งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนางานเภสัชกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนางานเภสัชกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนางานเภสัชกรรม
การบริหารเวชภัณฑ์

2

3

4

5

6

7

8

9

10 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ PDCA
บริหารแผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมินขบวนการ การเฝ้าระวัง - PlanFin - Feasibility Study - Letter of Intent (LOI) - Performance Plan - Financial Administration Index (FAI) - Account Audit Score - Risk Matrix Scoring - Financial Risk Scoring - Hospital Group Ratio (HGR) - Unit Cost Improve Improve Improve Peer Group Benchmark Best practice ตัวเอง กลุ่ม ข้อปฏิบัติที่ดี

11 10 เครื่องมือ ในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงินการคลัง
เป้าหมาย 1. แผนการเงินการคลัง (Planfin) การกำกับแผน ผลรายได้ และรายจ่าย ให้อยู่ในเป้าหมาย รายไตรมาส 2. การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการลงทุน (Feasibility study) การวิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุน ครุภัณฑ์ อาคาร 3. หนังสือแสดงเจตจำนงปรับปรุงประสิทธิภาพ บริหารจัดการด้านการเงิน (Letter of Intent : LOI) การทำข้อตกลงร่วม กรณี หน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงินและรับเงินช่วยเหลือ 4. แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ (Performance Plan) แผนพัฒนาประสิทธิภาพ ด้านรายได้ ลูกหนี้ ควบคุมรายจ่าย แผนลงทุนและแผนชำระหนี้ ตาม (Letter of Intent : LOI) 5. เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Administration Index : FAI) พัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนทางการเงิน การควบคุมภายในและ ระบบบัญชี 6. เกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี (Account Audit Score) บัญชีมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ 7. ดัชนีวัดผลคุวบคุมภายในและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล (Risk Matrix Scoring) บริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน องค์กรให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. ดัชนีวัดผลความเสี่ยงด้านการเงินการคลัง 7 ระดับ ( Financial Risk Scoring+7 Plus Efficiency Score ) การเฝ้าระวังความเสี่ยงทางการเงินใน 7 ระดับ และประสิทธิภาพบริหารการเงิน 9. ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ (Financial Benchmarking Hospital Group Ratio: HGR ) เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วยบริการในระดับกลุ่มเดียวกัน โดยใช้ค่ากลางเทียบ 10.ดัชนีวัดผลด้านประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Unit Cost) วิเคราะห์ประสิทธิภาพบริหารต้นทุน บริหารแผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมินขบวนการ การเฝ้าระวัง

12 หมวดการบริหารแผน การดำเนินการ ผลลัพธ์ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ
1. แผนการเงินการคลัง (Planfin) วินัยทางด้านการเงินการคลังการ กำกับแผน มีการปรับแผนที่จัดทำ และผลรายได้ และรายจ่าย ให้อยู่ ในเป้าหมาย รายไตรมาส - จัดทำแผนการเงินการคลัง : ข้อมูลในการจัดทำ : วิธีการประมาณการ : การตรวจสอบแผน - มีการปรับแผนกลางปี : รายได้และรายจ่ายให้สอดคล้อง : ให้เป็นไปตามเป้าหมาย - การกำกับบริหารแผน วัดผล ความแตกต่างรายหมวด ทั้ง รายได้และรายจ่าย : ผล – แผน : ผลงานปีนี้ – ผลงานปีก่อน : รายเดือน รายไตรมาส และสิ้นปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : จัดทำแผน วิเคราะห์แผน PlanFin Analysis : ตรวจ อนุมัติ และกำกับแผน รายเดือน รายไตรมาส : พัฒนาระบบ PlanFin Control System : การกำกับ ผล-แผน +5% : วิเคราะห์สาเหตุ ปรับแผน (กลางปี) : นำไปพัฒนาประสิทธิภาพ

13 หมวดการบริหารแผน การดำเนินการ ผลลัพธ์ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ
2. การวิเคราะห์ความคุ้มค่า การลงทุน (Feasibility study) การวิเคราะห์หาความคุ้มทุน อัตราผลตอบแทนการลงทุน ครุภัณฑ์ การลงทุนอาคาร ตลอดจน การลงทุนร่วมกับ ภาคเอกชนสอดคล้องกับ Service Plan จัดทำการวิเคราะห์ความคุ้มทุน จาก อัตราคืนทุน Pay Back Period (PB) ในการลงทุน ผลตอบแทน - กรณีลงทุนเอง ให้เอกชนลงทุน (Out Sourcing) และลงทุนร่วมกับเอกชน เสนอพิจารณาทางเลือก การดำเนินการ ผลลัพธ์ : พัฒนาดัชนีการวัด Return of Asset (ROA) ให้อยู่ ใน 7 Plus Efficiency Score ผลคิดเป็นร้อยละ โดยเทียบกับค่ากลางของกลุ่ม รพ.ระดับเดียวกันใน 20 กลุ่ม

14 หมวดการปรับประสิทธิภาพ
เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 3. หนังสือแสดงเจตจำนงปรับปรุง ประสิทธิภาพบริหารจัดการด้าน การเงิน (Letter of Intent : LOI) การทำข้อตกลงร่วมกรณี หน่วย บริการประสบภาวะวิกฤติทาง การเงินและรับเงินช่วยเหลือ มี การกำกับ การดำเนินงาน ผู้บริหารหน่วยบริการ จังหวัด และเขต ทำหนังสือข้อตกลงร่วม ผู้บริหารหน่วยบริการ ผู้บริหารจังหวัดและ ผู้บริหารเขต ในการปรับปรุงประสิทธิภาพ บริหารจัดการด้านการเงิน ตาม เวลากำหนด โดยมี แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ และ - ระบบกำกับ ประเมินผล ระบบรายงาน การดำเนินการ ผลลัพธ์ : หน่วยบริการ ที่ได้รับจัดสรร CF เขต ทุกเขต ต้องจัดทำ LOI เพื่อพัฒนาปรับประสิทธิภาพ : หน่วยบริการทำ LOI : ประเมินผลรายไตรมาส

15 หมวดการปรับประสิทธิภาพ
เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 4. แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ (Performance Plan) มีแผนพัฒนาด้านรายได้ ลูกหนี้ ควบคุมรายจ่าย แผนลงทุนและ แผนชำระหนี้ เพื่อแก้วิกฤติ การเงิน การวัดผลการ ดำเนินการตาม (Letter of Intent : LOI) จัดทำ แผนปรับระบบการบริหาร แผนพัฒนาด้านรายได้ ลูกหนี้ - แผนควบคุมรายจ่าย แผนลงทุนและ แผนชำระหนี้ กำหนดให้มี มาตรการ เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา มีระบบรายงานผล ให้จังหวัด เขต ส่วนกลาง - รายเดือน รายไตรมาส สิ้นปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : หน่วยบริการ ที่ได้รับจัดสรร CF เขต ทุกเขต ต้องจัดทำ แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ : ประเมินผลรายไตรมาส

16 แผนปรับเพิ่มประสิทธิภาพ (Performance Plan )
1 แผนพัฒนาและปรับปรุงเชิงระบบ ปรับโครงสร้าง ระบบจัดเก็บรายได้ ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (ปรับระบบ) การปรับปรุงเชิงระบบ/ปรับโครงสร้าง การปรับปรุงพัฒนาเพิ่มผลผลิต/รายได้ การปรับปรุงระบบจัดซื้อจัดจ้าง 2 แผนฟื้นฟูทางการเงินการคลัง (เพิ่มสภาพคล่อง) แผนพัฒนาเพิ่มรายได้ ทุกหมวด : เป้าหมาย บาท / ผลการดำเนินการ บาท แผนควบคุม/ลดค่าใช้จ่าย ทุกหมวด : เป้าหมาย บาท / ผลการดำเนินการ บาท แผนเรียกเก็บลูกหนี้ ทุกหมวด แผนบริหารมูลค่าวัสดุคงคลังทุกประเภท : เป้าหมายลดลง บาท (เป้าหมายสำรองคงคลังจำนวน .... เดือน) : ผลการดำเนินการลดลง บาท (เหลือสำรองคงคลังจำนวน .... เดือน) 3 แผนการลงทุน (รักษาสมดุล) : ตามแผนการลงทุนและได้รับการอนุมัติจากจังหวัดและเขต 4 แผนการชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (หนี้ลด) : เป้าหมายหนี้สินลดลง บาท : ผลการดำเนินการหนี้สินลดลง บาท 5 การปรับเพิ่ม LOI ตามที่คณะกรรมการ CFO เสนอ (ทำ/ต้องไม่ทำ) : ประเด็นที่ต้องทำ เพิ่ม : ประเด็นที่ต้องไม่ทำ *** ระบบรายงานส่งให้เขต ... ภายใน 15 วัน หลังสิ้นรายไตรมาสและภายใน 30 วันหลังสิ้นปีงบประมาณ ***

17 หมวดการประเมินขบวนการ
เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 5. เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง (Financial Administration Index : FAI) พัฒนาประสิทธิภาพการวางแผน ทางการเงิน การควบคุมภายใน และ ระบบบัญชีที่ดี ใช้แบบประเมินประเมิน ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลัง (FAI) ออกตรวจในหน่วยบริการทุกแห่ง ในเขต การคลัง ระบบข้ามจังหวัด โดยประเมินผลตามเกณฑ์ที่ ส่วนกลางกำหนด : รายไตรมาสและสิ้นปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : การประเมินผล ในรูปแบบ “ตรวจไขว้จังหวัด” : ตรวจทุก รายไตรมาส : ประเมินผลรายไตรมาส

18 หมวดการประเมินขบวนการ
เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 6. เกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี (Account Audit Score) บัญชีหน่วยบริการมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และพัฒนาไปสู่ สารสนเทศทางการเงินให้ ผู้บริหาร ใช้แบบประเมินคุณภาพบัญชี - ของส่วนกลาง (กรณีเขตไม่มี) - แบบประเมินคุณภาพบัญชีเขต ออกตรวจในหน่วยบริการ ทุกแห่งในเขต โดยเฉพาะหน่วยบริการที่ ประสบวิกฤติด้านการเงินการคลัง ประเมินผลตามเกณฑ์ประเมิน คุณภาพบัญชีที่ส่วนกลางกำหนด หรือเกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี ของเขต : 1 ครั้งต่อปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : เขตและจังหวัดทำแผน ออกตรวจคุณภาพบัญชี หน่วยบริการ 1 ครั้ง/ปี โดยทีม Auditor : พัฒนาคุณภาพบัญชีให้ผ่านเกณฑ์ : ประเมินผลคุณภาพบัญชีให้ผ่านเกณฑ์

19 แบบประเมินคะแนนคุณภาพบัญชี จำนวน 899 ข้อ
ลำดับ รายการ 1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2 ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล 3 ลูกหนี้อื่น 4 วัสดุคงเหลือ 5 สินทรัพย์หมุนวียนอื่น 6 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 7 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาล 8 เงินกองทุน/เงินรับฝาก/รายได้รับล่วงหน้า/ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 9 หนี้สินหมุนเวียนอื่นและหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 10 ทุน 11 รายได้ 12 ค่าใช้จ่าย เกณฑ์ผ่าน รวม > 80%

20 หมวดการประเมินขบวนการ
เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 7. ดัชนีวัดผลควบคุมภายในและความ เสี่ยงด้านธรรมาภิบาล (Risk Matrix Scoring) วิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงและ การควบคุมภายในองค์กรให้ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ใช้แบบประเมินคุณภาพควบคุม ภายในและความเสี่ยงด้าน ธรรมาภิบาล ออกตรวจในหน่วย บริการทุกแห่งในเขต โดยเฉพาะ หน่วยบริการที่ประสบวิกฤติด้าน การเงินการคลัง : 1 ครั้งต่อปี ลำดับ รายการ คะแนนรวม 1 ด้านการเงิน 200 2 ด้านการจัดเก็บรายได้ 3 ด้านบริหารพัสดุ 4 ด้านบัญชีและงบการเงิน 5 ด้านบริหารความเสี่ยง เกณฑ์ผ่าน ทุกหมวด > 80% การดำเนินการ ผลลัพธ์ : จังหวัดทำแผน ออกตรวจระบบควบคุม ภายใน หน่วยบริการ 1 ครั้ง/ปี : ประเมินผลให้ผ่านเกณฑ์ ในประเด็นที่ไม่ผ่าน นำมาปรับปรุงและพัฒนา

21 หมวดการเฝ้าระวัง การดำเนินการ ผลลัพธ์ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ
8.ดัชนีวัดผลความเสี่ยงด้านการเงิน การคลัง ( Financial Risk Scoring และ 7 Plus Efficiency Score ) การเฝ้าระวังผลความเสี่ยงทาง การเงินใน 7 ระดับ ประเมินผลความเสี่ยงทางการเงิน จากรายงานงบการเงินที่สอบทาน ถูกต้องแล้ว : รายเดือน รายไตรมาสและสิ้นปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : ส่วนกลาง ติดตามรายงานการเงิน Risk Scoring ตรวจสอบ และประมวลผล ทุกเดือน ไตรมาส ในระดับ 0-7 : ออกรายงาน ให้พื้นที่ ในไปวิเคราะห์ผล : ส่วนกลาง พัฒนาดัชนีวัดประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (7 Plus Efficiency Score) ประมวลผล ทุกไตรมาส แล้วให้คะแนน ในระดับ A-F รายเดือน : รายงาน Risk Scoring รายไตรมาส : รายงาน 7 Plus Efficiency Score

22 หลักเกณฑ์การคิดวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 ปี 2560
ประเภท ดัชนี ชี้วัด น้ำหนักความรุนแรงของความเสี่ยง(Risk Score) คำอธิบาย 1.กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์ กลุ่มแสดงความคล่องสภาพสินทรัพย์ 1.1 CR < 1.5 1 CR = สินทรัพย์หมุนเวียน(หักงบลงทุน)/หนี้สินหมุนเวียน 1.2 QR < 1.0 QR = เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสดและลูกหนี้(ไม่รวมสินค้าคงคลังและงบลงทุน)/หนี้สินหมุนเวียน 1.3 Cash < 0.8 CashR =เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด(ไม่รวมสินค้าคงคลัง ลูกหนี้และงบลงทุน)/หนี้สินหมุนเวียน 2.กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน 2.1 แสดงฐานะทางการเงิน (ทุนหมุนเวียน) NWC < 0 เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน หัก หนี้สินหมุนเวียน 2.2 แสดงฐานะจากผลประกอบการ(รายได้สูง/ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ ) NI < 0 ผลประกอบการสุทธิ = รายได้สูง/ต่ำกว่าค่าใช้จ่าย รวม ค่าเสื่อมราคา 3.กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง มี 2 มิติ กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงิน 3.1 มิติ NWC หรือทุนหมุนเวียน ที่เพียงพอรับภาระการขาดทุนเฉลี่ย ต่อเดือน (กรณี NWC เป็นบวก&มี NI ติดลบ) กลุ่มแสดงเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรงสามารถดูได้ทั้ง 2 มิติ a) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอาจหมด > 6 เดือน เนื่องจากทั้ง 2 มิติ มีผลกระทบต่อความอยู่รอดของหน่วยบริการ b) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอยู่ได้ > 3 เดือน ไม่เกิน 6 เดือน *กรณีมีทุนหมุนเวียนคงเหลือ แต่มีผลการดำเนินงานขาดทุน หรือ c) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอยู่ได้ < หรือ = 3 เดือน 2 3.2 มิติ ผลกำไรจากการดำเนินการ เพียงพอรับภาระหนี้สินหมุนเวียน ( กรณีNWC ติดลบ & มี NI เป็นบวก ) *กรณีมีกำไรจากผลการดำเนินงาน แต่ขาดเงินทุนหมุนเวียน a) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก > 6 เดือน b) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก >3 เดือนไม่เกิน 6 เดือน c) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก < หรือ = 3 เดือน 3.3 กรณี NWC ติดบวก & มีNI เป็นบวก 3.4 กรณี NWC ติดลบ & มีNI เป็นลบ

23 หลักเกณฑ์การวัดประสิทธิภาพบริหารการเงิน 7 Plus Efficiency Score
ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Operating Margin) เป็นการวัดความสามารถในการดำเนินงานของ หน่วยงาน * รายได้ที่นำมาคำนวณไม่รวมงบลงทุน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ( Return on Asset ) แสดงถึงความสามารถในการบริหารของสินทรัพย์ ทั้งหมดที่หน่วยบริการใช้ในการดำเนินงาน ... แผนในการลงทุนและการจัดการสินทรัพย์ ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การค้ากลุ่มบริการ (ค่ายา เวชภัณฑ์มิใช่ยาฯ) (Average payment Period) แสดงถึง ความสามารถในการบริหารหนี้การค้ากลุ่มงานบริการของโรงพยาบาล ถ้า cash < (สภาพคล่องต่ำ) อนุโลมให้ยืดระยะเวลาชำระหนี้ได้ ... ภายใน 180 วัน ถ้า cash > (สภาพคล่องปกติ) ให้ชำระหนี้ตามรอบเวลาปกติ ภายใน 90 วัน ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) แสดงถึงความสามารถในการบริหาร ลูกหนี้ของโรงพยาบาล กลุ่มลูกหนี้ที่เรียกเก็บจาก สปสช. UC -OP/IP (AE) ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) แสดงถึงความสามารถในการบริหาร ลูกหนี้ของโรงพยาบาล กลุ่มลูกหนี้สิทธิข้าราชการที่เรียกเก็บจากกรมบัญชีกลาง ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) แสดงถึงความสามารถในการบริหาร ลูกหนี้ของโรงพยาบาลกลุ่มลูกหนี้สิทธิประกันสังคม (ในเครือข่าย) การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) แสดงถึงความสามารถบริหารจัดการด้านยา เวชภัณฑ์ มิใช่ยาฯ วัสดุเภสัชกรรม วัสดุการแพทย์ทั่วไป วัสดุวิทยาศาสตร์ วัสดุทันตกรรม วัสดุเอกซเรย์ ที่อยู่ใน คลังในปริมาณที่เหมาะสม ยา

24 แนวทางในการกำกับและติดตาม
ผลการประเมินประสิทธิภาพบริหารการเงิน 7 Plus Efficiency Score ประเภทตัวชี้วัดประสิทธิภาพ เกณฑ์ประเมิน แนวทางกำกับ ๑. ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Operating Margin) ประสิทธิภาพการทำกำไร Operating Margin >= ค่ากลาง ประเมิน PlanFin ดูการกำกับรายได้ รายจ่าย รายหมวด หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน ทบทวนปรับปรุง การวางระบบกำกับ ทำแผนปรับประสิทธิภาพ ๒. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Asset) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ Return on Asset >= ค่ากลาง การใช้สินทรัพย์เดิมให้สร้างมูลค่า เพิ่ม Productivity การลงทุนสินทรัพย์ใหม่ๆ ต้องศึกษา Feasibility จัดลำดับแผนในการลงทุน ๓.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การค้ากลุ่มบริการ (ค่ายา เวชภัณฑ์มิใช่ยาฯ) (Average payment Period) ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การค้ากลุ่มบริการ(ค่ายา เวชภัณฑ์มิใช่ยาฯ) Average payment Period) การค้ากลุ่มบริการ มีแผนบริหารเจ้าหนี้ ระบบการจ่ายชำระเจ้าหนี้การค้า ก่อน- หลัง ระบบบริหารการสั่งซื้อ การรับรู้หนี้สิน ถ้า cash < (สภาพคล่องต่ำ) อนุโลมให้ยืดระยะเวลาชำระหนี้ได้ ... ภายใน 180 วัน ถ้า cash > (สภาพคล่องปกติ) ให้ชำระหนี้ตามรอบเวลา ปกติ ภายใน 90 วัน ๔. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) สปสช. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ UC (Average Collection Period) <=60 มีการจัดตั้งศูนย์เก็บรายได้ มีการเชื่อมโยงข้อมูลลูกหนี้กับบัญชี มี Flow งาน ประกันระยะเวลา ในแต่ละขั้นตอน มีระบบการติดตามหนี้สิน ๕. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) กรมบัญชีกลาง ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ CSMBS (Average Collection Period) <=60 ๖.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) ประกันสังคม ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ SSS (Average Collection Period) <=60 ๗. การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) การบริหารสินค้าคงคลัง ยา (Inventory Management) <=60 1. รายงานอัตราคงคลัง ก่อนจัดซื้อ ระบบควบคุมคลังย่อย 2. ตรวจรับแล้วส่งการเงินใน 3 วัน 3. กำกับ รับรู้หนี้สินระหว่างทางเป็นปัจจุบัน

25 หมวดการเฝ้าระวัง การดำเนินการ ผลลัพธ์ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ
9. ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้าน การเงินการคลังหน่วยบริการ ( Financial Benchmarking Hospital Group Ratio : HGR ) เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วย บริการในระดับกลุ่มบริการ เดียวกัน โดยใช้ค่ากลางเทียบ ผลความแตกต่าง ประเมินผลความแตกต่าง เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วย บริการในระดับกลุ่มบริการเดียวกัน : ค่าเฉลี่ย (Mean) : ค่าเฉลี่ย+ส่วนเบี่ยงเบน (Mean+1SD) จากฐานข้อมูลกลาง HGR หรือ โปรแกรมประมวลผล HGR : รายเดือน รายไตรมาสและสิ้นปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : ส่วนกลางพัฒนา ระบบสารสารเทศ HGR : หน่วยบริการ ใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผน เทียบเคียง : เวปแสดงข้อมูลเปรียบเทียบ ของหน่วยบริการและ ในระดับกลุ่ม จากค่า เฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบน

26 Hospital Group Ratio : HGR version 6.0 สามารถดูจากเวป
Username = cfomoph Password = 1234

27 หมวดการเฝ้าระวัง การดำเนินการ ผลลัพธ์ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ
10. ดัชนีวัดผลด้านประสิทธิภาพใน การใช้ทรัพยากร (Unit Cost) วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการ การใช้ทรัพยากร ต้นทุน OP และ IP เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วย บริการในระดับกลุ่มบริการ เดียวกัน โดยใช้ค่ากลางเทียบ ผลความแตกต่าง วิธี Unit Cost Quick Method เป็นอย่างน้อย ประเมินผลความแตกต่าง เปรียบเทียบด้านต้นทุนต่อหน่วย OP IP ในระดับกลุ่มบริการเดียวกัน : ค่าเฉลี่ย (Mean) : ค่าเฉลี่ย+ส่วนเบี่ยงเบน (Mean+1SD) : รายเดือน รายไตรมาสและสิ้นปี การดำเนินการ ผลลัพธ์ : ส่วนกลาง จัดทำรายงาน Unit Cost แบบ Quick method : หน่วยบริการ ใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผน เทียบเคียง : เวปแสดงข้อมูล รายแห่ง Unit Cost OP และ IP เปรียบเทียบ ของหน่วยบริการและ ในระดับกลุ่ม จากค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบน

28

29

30 พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนางานเภสัชกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google