ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
2
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
3
รายได้ประชาชาติดุลภาพ หมายถึง ระดับรายได้ประชาชาติอยู่ในภาวะสมดุล คือ มีอุปสงค์รวม (Aggregate Demand) เท่ากับ อุปทานรวม (Aggregate Supply) ซึ่งเป็นสภาวะที่สินค้าและบริการที่ผลิตออกมาสนองความต้องการของผู้บริโภคได้พอดี - ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่ ไม่มีภาวการณ์ว่างงาน ไม่มีสินค้าล้นตลาดหรือเกิดการขาดแคลน - ณ ระดับต่ำกว่าการจ้างงานเต็มที่ มีการว่างงาน ทรัพยากรถูกใช้ไม่เต็มที่ อุปสงค์รวมต่ำกว่าอุปทานรวม
4
การวิเคราะห์การเกิดดุลยภาพของรายได้ประชาชาติอย่างง่าย
1) กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล Y = C + I 2) กรณีที่เป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y = C + I + G 3) กรณีที่เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C + I + G + X – M
5
การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพโดยใช้กราฟ
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=Ca+bY , I=Ia Y=AS= AD=C+I AD=C+I(การใช้จ่ายรวม) AD1 =C +I=(Ca+Ia)+bY D AD1 Ca+Ia C =Ca+bY B Ia I =Ia C Ca 450 Y (รายได้ประชาชาติ) = AS (อุปทานรวม) Y1 ดุลยภาพอยู่ที่จุด D ที่ AD1(=C+I)=AS(Y1) ระดับ Y1 เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ
6
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=40+0
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=40+0.6Y , I=80 Y=AS= AD=C+I AD=C+I(การใช้จ่ายรวม) AD1 =C +I= Y D AD1=300 C =40+0.6Y C 120=40+80 I =80 80 B 40 450 Y (รายได้ประชาชาติ) = AS (อุปทานรวม) Y1=300 ดุลยภาพอยู่ที่จุด D ที่ AD1(=300)=AS(300) ระดับ Y1=300เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ
7
ดุลยภาพอยู่ที่จุด E ที่ AD2=AS(Y2) ระดับ Y2เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=Ca+bYd , I=Ia , G=Ga, Yd=Y-T , T=T0 AD=C+I+G Y=AS= AD AD2 =C+I+G=(Ca-bT+Ia+Ga)+bY E AD2 AD1 =C+I=(Ca-bT+Ia)+bY D (Ca-bT)+Ia+Ga (Ca-bT)+Ia C =Ca+bYd=Ca+b(Y-T)=(Ca-bT)+bY A Ia B I =Ia Ga G =Ga C Ca-bT 450 Y (รายได้ประชาชาติ)=AS Y2 ดุลยภาพอยู่ที่จุด E ที่ AD2=AS(Y2) ระดับ Y2เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ
8
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=50+0
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=50+0.6Yd , I=112 , G=80, Yd=Y-T , T=70 AD=C+I+G Y=AS= AD AD2 = Y E AD2=500 AD1 = Y D C =50+0.6Yd=50+0.6(Y-70)=8+0.6Y 200= A 120=112+8 B I =112 112 G =80 80 C 450 8 Y (รายได้ประชาชาติ)=AS Y2=500 ดุลยภาพอยู่ที่จุด E ที่ AD2(=500)=AS(500) ระดับ Y2=500เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ
9
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด โดยสมมติให้ C=Ca+bYd , I=Ia , G=Ga , X=Xa , M=Ma+mY Yd=Y-T , T=T0
AD=C+I+G+X-M Y= AD AD2 =C+I+G=(Ca-bT+Ia+Ga)+bY AD3 =C+I+G+(X-M) =(Ca-bT+Ia+Ga+Xa-Ma)+(b-m)Y F E AD1 =C+I=(Ca-bT+Ia)+bY (Ca-bT)+Ia+Ga+(Xn-Ma) C=Ca+bYd=Ca+b(Y-T)=(Ca-bT)+bY Ca-bT+Ia+Ga A (Ca-bT) +Ia I=Ia G=Ga Ia B Ga C Xn-Ma Ca-bT 450 D Y (รายได้ประชาชาติ) Y1 Xn=(Xa-Ma)-mY
10
แทรก AD , X-M Y= AD M=Ma+mY Xa A X=Xa Ma 450 Y (รายได้ประชาชาติ)
Xn>0 (X>M) Y1 Xn =(Xa-Ma)-mY (การส่งออกสุทธิ) Xn<0 (X<M) Xn=0 (X=M)
11
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด โดยสมมติให้ C=50+0
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด โดยสมมติให้ C=50+0.6Yd , I=112 , G=80 , X=110 , M=60+0.1Y Yd=Y-T , T=70 AD=C+I+G+X-M Y= AD AD2=C+I+G= Y AD3=C+I+G+X-M= Y F AD1 = Y E 250= C=50+0.6Yd=50+0.6(Y-70)=8+0.6Y 200= A 120=8+112 I=112 G=80 112 B 80 C 50 8 450 D Y (รายได้ประชาชาติ) Y1=500 Xn=50-0.1Y
12
แทรก AD , X-M Y= AD M=60+0.1Y A Xa=110 X=110 Ma=60 (Xa-Ma) =50 450
Xn>0 (X>M) Y1 Xn =50-0.1Y (การส่งออกสุทธิ) Xn<0 (X<M) Xn=0 (X=M)
13
แนวโน้มของรายได้และการว่าจ้างทำงาน
การหารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีรัฐบาลจากตาราง Y C= Y I=300 S= Y AD=C+I แนวโน้มของรายได้และการว่าจ้างทำงาน 100 300 -100 400 ขยายตัว overspending < 0 340 60 640 500 700 1,000* ดุลยภาพ* = 0 2,00 1,300 1,600 หดตัว underspending > 0
14
การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพในเชิงคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี
การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพในเชิงคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี 1.Income-Expenditure Approach รายได้ประชาชาติ=ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม 2.Withdrawal-Injection Approach การรั่วไหล=การอัดฉีด 1.ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีรัฐบาล Y = C + I S = I 2.ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y = C + I +G S + T = I + G 3.ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C + I + G + X - M S + T + M = I + G + X
15
ตัวอย่างการคำนวณหารายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ตัวอย่างที่ 1 จงหารายได้ประชาชาติ เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=Ca+bY (เมื่อ b = MPC) I = Ia Sol. แทนค่า C และ I ในสมการรายได้ประชาชาติ ได้ Y = Ca+bY + Ia Y - bY = Ca + Ia (1-b) Y = Ca + Ia Y = ( Ca + Ia ) #
16
ตัวอย่างที่ 2 จงหารายได้ประชาชาติ เมื่อกำหนดให้
Y = C + I C= Y I = 300 Sol. แทนค่า C และ I ในสมการรายได้ประชาชาติ ได้ Y = Y+300 Y = Y Y-0.6Y = 400 (1-0.6)Y = 400 0.4 Y = 400 Y = = 1,000 # (หรือ จากสมการรายได้ประชาชาติดุลยภาพในตัวอย่างที่ 1 เราก็แทนค่าลงไปซึ่งจะได้ดังนี้ Y = ( ) Y = (2.5)(400) = 1,000 #)
17
ตัวคูณ (Multipliers)
18
ตัวคูณ (Multiplier) คือ ตัวเลขที่จะบอกขนาดของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ดุลยภาพเมื่อเส้นความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงไป หรืออีกนัยหนึ่ง ตัวคูณก็คือ อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงในรายได้ดุลยภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงที่ทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลง ถ้าหากเราให้ k = ค่า multiplier = ส่วนเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายมวลรวม = ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ จะได้ว่า หรือ
19
ค่าตัวคูณของการบริโภค(C) kC = ค่าตัวคูณของการลงทุน(I) kI = ค่าตัวคูณของการใช้จ่ายของรัฐบาล(G) kG = ค่าตัวคูณของการส่งออก(X) kX = ค่าตัวคูณของการนำเข้า(M) kM = ตัวคูณแต่ละตัวจะมีผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน ทั้งทิศทางการเปลี่ยนแปลงและขนาดการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อสมมติของแบบจำลองของตัวแปรที่กำหนดให้ โดยการเปลี่ยนแปลงของตัวรั่วในระบบเศรษฐกิจจะทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม ส่วนตัวอัดฉีดหรือตัวกระตุ้นจะมีผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
20
ที่มาของตัวคูณหรือรากฐานของตัวคูณ มีดังนี้คือ
ที่มาของตัวคูณหรือรากฐานของตัวคูณ มีดังนี้คือ ค่าใช้จ่ายของบุคคลหนึ่งจะเป็นเงินรายรับของอีกบุคคลหนึ่ง ผู้รับก็มีรายได้มากขึ้น ซึ่งบางส่วนของรายได้ที่มากขึ้นก็จะถูกออมไว้ (ตามค่า MPS) และบางส่วนก็จะถูกใช้ต่อไป (ตามค่า MPC) ซึ่งจะกลายเป็นรายรับหรือเงินได้ของบุคคลอื่นในรอบต่อไปเช่นกัน เมื่อบุคคลในรอบต่อไปมีรายได้เพิ่มขึ้น บางส่วนของรายได้ก็จะถูกออมไว้ และบางส่วนของรายได้ก็จะถูกใช้จ่ายไปอีก เป็นเช่นนี้เรื่อยๆไป ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่า รายได้ประชาชาติก็จะต้องเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในขณะที่เงินถูกเปลี่ยนมือไปเรื่อยๆนั่นเอง แต่ขนาดของรายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบต่อๆไปจะลดขนาดลง ในที่สุดผลรวมของรายได้ที่เกิดขึ้นทุกๆรอบจะถูกสะสมเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ คือ เป็นหลายเท่าของการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในตอนแรก ส่วนจะเป็นกี่เท่าขึ้นอยู่กับค่าของตัวคูณ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมีการใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุนครั้งแรกเพิ่มขึ้น = สมมติค่า MPC = b (ของทุกคนในระบบเศรษฐกิจมีค่าเท่ากัน)
21
การบริโภคที่เพิ่มขึ้น(MPC=0.8) การออมที่เพิ่มขึ้น(MPS=0.2)
รอบการใช้จ่าย เงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น( ) รายได้ที่เพิ่มขึ้น( ) การบริโภคที่เพิ่มขึ้น(MPC=0.8) การออมที่เพิ่มขึ้น(MPS=0.2) 1 1,000,000 800,000 200,000 2 640,000 160,000 3 512,000 128,000 . ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 5,000,000 4,000,000
22
การใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลง ( ) รายได้ส่วนที่เปลี่ยนแปลง ( )
รอบการใช้จ่าย การใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลง ( ) รายได้ส่วนที่เปลี่ยนแปลง ( ) 1 2 3 . n n+1
23
รายได้ทั้งหมดที่เพิ่มขึ้น :
= b b bn bn = (1 + b + b bn-1 + bn) (1) เอา b คูณสมการที่ (1) ตลอดจะได้ b = (1 + b + b bn-1 + bn)b b = ( b + b2 + b bn + bn+1) (2) เอาสมการ (1) – (2) จะได้ - b = (1 - bn+1) เมื่อ n เข้าใกล้ (อินฟินิตี้) ค่า bn+1 จะเท่ากับศูนย์(0) เพราะฉะนั้นจะได้ - b = (1- b) = (ตัวคูณการลงทุน)
24
ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบอิสระ จงหาตัวคูณของการบริโภคและการลงทุน เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=Ca+bY I = Ia Sol.
25
ตัวอย่างที่ 4 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบอิสระ จงหาตัวคูณของการบริโภคและการลงทุน เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=Ca+bY I = Ia C= Y I = 300 Sol.
26
ตัวอย่างที่ 5 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบจูงใจ จงหาตัวคูณของการบริโภคและการลงทุน เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=Ca+bY I = Ia + iY (เมื่อ i = MPI) Sol.
27
ตัวอย่างที่ 6 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบจูงใจ จงหาตัวคูณของการบริโภคและการลงทุน เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C= Y (เมื่อ 0.7 = b =MPC) I = Y (เมื่อ 0.1 = i = MPI) Sol.
28
จากตัวอย่างที่6 คำถาม - ถ้าการบริโภคเพิ่มขึ้น 5 หมื่นล้านบาท จะทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด? (+250,000ล้านบาท) - ถ้าการลงทุนลดลง 2 หมื่นล้านบาท จะทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด? (-100,000 ล้านบาท) - ถ้าหากเหตุการณ์ทั้ง 2 อย่างเกิดขึ้นพร้อมกันจะทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด? (+150,000ล้านบาท) Sol.
29
ตัวอย่างที่ 7 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและมีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบจูงใจ จงหาตัวคูณของการบริโภค ตัวคูณการลงทุน ตัวคูณการใช้จ่ายของรัฐบาล และตัวคูณภาษี เมื่อกำหนดให้ Y = C + I Yd = Y - T C=Ca+bYd G = Ga I = Ia + iY (เมื่อ i = MPI) T = Ta Sol.
30
ตัวอย่างที่ 8 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและมีภาครัฐบาล การลงทุนเป็นแบบจูงใจ และภาษีขึ้นอยู่กับรายได้(ไม่มีเงินโอน) จงหาตัวคูณของการบริโภค ตัวคูณการลงทุน ตัวคูณการใช้จ่ายของรัฐบาล และตัวคูณภาษี เมื่อกำหนดให้ Y = C + I Yd = Y - T C=Ca+bYd G = Ga I = Ia + iY (เมื่อ i = MPI) T = Ta + tY Sol.
31
ดุลยภาพของตลาดผลผลิต
32
ดุลยภาพในตลาดผลผลิต (Production Market Equilibrium: The IS Curve)
เงื่อนไขสำหรับดุลยภาพในตลาดผลผลิต คือ ระดับรายได้ประชาชาติ เท่ากับ อุปสงค์รวมในระบบเศรษฐกิจซึ่งประกอบด้วย การบริโภค การลงทุน การใช้จ่ายของรัฐบาล (ระบบเศรษฐกิจแบบปิด และมีภาครัฐบาล) Y = C + I + G ในขณะที่ในด้านรายได้นั้นรายได้ประชาชาติ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นรายได้ที่นำไปบริโภค เก็บออม และจ่ายภาษี (เป็นการพิจารณาด้านอุปทาน) ดังนี้ Y = C + S + T ดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจจะเกิดขึ้นเมื่อ อุปสงค์รวมในระบบเศรษฐกิจ เท่ากับ อุปทานรวมในระบบเศรษฐกิจ ดังนี้ C + I + G = C + S + T I + G = S + T เส้นดุลยภาพในตลาดผลผลิต ซึ่งเรียกว่าเส้น IS จะสร้างจากเงื่อนไข I + G = S + T เราจะสามารถหาเส้น IS ซึ่งเป็นเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ย(R)และรายได้(Y)ต่าง ๆ กันที่ทำให้เกิดดุลยภาพในตลาดผลผลิต
33
การวิเคราะห์ดุลยภาพในตลาดผลผลิต โดยกราฟ
34
1.ดุลยภาพในตลาดผลผลิต ระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีภาครัฐบาล
รูป (ก) ฟังก์ชันการลงทุน รูป (ง) เส้น IS r r r0 A/ r0 A B/ r1 r1 B IS I=I(r) I Y I0 I1 Y0 Y1 S S=I S S=S(Y) S1 S1 B/ B/ S0 S0 A/ A/ 450 I Y I0 I1 Y0 Y1 รูป (ข) การลงทุนเท่ากับการออม รูป (ค) ฟังก์ชันการออม
35
2.ดุลยภาพในตลาดผลผลิต ระบบเศรษฐกิจแบบปิดมีภาครัฐบาล
รูป (ก) ฟังก์ชัน I , G , X รูป (ง) เส้น IS r r r0 A/ r0 A B/ r1 r1 B I(r)+G IS I+G Y I1 Y0 Y1 S(Y)+T(Y) S+T=I+G S(Y)+T(Y) S(Y)+T(Y) (S+T)1 (S+T)1 B/ B/ (S+T)0 (S+T)0 A/ A/ 450 I+G Y (I+G)0 (I+G)1 Y0 Y1 รูป (ข) S+T=I+G รูป (ค) ฟังก์ชัน S , T
36
3. ดุลยภาพในตลาดผลผลิต ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
รูป (ก) ฟังก์ชัน I , G , X รูป (ง) เส้น IS r r r0 A/ r0 A B/ r1 r1 B I(r)+G+X IS I+G+X Y I1 Y0 Y1 S(Y)+T(Y)+M(Y) S+T+M=I+G+X S(Y)+T(Y)+M(Y) (S+T+M)1 (S+T+M)1 B/ B/ (S+T+M)0 (S+T+M)0 A/ A/ 450 I+G+X Y (I+G+X)0 (I+G+X)1 Y0 Y1 รูป (ข) S+T+M=I+G+X รูป (ค) ฟังก์ชัน S , T , M
37
การหาดุลยภาพของตลาดผลผลิต โดยเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ (สมการเส้น IS)
38
กรณีที่1 ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล
กรณีที่1 ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล เงื่อนไขดุลยภาพ Y = C + I C=C0+bY (เมื่อ b = MPC) I = I0 – i1r แทนค่าตัวแปร C และ I ในเงื่อนไขดุลยภาพ จะได้ Y = C0 + bY + I0 – i1r Y – bY = C0 + I0 – i1r (1– b )Y = C0 + I0 – i1r Y = สมการเส้น IS หรือ Y =
39
จากสมการที่ได้ ค่าตัวคูณของการบริโภค การลงทุน เท่ากับเท่าใด
จากสมการที่ได้ ค่าตัวคูณของการบริโภค การลงทุน เท่ากับเท่าใด ค่าตัวคูณของการบริโภค(C) kC = ค่าตัวคูณของการลงทุน(I) kI =
40
อย่างไรก็ตาม เส้น IS ที่เราสร้างได้แกนตั้งเป็นอัตราดอกเบี้ย และแกนนอนเป็นระดับรายได้ ดังนั้นเรากลับสมการเส้น IS ใหม่ จะได้ r = r = สมการเส้น IS หรือสมการดุลยภาพในตลาดผลผลิต r Slope= ระยะตัดแกน IS Curve r = Y
41
กรณีที่2 ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและมีภาครัฐบาล
เงื่อนไขดุลยภาพ Y = C + I + G C=C0+bYd Yd = Y - T I = I0 – i1r T = T0 + t Y G = G0 แทนค่าตัวแปร C , I และ G ในเงื่อนไขดุลยภาพ จะได้ Y = C0 + bY - bT0 - btY + I0 – i1r + G0 Y – bY + btY = C0 - bT0 + I0 – i1r + G0 (1– b + bt)Y = C0 - bT0 + I0 – i1r + G0 Y = สมการเส้น IS หรือ Y =
42
จากสมการที่ได้ ค่าตัวคูณของการบริโภค การลงทุน การใช้จ่ายรัฐบาล ภาษี เท่ากับเท่าใด
ค่าตัวคูณของการบริโภค(C) kC = ค่าตัวคูณของการลงทุน(I) kI = ค่าตัวคูณของการใช้จ่ายของรัฐบาล(G) kG = ค่าตัวคูณของภาษี(T) kT =
44
กรณีที่3 ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบเปิด
กรณีที่3 ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบเปิด เงื่อนไขดุลยภาพ Y = C + I + G + X – M C=C0 +bYd Yd = Y – T I = I0 – i1 r T = T0 + t Y G = G0 X = X0 M = M0 + mY แทนค่า Y = C0 + bY - bT0 - btY + I0 – i1r + G0 + X0 – M0 - mY Y – bY + btY + mY = C0 - bT0 + I0 – i1r + G0 + X0 – M0 (1– b + bt + m)Y = C0 - bT0 + I0 – i1r + G0 + X0 – M0 Y = สมการเส้น IS หรือ Y = จะเห็นได้ว่า อัตราดอกเบี้ยและระดับรายได้มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกัน(เป็นลบ)
45
จากสมการที่ได้ ค่าตัวคูณของการบริโภค ภาษี การลงทุน การใช้จ่ายรัฐบาล การส่งออก และการนำเข้า เท่ากับเท่าใด ค่าตัวคูณของการบริโภค(C) kC = ค่าตัวคูณของการลงทุน(I) kI = ค่าตัวคูณของการใช้จ่ายของรัฐบาล(G) kG = ค่าตัวคูณของภาษี(T) kT = ค่าตัวคูณของการส่งออก(X) kX = ค่าตัวคูณของการนำเข้า(M) kM =
46
ความไม่สมดุลของตลาดผลผลิต
(I+G+X)>(S+T+M) AD > AS r (อัตราดอกเบี้ย) (I+G+X)=(S+T+M) AD = AS A0 A1 A2 r0 (I+G+X)<(S+T+M) AD < AS IS Y(รายได้) Y1 Y0 Y2 ขยายการผลิต ลดการผลิต
47
การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพในตลาดผลผลิต (เส้น IS)
48
1. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันการลงทุน (เมื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น)
1. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันการลงทุน (เมื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น) รูป (ก) ฟังก์ชันการลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล รูป (ง) เส้น IS I0 (S+T)1/ (S+T)1 (S+T)0 Y1/ Y1 Y0 (I+G)1/ (I+G)1 (I+G)0 r1 r0 D/ D C C/ IS/ I(r)/+G I(r)+G B/ A/ IS B A 450 r Y I+G S+T G (S+T)=(I+G) รูป (ข) การลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล เท่ากับ การออมและภาษี รูป (ค) ฟังก์ชันการออมและภาษี
49
2. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันรายจ่ายของรัฐบาล (เมื่อรายจ่ายเพิ่มขึ้น)
รูป (ก) ฟังก์ชันการลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล รูป (ง) เส้น IS r r C/ A C A/ r0 r0 B/ D/ B D r1 r1 I(r)+G/ I(r)+G IS/ G G IS I+G Y (I+G)0 (I+G)1 (I+G)1/ Y0 Y1 Y1/ S+T S+T D/ (S+T)=(I+G) D/ (S+T)1/ (S+T)1/ B/ B/ (S+T)1 (S+T)1 A/ A/ (S+T)0 (S+T)0 450 I+G Y (I+G)0 (I+G)1 (I+G)1/ Y0 Y1 Y1/ รูป (ข) การลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล เท่ากับ การออมและภาษี รูป (ค) ฟังก์ชันการออมและภาษี
50
3. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันการออม (เมื่อการออมเพิ่มขึ้น)
รูป (ก) ฟังก์ชันการลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล รูป (ง) เส้น IS r r A/ C A r0 r0 B/ D B r1 r1 IS I(r)+G G IS/ I+G Y (I+G)0 (I+G)1 Y1/ Y0 Y1 S(Y)/+T) S+T S+T (S+T)=(I+G) E S(Y)+T) S B/ D/ (S+T)1 (S+T)1 B/ A/ C/ (S+T)0 (S+T)0 A/ 450 I+G Y (I+G)0 (I+G)1 Y1/ Y0 Y1 รูป (ข) การลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล เท่ากับ การออมและภาษี รูป (ค) ฟังก์ชันการออมและภาษี
51
4. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันรายรับจากภาษี (เมื่อภาษีเพิ่มขึ้น)
4. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันรายรับจากภาษี (เมื่อภาษีเพิ่มขึ้น) รูป (ก) ฟังก์ชันการลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล รูป (ง) เส้น IS r r A/ C A r0 r0 B/ D B r1 r1 IS G I(r)+G IS/ I+G Y (I+G)0 (I+G)1 Y1/ Y0 Y1 S(Y)+T(Y)/ S+T S+T (S+T)=(I+G) E S(Y)+T(Y) T B/ D/ (S+T)1 (S+T)1 B/ A/ C/ (S+T)0 (S+T)0 A/ 450 I+G Y (I+G)0 (I+G)1 Y1/ Y0 Y1 รูป (ข) การลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาล เท่ากับ การออมและภาษี รูป (ค) ฟังก์ชันการออมและภาษี
52
5. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันการส่งออก (เมื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น) (ลองทำดู)
53
6. ผลของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันการนำเข้า (เมื่อการนำเข้าเพิ่มขึ้น) (ลองทำดู)
54
วิเคราะห์ข่าว คาดจีดีพีไตรมาส3 โต5-5.5%
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) คาดเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 3 ยังมีแนวโน้มขยายตัวในอัตราที่สูงต่อเนื่องจากในครึ่งแรกของปี โดยมีปัจจัยขับเคลื่อนหลักมาจากภาคต่างประเทศและการใช้จ่ายของรัฐบาล เนื่องจากการส่งออกที่ยังเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับภาครัฐบาลมีการเร่งการใช้จ่ายมากขึ้น นอกจากนั้น จากเครื่องชี้รายเดือนของธนาคารแห่งประเทศไทยยังแสดงให้เห็นว่าการใช้จ่ายของภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้น ทำให้อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 3 น่าจะขยายตัวได้สูงถึงประมาณ % อุปสงค์จากต่างประเทศยังคงเป็นปัจจัยขับเคลื่อนหลักของของเศรษฐกิจไทยต่อเนื่องจากในช่วงครึ่งแรกของปี โดยหากพิจารณาในด้านมูลค่า จะเห็นว่าการส่งออกยังขยายตัวได้อย่างแข็งแกร่งถึง 16.3% ซึ่งดีขึ้นจาก 16% ในไตรมาสก่อน ทำให้ดุลการค้าเกินดุลถึง 1.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ดีขึ้นมาก
55
จากที่ขาดดุล 1. 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในไตรมาสก่อน
จากที่ขาดดุล 1.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในไตรมาสก่อน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าภาพทางด้านมูลค่าอาจจะยังดูดีมาก แต่หากพิจารณาในด้านปริมาณ จะเริ่มเห็นถึงอาการอ่อนแรงของภาคการส่งออก เนื่องจากปริมาณการส่งออกที่ขยายตัวได้เพียง 4.9% ชะลอลงมากจากที่ขยายตัวเกิน 10% ในไตรมาสก่อน ในขณะที่การนำเข้ากลับมาขยายตัวได้ 3.7% จากที่หดตัวติดต่อกันสองไตรมาส เป็นการชี้ให้เห็นว่าถึงแม้การส่งออกจะยังเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจ แต่ไม่ควรชะล่าใจเนื่องจากพลังในการขับเคลื่อนเริ่มอ่อนแรงลง อุปสงค์จากต่างประเทศที่อ่อนแรงลงในช่วงไตรมาสที่ 3 ได้รับการชดเชยจากการใช้จ่ายของภาครัฐที่เข้ามามีบทบาทสนับสนุนการขยายตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลมีการเร่งเบิกจ่ายเงินงบประมาณกันเป็นพิเศษ
56
ผลคือทำให้การใช้จ่ายของรัฐบาลขยายตัวสูงถึงกว่า 15% และทำให้อัตราการเบิกจ่ายตลอดทั้งปีงบประมาณ 2549 สูงเกินเป้าหมายที่ 93.5% ของวงเงินงบประมาณ (เป้าหมายอยู่ที่ 93%) การใช้จ่ายของภาครัฐจึงเป็นแรงขับเคลื่อนการขยายตัวของเศรษฐกิจที่สำคัญในช่วงไตรมาสที่ 3 สำหรับการใช้จ่ายของภาคเอกชนภายในประเทศปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยในช่วงไตรมาสที่ 3 ที่ผ่านมา หลังจากที่ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ครึ่งหลังของปีก่อน จากผลของราคาน้ำมันและอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง และปัจจัยทางการเมืองที่ในขณะนั้นยังมีความไม่แน่นอน สะท้อนให้เห็นว่าถึงแม้อุปสงค์ของภาคเอกชนจะปรับตัวดีขึ้นมาบ้างในไตรมาสที่ 3 แต่ยังไม่ได้อยู่ในภาวะที่แข็งแกร่ง และยังเป็นไปได้ที่อาจจะกลับไปชะลอตัวลงอีกหากถูกกระทบจากปัจจัยที่ไม่คาดฝัน เช่น ราคาน้ำมันกลับมาเพิ่มขึ้นอย่างรุนแรง ค่าเงินบาทที่ผันผวน หรือการเคลื่อนไหวทางการเมืองในทางที่อาจทำให้ผู้บริโภคและนักลงทุนเกิดความไม่มั่นใจ เป็นต้น
57
จากข่าวข้างต้น ให้วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบรายได้ประชาชาติและดุลยภาพตลาดผลผลิต พร้อมบอกด้วยว่าระดับรายได้และอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร อธิบายพร้อมวาดรูปกราฟประกอบการอธิบายด้วย (ส่วนการวิเคราะห์)
58
(ส่วนการวิเคราะห์) (ต่อ)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.