมิน ITA มี ๓ แบบ
๑. แบบสำรวจ Internal : ITA ๒. แบบสำรวจ External : ITA ๓. แบบสำรวจ Evidence-based : ITA
5
เกณฑ์การประเมิน ITA แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้
ระดับที่ ๕ ค่าคะแนนระหว่าง 80 – 100 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานสูงมาก ระดับที่ ๔ ค่าคะแนนระหว่าง 60 – คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานสูง ระดับที่ ๓ ค่าคะแนนระหว่าง 40 – คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานปานกลาง ระดับที่ ๒ ค่าคะแนนระหว่าง 20 – คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานต่ำ ระดับที่ ๑ ค่าคะแนนระหว่าง 0 – คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานต่ำมาก
6
ผลการประเมิน ITA ส่งผลให้หน่วยงานที่เข้ารับการประเมินและส่ง ประกาสผลมอบรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำแนกเป็น ๓ กลุ่ม ป.ป.ช. บริหารราชการส่วนกลาง ๑๔๗ กรม บริหารราชการ ส่วนภูมิภาค ๗๖ จังหวัด ผลคะแนนจาก ๓ หน่วย คือ 1. สำนักงานจังหวัด + 2. สาธารณสุขจังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด บริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น ๒๘๒ แห่ง จำแนกเป็น ๓ กลุ่ม ๑. อบจ. ๒. เทศบาลนคร รวม กทม. เมืองพัทยา ๓. เทศบาลเมือง มท. กพร. เป็นตัวชี้วัดตามคำรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
7
การแจ้งผลคะแนนประเมิน ITA สำหรับ กรม และจังหวัด
รอบแรก กำหนดแจ้งผลการประเมิน ภายใน ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ หากไม่เห็นด้วยกับผลคะแนน หน่วยงานต้องอุทธรณ์ภายใน ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ รอบสุดท้าย แจ้งผลการประเมิน ภายใน มกราคม ๒๕๕๙ กรม/จังหวัด ตอบรับทราบผลการประเมิน ส่งกลับสำนักงาน ป.ป.ท ภายใน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
8
การแจ้งผลคะแนนประเมิน ITA พร้อมข้อเสนอแนะสำหรับ อปท.
รอบแรก กำหนดแจ้งผลการประเมิน ภายใน ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ หากไม่เห็นด้วยกับผลคะแนน หน่วยงานต้องอุทธรณ์ภายใน ๑๕ มกราคม ๒๕๕๙ รอบสุดท้าย แจ้งผลการประเมิน ภายใน เมษายน ๒๕๕๙ อปท. ตอบรับทราบผลการประเมินส่งกลับมาที่สำนักงาน ป.ป.ท ภายใน พฤษภาคม ๒๕๕๙
9
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
10
แบบสำรวจ Evidence – based คะแนนเต็ม ๑๒๐ คะแนน
( ๑๑๐ คะแนน) EB ๑๒ (๑๐ คะแนน) เป็นข้อมูลที่ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ถูก สำนักงาน ป.ป.ช. หรือสำนักงาน ป.ป.ท. ชี้มูลความผิด
11
คำถามในแบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
คำถามในแบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สามารถจำแนกออกเป็น ๘ ประเด็น (มี ๑๑ EB ๔๒ ข้อย่อย) ดังนี้ ๑. การจัดชื้อจัดจ้าง EB ๑ – EB ๓ ๒. มาตรฐานการปฏิบัติงาน EB ๔ ๓. ความเป็นธรรม/ไม่เลือกปฏิบัติ EB ๕ ๔. การมีส่วนร่วมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย EB ๖ EB ๔ - EB ๗ คำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก ๕. การเข้าถึงข้อมูล EB ๗ ๖. ระบบการร้องเรียนขององค์กร EB ๘ ๗. ผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ ๘. การดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต EB ๑๐- EB ๑๑ ข้อคำถามที่ไม่ได้ระบุภารกิจหลัก ให้ใช้การดำเนินงานภาพรวมของหน่วยงาน
12
ประเด็นที่ ๑ เรื่อง การจัดชื้อจัดจ้าง ( EB ๑ - ๓ จำนวน ๑๑ ข้อ )
(๑) รายงานผลการจัดชื้อจัด จ้าง ( ๒ คะแนน) (๒) รายงานวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้าง (๓ คะแนน) (๓) วิเคราะผลการจัดชื้อจัดจ้างลักษณะดังนี้ (๓.๑) ร้อยละของโครงการจำแนกตามวิธีการจัดชื้อจัดจ้าง (๑ คะแนน) (๓.๒) งบประมาณ จำแนกตามวิธีการจัดชื้อจัดจ้าง ) (๑ คะแนน) พ.ศ. ๒๕๕๗ การจัดชื้อจัดจ้าง งบประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๘ นำผลการวิเคราะห์การจัดชื้อจัดจ้างปีงบประมาณที่ผ่านๆ มา มาปรับปรุงแผนปฎิบัติการจัดชื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ EB ๓ (๔) ( ๓ คะแนน) การเผยแพร่ข้อมูลการ จัดชื้อจัดจ้างอย่างเป็นระบบ ชื่อโครงการ/งบประมาณ/ ผู้ชื้อซอง/ผู้ยื่นซอง/ผู้ได้รับคัดเลือก (โครงการที่ดำเนินการจัดชื้อจัดจ้างแล้ว ณ วันที่หน่วยงานส่งข้อมูลตามแบบ Evidence Based ให้ที่ปรึกษา) EB ๑ (๒) (๕ คะแนน) มีการประกาศ เผยแพร่ข้อมูลผลการจัดชื้อจัดจ้างแต่ละโครงการ (ผ่าน Web หรือสื่ออื่น ๆ ) (๑)การจัดชื้อจัดจ้างตามระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด (๒) หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือก (๓) การคำนวณราคากลาง (๔) รายชื่อผู้เสนองาน/ผู้มีสิทธิคัดเลือก (๕) รายงานผลการจัดชื้อจัดจ้างผระบุวิธีจัดชื้อจัดจ้าง+เหตุผลที่ใช้ตัดสินในการจัดขื้อจัดจ้าง) ( กรณีจัดชื้อจัดจ้างมากกว่า ๕ โครงการให้แสดงโครงการที่มีงบประมาณสูงสุด กรณีมีน้อยกว่า ๕ โครงการให้จัดส่งทั้งหมด ) EB (๒) (๑๐ คะแนนข้อละ ๒ คะแนน) ปะกาศเผยแพร่แผนปฏิบัติการจัดชื้อจัดจ้าง ( ตามที่ คตง กำหนด ) ( ภายใน ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ) EB๑ (๑) (๕ คะแนน)
13
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ตามข้อ EB ๑ (๑) หมายถึง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คตง. กำหนด ซึ่ง คตง. กำหนดให้จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างเฉพาะงบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง) ค่าครุภัณฑ์ ตั้งแต่ 100,000 บาท ขึ้นไป (ใช้กับทุกหน่วยงาน) ดินและสิ่งก่อสร้าง - ตั้งแต่ 2,000,000 บาท ขึ้นไป (หน่วยงานระดับกรม และกรุงเทพมหานคร) - ตั้งแต่ 1,000,000 บาท ขึ้นไป (ส่วนราชการประจำจังหวัด และ อปท. (อบจ./เทศบาล/เมืองพัทยา) กรณีที่หน่วยงานไม่อยู่ในข่ายที่ต้องจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คตง. กำหนด ให้เขียนคำอธิบายพร้อมเหตุผลในช่องอื่นๆ (โปรดระบุ) ในแบบแบบสำรวจ Evidence - based
14
EB 1 (2) มีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างใน ปี พ.ศ. 2558 ดังต่อไปนี้หรือไม่
๒.๑ ชื่อโครงการ ๒.๒ งบประมาณ ๒.๓ ผู้ซื้อซอง ๒.๔ ผู้ยื่นซอง ๒.๕ ผู้ได้รับคัดเลือก ในการตอบข้อคำถามนี้ หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของบประมาณทุกประเภท เช่น งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ฯลฯ กรณีที่โครงการใดไม่สามารถมีหลักฐานครบตามข้อ ๒.๑ - ๒.๕ ให้ชี้แจงเหตุผลประกอบ เช่น กรณี งบรายจ่ายอื่น การจ้างที่ปรึกษาด้วยวิธีตกลง จะไม่สามารถตอบข้อ ๒.๓ และ ๒.๔ ได้ สำหรับการตอบข้อคำถามข้อนี้ ไม่ต้องรอจนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ให้หน่วยรับประเมินจัดทำข้อมูลเท่าที่มีการจัดซื้อ จัดจ้างแล้วเสร็จในช่วงไตรมาสที่ ๒ หรือ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ ลงเผยแพร่บนเว็บไซด์ของหน่วยงาน
15
ข้อคำถาม EB ๒ การเปิดเผยผลข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างในปีงบประมาณพ. ศ
งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ด้วย โดยกรณีที่หน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างจำนวนมากกว่า ๕ โครงการ ในปี พ.ศ ให้คัดเลือกเพียง 5 โครงการที่มีงบประมาณสูงสุด ที่สามารถแสดงหลักฐานได้ครบถ้วนตามข้อ (๑) – (๕) หากหน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถึง ๕ โครงการ ให้แสดงหลักฐานของทุกโครงการ กรณีโครงการใดใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ใช่วิธีประกวดราคาหรือสอบราคา ซึ่งทำให้ไม่สามารถตอบได้ทุกข้อคำถามให้หน่วยงานชี้แจงเหตุผลประกอบ เช่น กรณีการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง เป็นต้น สำหรับการตอบข้อคำถามข้อนี้ ไม่ต้องรอจนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ ให้หน่วยรับประเมินจัด ทำข้อมูลเท่าที่มีการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในช่วงไตรมาสที่ ๒ หรือ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรของแต่ละหน่วยงานที่มีงบประมาณการจัดชื้อจัดจ้างสูงสุด
16
EB ๒ (๓) มีการประกาศวิธีการคำนวณราคากลางของแต่ละโครงการหรือไม่
จัดจ้างและเหตุผลที่ใช้ในการตัดสินผลการจัดชื้อจัดจ้าง หรือไม่
17
ข้อ EB ๓ วิเคราะห์แผนและกระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ พ
การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้แสดงหลักฐานรายงานการวิเคราะห์โดยทำการวิเคราะห์ทุกรายจ่ายที่มีการจัดชื้อจัดจ้าง ทั้งงบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๗ ด้วย
18
ข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างในการตอบข้อ EB ๑ (๒) – EB ๓
หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของบประมาณทุกประเภท ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ด้วย ยกตัวอย่างกรณี ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) ได้รับจัดสรรงบพัฒนาจังหวัด หรืองบกลุ่มจังหวัด ในการจัดชื้อจัดจ้าง เป็นอำนาจอนุมัติของ ผวจ. หรือ ผู้ที่ผวจ.มอบอำนาจ แต่กระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง ทสจ. เป็นหน่วยดำเนินการทั้งหมด เพราะนั้น ทสจ.ต้องนำงบ ในส่วนนี้มาเป็นข้อมูลในการตอบคำถามของ EB ๑ (๒) – EB ๓ ด้วย (*** แก้ไขเดิมที่เคยชี้แจงว่า ไม่รวมเป็นข้อมูลจัดชื้อจัดจ้างของ ทสจ.)
19
ประเด็นคำถามเกี่ยวกับเกี่ยวกับ ภารกิจหลัก EB ๔-EB ๗ จำนวน ๑๔ ข้อ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน EB ๔ ภารกิจหลัก การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย EB ๖ การเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน EB ๗
20
แนวทางการตอบข้อคำถาม EB 4- EB 7
เลือกภารกิจหลักของหน่วยงานมาเพียง ๑ ภารกิจหลัก เพื่อตอบข้อคำถาม EB ๔-EB ๗ หากข้อใด ที่หน่วยยังไม่มี ก็สามารถดำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เพื่อมาประกอบหลักฐาน
21
ประเด็นที่ ๒. มาตรฐานการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก EB ๔
คู่มือ/แนวทาง/หนังสือสั่งการ เพื่อให้เกิดมาตรฐานการปฏิบัติงานตาม ภารกิจหลัก (๔ คะแนน) EB ๔ (๒) รายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือ/แนวทาง/หนังสือสั่งการตาม ภารกิจหลัก (๖ คะแนน)
22
ประเด็นที่ ๓. ความเป็นธรรมไม่เลือกปฎิบัติตามภารกิจหลัก EB ๕
ระบบ เกณฑ์ หรือเครื่องมือการปฏิบัติงานที่มีความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ภารกิจหลัก (๕ คะแนน) EB ๕(๒) มีการแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือ การให้บริการ อัตราค่าบริการ ( ถ้ามี) ระยะเวลาให้ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ อย่างชัดเจน ภารกิจหลัก (๒ คะแนน) EB ๕(๓) ระบบการป้องกันหรือตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ (ระบบ /ระเบียบ ฯลฯ ) ภารกิจหลัก (๓ คะแนน)
23
ประเด็นที่ ๔. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในภารกิจหลักของหน่วยงาน EB ๖ ( รวมถึงประชาชน/หน่วยงานที่เป็นผู้รับบริการตามภารกิจหลัก ) ภารกิจหลัก ร่วมปรับปรุง แก้ไขพัฒนาโครงการ/การปฏิบัติราชการอย่างต่อเนื่องเมื่อสิ้นสุดโครงการภารกิจหลัก EB ๖ (๕) (๒ คะแนน) ร่วมตรวจสอบติดตามประเมินผลตามโครงการ/การพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการภารกิจหลัก EB ๖ (๔) (๒ คะแนน) ร่วมดำเนินการ ตามโครงการ/การพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการภารกิจหลัก EB ๖ (๓) (๒ คะแนน) ร่วมการจัดทำ แผน/โครงการ/การพัฒนาการปฏิบัติราชการ ภารกิจหลัก EB ๖ (๒) (๒ คะแนน) ร่วมแสดงความคิดเห็น -เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการหรือปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติราชการในหน่วยงาน ภารกิจหลัก EB ๖ (๑) (๒ คะแนน)
24
ประเด็นที่ ๕. การเข้าถึงข้อมูล ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน EB ๗
(๒ คะแนน) มีข้อมูลตามภารกิจหลัก ที่กฎหมายกำหนดทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือสื่อสังคม ( Social Media) EB ๗ (๒) (๔ คะแนน) ระบบการให้ข้อมูลตามภารกิจหลัก ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ ๗ หลักหรือ Call Center โดยมีระบบตอบรับ ( เวลาทำการ) EB ๗ (๓) (๒ คะแนน) เผยแพร่ข้อมูลตามภารกิจหลัก ทางสื่อ ( ๒ คะแนน ) สื่อเอกสาร (นสพ. หรือวารสารหรือจุลสารหรือแผ่นพับ (๑ คะแนน) สื่ออื่น ๆ โทรทัศน์ หรือวิทยุหรือสื่อสังคม อื่น ๆ (๑ คะแนน ) EB ๗ (๔)
25
ประเด็นคำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก
ในการตอบคำถามที่เกี่ยวกับภารกิจหลัก ให้ เลือก ภารกิจ ของหน่วยงาน ๑ ภารกิจ เพื่อเป็นแกนหลักในการตอบคำถาม ในทุกข้อที่ถามที่ถามถึงภารกิจหลัก หากในข้อคำถามใดหน่วยงานยังไม่ได้ จัดทำ หรือดำเนินการก็สามารถดำเนินการได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประเด็นคำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก (๑.) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (๒) ความเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติ (๓) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (๔) การเข้าถึงข้อมูล เช่น เทศบาล เลือก ภารกิจของสำนักการช่าง เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร ท่านต้องเอาภารกิจการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร มาตอบคำถามตั้งแต่ ข้อ EB ๔ – ข้อ EB ๗ ยกตัวอย่างหลักฐานเพื่อประกอบข้อคำถาม ดังนี้ EB ๔ (๑) คู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้าง อาคาร EB ๔ (๒) เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือเกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร EB ๕ (๑) ระบบ เกณฑ์ เครื่องมือ ที่แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใส มีประสิทธิภาพ EB ๕ (๒) การเผยแพร่ แผนผัง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อัตราค่าบริการ ระยะเวลาในการดำเนินเกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร โดย Print Screen หน้า Website ที่มีระบุวัน/เดือน/ปี ที่ทำการเผยแพร่ มาเพื่อประกอบเป็นหลักฐาน
26
ตัวอย่างการเลือกภารกิจหลักของ ทสจ. (เลือกมาจากอำนาจหน้าที่ เพียง ๑ ภารกิจ - ส่วนทรัพยากรธรรมชาติ มีอำนาจหน้าที่ การอนุญาต ควบคุม กำกับ ดูแล โรงงานแปรรูปไม้ โรงค้าไม้แปรรูป โรงค้าสิ่งประดิษฐ์ การอนุญาต ควบคุม กำกับดูแลการมีและใช้เลื่อยโซ่ยนต์ การอนุญาตการขึ้นทะเบียนและการตัดฟันไม้สวนป่าเอกชน การอนุญาตการนำไม้และของป่าเคลื่อนที่ การอนุญาตอื่นๆ ตามกฎหมายที่ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบอำนาจ ประสานการขออนุญาตใช้ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จัดทำแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัด ประสานการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าและการทำลายทรัพยากรป่าไม้ในระดับจังหวัด ประสานการสำรวจการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณีในระดับจังหวัด ส่งเสริมเผยแพร่และสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
27
ตัวอย่างการเลือกภารกิจหลักของ ทสจ. (เลือกมาจากอำนาจหน้าที่ เพียง ๑ ภารกิจ - ส่วนทรัพยากรน้ำ มีอำนาจหน้าที่ ประสานการจัดทำแผนการจัดการน้ำของจังหวัด ประสานการเผ้าระวัง ตรวจสอบ กำกับ ดูแล ส่งเสริม เผยแพร่บำรุงรักษา และระบบเดือนภัยเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำในระดับจังหวัด กำกับ ดูแลกิจการประปาสัมปทานของน้ำผิวดินในระดับจังหวัด อนุญาต ควมคุม กำกับ ดูแล การประกอบกิจการน้ำบาดาล ประสานการจัดการน้ำบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งของจังหวัด กำกับ ดูแล กิจการประปาสัมปทานของน้ำบาดาลในระดับจังหวัด
28
ประเด็นที่ ๖ ระบบการร้องเรียนขององค์กร EB ๘
( ๖ คะแนน ข้อละ ๒ คะแนน) อาจทำในรูปคู่มือ/แนวปฏิบัติ โดยมีรายละเอียดตามนี้ (๑) ขั้นตอน/กระบวนการ/การตอบสนองหรือรายงานให้ผู้ร้องทราบ (๒) กำหนดช่องทางการร้องเรียน (๓) กำหนดหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ EB ๘ (๔) (๒ คะแนน) สรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน เรื่องทั่วไป+จัดชื้อจัดจ้าง (ระบุปัญหา/อุปสรรค +แนวทางแก้ไข) เสนอผู้บริหาร EB ๘ (๕) (๒ คะแนน) มีการเผยแพร่ผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน จัดชื้อจัดจ้าง ระบุปัญหา/อุปสรรค+แนวทางแก้ไข **นำไปเผยแพร่ในเว็ปไซต์ ของสำนักงาน
29
ผ่าน ๆ มา แต่ยังมีการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อคำถาม EB ๘ หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเรื่องร้องเรียนอย่างไร เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียนทั่วไป และเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดขื้อจัดจ้าง เรื่องร้องเรียน : เรื่องร้องเรียนทั่วไป + เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดขื้อจัดจ้าง เรื่องร้องเรียน : คือเรื่องร้องเรียนที่มีการดำเนินการในห้วงปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เช่นการสอบข้อเท็จจริง ตั้งกรรมการสอบสวน เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่มีผู้มาร้องเรียน หรือ หน่วยงานอื่นส่งเรื่องมา เช่น สตง. เพื่อให้หน่วยงานดำเนินการ อาจเป็นเรื่องที่ยังอยู่ระหว่างดำเนินการจากเรื่องร้องเรียนของปีที่ ผ่าน ๆ มา แต่ยังมีการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำหรับตอบข้อคำถามของ EB ๘ (๔) และ (๕)
30
ข้อคำถาม EB ๘ (๔) การเผยแพร่ผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียน
การจัดชื้อจัดจ้าง พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข แนวทางตอบ ให้แสดงหลักฐานการเผยแพร่ผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนจัดชื้อจัดจ้าง พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข หากกรณีหน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดชื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานเผยแพร่ถึงผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการจัดชื้อจัดจ้าง (ระหว่างเดือน .... ถึงเดือน.... ) หน่วยงานท่าน ว่าไม่มี ร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดชื้อจัดชื้อจัดจ้าง ข้อคำถามนี้ไม่ต้องรอจนสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ หน่วยงานสามารถสรุปก่อนได้โดยระบุ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ – เดือน ๒๕๕๘
31
ข้อคำถาม EB ๘ (๕) รายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียนทั่วไป พร้อมระบุปัญหา อุปสรรค
ให้แสดงหลักฐานการรายงานผลเรื่องร้องเรียนทั่วไป พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข (ระหว่างเดือน .... ถึงเดือน.... ) ข้อคำถามนี้ไม่ต้องรอจนสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ หน่วยงานสามารถสรุปก่อนได้โดยระบุ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ – เดือน ๒๕๕๘
32
ประเด็นที่ ๗ เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ ข้อคำถาม ๗ ข้อ
ให้ความรู้เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน ประชุม/อบรม EB ๙ (๑) (๑ คะแนน) จัดทำคู่มือ/ประมวลจริยธรรมเกี่ยวกับเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ (๒) (๑ คะแนน) รายงานผลการให้ความรู้ ตาม EB ๙ (๒) EB ๙ (๓) (๑ คะแนน) รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ ทับซ้อน + ข้อเสนอแนะ EB ๙ (๖) ( ๒ คะแนน) นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงระบบการทำงาน EB ๙ (๗) (๒ คะแนน) ปรับปรุงระเบียบ/ขั้นตอนเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ EB ๙ (๔) (๑ คะแนน) แนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบบุคลากรถึงความเกี่ยวข้องกับ ผู้เสนองานในการจัดชื้อจัดจ้าง EB ๙ (๕) (๒ คะแนน)
33
ประเด็นที่ ๘ การดำเนินการด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริต EB ๑๐ – EB ๑๑
วิเคราะห์แผนปฏิบัติการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (๔ คะแนน) EB ๑๐ (๒) ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ ( ขอผลการดำเนินการตามแผนอย่างน้อย ๑ โครงการ ) (๓ คะแนน) EB ๑๐ (๓) จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ (๓ คะแนน) แผน EB ๑๐ การรวมกลุ่ม EB ๑๑ รวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่ เพื่อการบริหารงานที่โปร่งใส *รายชื่อ/วัตถุประสงค์/แนวทางการดำเนินงาน EB ๑๑ (๑) (๕ คะแนน) *ผลการดำเนินงานของกลุ่มที่แสดงถึงความพยายามที่จะปรับปรุงการบริหารหน่วยงานให้มีความโปร่งใสยิ่งขึ้น EB ๑๑ (๒) (๕ คะแนน)
34
กำหนดการที่หน่วยงานต้องจัดส่ง
แบบตอบข้อคำถาม พร้อมเอกสาร หลักฐาน ประกอบข้อคำถาม ตามแบบ Evidence- based ส่งภายในวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ ส่งให้กับที่ปรึกษาโดยตรง ( ไม่ต้องสำเนาส่ง ป.ป.ท.)
35
EB ๑๒ การถูกชี้มูลความผิดของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
กรณี มีเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เข้ารับการประเมิน ถูกชี้มูลจากสำนักงาน ป.ป.ช. ๑ คดี ๑ ราย จะถูกหักคะแนน ๔ คะแนน ๒ คดีขึ้นไป หรือ ๑ คดี ๒ ราย จะถูกหักคะแนน ๘ คะแนน ถูกชี้มูลจากสำนักงาน ป.ป.ท. ๑ คดี ๑ ราย จะถูกหักคะแนน ๑ คะแนน สำนักงานปป.ป.ช. + สำนักงาน ป.ป.ท.จะเก็บข้อมูลจากเรื่องร้องเรียนที่ถูก ชี้มูลความผิดในห้วงเดือน กรกฎาคม ๒๕๕๗ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘
36
ปัญหาที่พบของการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
๑. ตอบบางข้อ ส่วนใหญ่ตอบว่า ไม่มี ส่วนใหญ่ไม่ตอบข้อ EB ๓ (๒) การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒. ส่วนใหญ่จะตอบเฉพาะเรื่องจัดชื้อจัดจ้าง แต่ข้ออื่น ๆ ตอบว่า ไม่มี ทั้งหมด ๓. ไม่มีการเลือกภารกิจหลัก เพื่อมาตอบข้อ EB ๔-EB ๗ ๔. ส่งแต่แบบสำรวจที่ตอบคำถามมาแล้ว แต่ไม่ส่งเอกสาร หลักฐานประกอบ ๕. บางหน่วยส่งผิด ส่งไป สำนักงาน ป.ป.ช.
37
Website www.pacc.go.th เลือก link ITA
ข้อมูล/ คู่มือ /คำอธิบายแบบสำรวจ ITA (Evidence based) / และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน ITA ให้ศึกษารายละเอียดใน จาก Website ของสำนักงาน ป.ป.ท. Website เลือก link ITA
38
แบบสำรวจ Evidence based /การอุทธรณ์ผล/หรือการจัดส่งเอกสาร ข้อมูลเกี่ยวกับ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ให้หน่วยงานจัดส่งให้กับที่ปรึกษา โดยตรง (เพื่อความรวดเร็ว) ที่อยู่ สำนักงานโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ ๔๕๗/๓๓ ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๓๕ แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๑๒ ๓๒๘๔ โทรสาร ๐ ๒๘๖๔ ๙๓๒๘
39
การประสานงาน ITA กับ สำนักงาน ป.ป.ท.
นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๕ ๔๘๕ ๗๖๒๗ สำนักคุ้มครองและป้องกัน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม (สำนักงาน ป.ป.ท.) เลขที่ ๙๙ หมู่ ๔ อาคารซอฟต์แวร์ปาร์ค ชั้นที่ ๓๑ ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลคลองเกลือ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๒๐ เบอร์โทรศัพท์ / โทรสาร โทรศัพท์ ๐๒–๕๐๒–๖๖๗๐ ต่อ ๑๔๐๑ , ๑๔๐๖ , ๑๔๑๒ โทรสาร ๐๒ ๕๐๒ -๖๖๖๒ (ระบุสำนักคุ้มครองและป้องกัน) Website เลือก link ITA
40
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.