งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 : Together We Share , 9-10 มกราคม 2562

2 วัตถุประสงค์ รวบรวมรายชื่อวารสารวิชาการสำหรับ ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานในระดับ นานาชาติ จาก ฐานข้อมูล ISI Web of Science และ SCOPUS พร้อมข้อมูลแสดง มาตรฐานคุณภาพของวารสารที่เป็น สากล พัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่ง ตีพิมพ์บทความวิชาการที่เผยแพร่ใน ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ สำหรับ บริการแก่ผู้ใช้ให้เข้าถึงได้สะดวก รวดเร็วทันกับความต้องการ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

3 ขั้นตอนการดำเนินงาน วิเคราะห์ความเป็นไปได้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างประเทศ ศึกษาหลักเกณฑ์คุณภาพผลงานฯและคัดเลือกข้อมูล เตรียมข้อมูลจาก 2 แหล่ง คือ Scimago Journal & Country Rank และ Journal Citation Reports ออกแบบและพัฒนาระบบ ทั้งส่วนของผู้ใช้และผู้ดูแลระบบ ทดสอบระบบ และ ปรับปรุงแก้ไขระบบ ประเมินผลการทำงานและการใช้งานของผู้ใช้ Clarivate Analytics (Web of Science), 2018 ; RELX Group (SCOPUS), 2018; Scimago Lab & SCOPUS, 2018 ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทุนสนับสนุนค่าตีพิมพ์และรางวัลตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ พ.ศ 2561 ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินสนับสนุนการศึกษาตลอดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ 2560

4 ศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างประเทศ เช่นระบบ Journal Finder ของ Edanz, Elsevier
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

5 หลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพผลงานของ มหาวิทยาลัยนเรศวร
หลักเกณฑ์การรับทุนสนับสนุนค่าตีพิมพ์และขอรับรางวัลตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ตามประกาศมหาวิทยาลัย 1. อ้างอิงค่า Impact Factor จาก Journal Citation Reports และค่า Quartile จากฐานข้อมูล ISI Web of Science 2. อ้างอิงค่า Quartile จาก Scimago Journal & Country Rank ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทุนสนับสนุนค่าตีพิมพ์และรางวัลตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ พ.ศ 2561 ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินสนับสนุนการศึกษาตลอดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ 2560 ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

6 ขั้นตอนเตรียมข้อมูล ดาวน์โหลดข้อมูลของวารสารจาก แหล่งข้อมูลต้นฉบับ
ตามเขตข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ ชื่อวารสาร, ISSN, คำสำคัญ, Publisher, ค่า Journal Impact Factor และ ค่า Quartile Export ข้อมูลออกมา แล้วนำไฟล์มาปรับปรุง แก้ไขข้อมูล แปลงข้อมูลดิบจากแหล่งเดิม เข้าสู่ไฟล์ Excel (ไฟล์ csv ) นำข้อมูลส่วนหนึ่งไปทดลองนำเข้าสู่ ฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้น ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

7 การเตรียมข้อมูลจาก ISI Web of Science
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

8 JCR2017 Q1 จำนวน 3,158 ระเบียน JCR2017 Q2 จำนวน 3,629 ระเบียน
ข้อมูลที่ได้จาก Journal Citation Reports ประกอบด้วยข้อมูลค่า Journal Impact Factor ปี 2017 (ล่าสุด) นำมาแยกตามค่า Quartile ตั้งแต่ Q1 ถึง Q4 รวมทั้งหมด 14,029 รายการ ดังนี้ JCR2017 Q1 จำนวน 3,158 ระเบียน JCR2017 Q2 จำนวน 3,629 ระเบียน JCR2017 Q3 จำนวน 3,653 ระเบียน JCR2017 Q4 จำนวน 3,589 ระเบียน ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

9 การเตรียมข้อมูลจาก Scimago
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

10 Quartile1 จำนวน 7,101 ระเบียน
ข้อมูลที่ได้จาก Scimago Journal & Country Rank แยกตาม Quartile ตั้งแต่ Q1 ถึง Q4 จำนวน 24,624 รายการ จำแนกตาม Quartile ดังนี้ Quartile1 จำนวน 7,101 ระเบียน Quartile2 จำนวน 6,031 ระเบียน Quartile3 จำนวน 5,862 ระเบียน Quartile4 จำนวน 5,630 ระเบียน ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

11 ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาระบบ
1. วิเคราะห์และสรุปความต้องการของบรรณารักษ์ผู้ใช้งานระบบ เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ โดยใช้เครื่องมือดังนี้ 2.1 ภาษาที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ HTML, PHP, Javascript และ SQL 2.2 ระบบฐานข้อมูล ใช้ Mysql Database 2.3 โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา โปรแกรม Notepad++ โปรแกรม MySQL-Font 2.4 เครื่องมือช่วยในการพัฒนา Frontend Framework Bootstrap JavaScript Framework AngularJS ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

12 3. ออกแบบฐานข้อมูล ตารางเก็บข้อมูลวารสาร ประกอบด้วยเขตข้อมูล (Field) ดังนี้ ID Number เลข ISSN คำสำคัญ ชื่อสำนักพิมพ์ ข้อมูลค่า Impact Factor และ ISI Quartile (จาก Clarivate Analysis), ข้อมูลค่า SJR Quartile (จาก Scimago Journal Ranking ของ SCOPUS), ชื่อย่อของวารสาร (Abbreviated), กลุ่มสาขา (Categories) URL Address ของวารสาร 2. ตารางเก็บประเภทของวารสาร ประกอบด้วยเขตข้อมูล ได้แก่ ID, ชื่อ แหล่งข้อมูลวารสาร และเชื่อมโยงกับตารางเก็บข้อมูลวารสาร 3. ตารางเก็บข้อมูลผู้ดูแลระบบ ประกอบด้วยเขตข้อมูล ID, ชื่อผู้ใช้ที่เป็น ผู้ดูแลระบบ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

13 4. ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
4. ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ ขั้นตอนการออกแบบ แบ่งหน้าเว็บไซต์ออกเป็น 2 ส่วน 4.1 ส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป ประกอบด้วยฟังก์ชั่นค้นหาข้อมูล จากเขตข้อมูล ตามที่อยู่ในตารางเก็บข้อมูลดังนี้ ID Number เลข ISSN คำสำคัญ ชื่อสำนักพิมพ์ ข้อมูลค่า Impact Factor และ ISI Quartile ข้อมูลค่า SJR Quartile ชื่อย่อของวารสาร กลุ่มสาขา URL Address ของวารสาร ชื่อวารสาร คำค้น (Keyword) ISSN 4.2 ส่วนของผู้ดูแลระบบ เหมือนส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป แต่มีฟังก์ชั่นเพิ่มเติม คือ เพิ่มข้อมูลชื่อวารสาร แก้ไขข้อมูลวารสาร และลบข้อมูลวารสาร โดยมีการป้อน ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านในการเข้าสู่ระบบ

14 ส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

15 ส่วนของผู้ดูแลระบบ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

16 ตัวอย่าง หน้าเว็บไซต์ฐานข้อมูลสำหรับผู้ใช้
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

17 ตัวอย่าง หน้าเว็บไซต์ฐานข้อมูลสำหรับผู้ปฎิบัติงาน
ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

18 5. ทดสอบระบบ และเริ่มใช้งาน
5. ทดสอบระบบ และเริ่มใช้งาน บรรณารักษ์นำข้อมูลบางส่วน และรายละเอียดของเขตข้อมูลที่ต้องการส่งให้โปรแกรมเมอร์ ได้แก่ แสดงผลแบบย่อ และแบบละเอียด 2. การทดสอบส่วนการสืบค้นของผู้ปฏิบัติงาน และส่วนการสืบค้นของ ผู้ใช้บริการ นำข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์มากที่สุด นำระบบไปใช้งาน เปิดใช้งานในช่วงเดือนธันวาคม 2561 ประเมินผลการใช้ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

19 การทำงานหลังจากมีระบบฐานข้อมูล
ผลของการศึกษา การให้บริการสนับสนุนวิจัยของห้องสมุดมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสรุปข้อแตกต่างจากวิธีการทำงานแบบเดิมได้ ดังนี้ การทำงานแบบเดิม 1. รูปแบบการทำงานแบบเดิม ต้องใช้เวลาค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ไม่ต่ำกว่า 4 แหล่ง ทำให้ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูล เพื่อส่งข้อมูลให้ผู้ใช้บริการ 2. การทำงานแบบเดิม เป็นการให้บริการที่บรรณารักษ์ดำเนินการให้แก่ผู้ใช้โดยตรง และดำเนินการได้เฉพาะบรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบบริการสนับสนุนวิจัย 3. การทำงานแบบเดิม เป็นการใช้งานจากแหล่งข้อมูลภายนอก หากเว็บไซต์ต้นแหล่งมีปัญหาขัดข้อง ผู้ให้บริการจะไม่สามารถค้นข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ได้ทันตามต้องการ การทำงานหลังจากมีระบบฐานข้อมูล ช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์ 1. บรรณารักษ์ใช้เวลาในการค้นข้อมูลน้อยลง โดยสามารถค้นได้จากทั้ง 2 แหล่งในเว็บไซต์เดียว ทำให้ลดขั้นตอนการหาข้อมูล และนำส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้ได้รวดเร็วขึ้น 2. ผู้ใช้บริการ เช่น อาจารย์ นิสิตบัณฑิตศึกษา สามารถช่วยตัวเองในการค้นหาแหล่งตีพิมพ์ได้ตรงตามต้องการ และไม่ต้องเสียเวลาในการรอคอยคำตอบกรณีเร่งด่วน หรือเมื่อบรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานไม่อยู่ บรรณารักษ์ท่านอื่นสามารถดำเนินการแทนได้ โดยใช้ระบบฐานข้อมูลช่วยค้นฯ เป็นเครื่องมือ 3. บรรณารักษ์ หรือผู้ให้บริการสามารถค้นข้อมูลแหล่งวารสารสำหรับตีพิมพ์ได้ตามต้องการเวลาใดก็ได้ แม้กรณีระบบการสืบค้นจากต้นแหล่งขัดข้อง เนื่องจากข้อมูลถูกจัดเก็บไว้ที่ห้องสมุด จึงสามารถค้นด้วยตนเองได้ตลอดเวลา ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

20 ประโยชน์ที่ได้รับ ช่วยปรับปรุงกระบวนการให้บริการ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ด้วยตนเองและ รวดเร็วขึ้น จากเดิมที่ผู้ใช้บริการต้องรอรับข้อมูลตอบกลับผ่านอีเมล์ ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ที่ต้องการจำกัดผลการค้นหรือค้นเฉพาะเจาะจง เช่น เลือกวารสารระดับมาตรฐานสูงหรือระดับรองลงมา หรือ ค่า Impact Factor /ค่า Quartile ในระดับที่สูงหรือต่ำตามต้องการ หรือเลือกวารสารข้ามกลุ่มสาขาได้ 3. ใช้ฐานข้อมูลนี้เป็นเครื่องมือสำหรับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานส่วนหน้า หรือเคานเตอร์ยืมคืน ให้สามารถแนะนำข้อมูลแก่ผู้ใช้ หรือสับเปลี่ยนหมุนเวียนงานแทนกันได้ 4. บุคลากรหน่วยงานอื่นที่รับผิดชอบด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัย เช่น กองบริหารการวิจัย หรือผู้ประสานงานด้านวิจัยของคณะต่างๆ สามารถใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูลฯนี้ เพื่อการให้บริการข้อมูลเบื้องต้นให้แก่อาจารย์ นักวิจัยได้ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

21 (Enter your own creative tag line above)
ข้อเสนอแนะ และคำถาม (Enter your own creative tag line above) ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

22 ขอบคุณค่ะ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google