ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
กรอบนโยบาย การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ของประเทศไทย (พ.ศ – 2554) โดย ศ. ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ วันที่ 5 กรกฏาคม 2547
2
เส้นทางเวลาของการจัดทำกรอบนโยบาย การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย ๒๕๔๗-๒๕๕๔
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ (๔๕-๔๙) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (๕๐-๕๔) ปัจจุบัน ปี พ.ศ. ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ กรอบนโยบาย(แผนที่นำทาง) การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย ๒๕๔๗-๒๕๕๔ Thailand Biotechnology Policy (Road Map) แผนกลยุทธ์ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (๒๕๔๕-๒๕๔๙)
3
คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อ วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๖
ลำดับเหตุการณ์สำคัญของกระบวนการจัดทำ กรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพประเทศไทย (๒๕๔๗-๒๕๕๔) คณะรัฐมนตรี ลำดับขั้นตอนการทำงาน เม.ย ๔๖ คณะผู้เชี่ยวชาญศึกษา สถานภาพและมองอนาคต มีมติเมื่อ วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๖ พ.ค.- มิ.ย. ๔๖ ร่วมจัดทำภาพฉายอนาคต แต่งตั้ง “คณะกรรมการนโยบาย เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ” นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นเลขานุการ ก.ค. ๔๖ จัดประชาศึกษาในวงกว้าง ธ.ค. ๔๖ เสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ จัดทำ “กรอบนโยบายการพัฒนา เทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย” ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ เป็นประธาน หัวหน้าคณะทำงาน ๕ สาขา ดร. สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ดร. มาลี สุวรรณอัตถ์ ดร. บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร ดร. พิเชฐ อิฐกอ มี.ค. ๔๗ เสนอต่อคณะรัฐมนตรี
4
กรอบนโยบายการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Core Technologies Infrastructures & Institutions Education & Human resource Public Awareness & Support Biotechnology ICT Materials and Nanotechnology Economic Goals Society Goals R&D, Acquisition of Skill, Technology and Knowledge Stock National Agendas/Visions 2 1 3 4 5 Supply Demand
5
เป้าหมาย เศรษฐกิจ... ...สังคม/สิ่งแวดล้อม วิสัยทัศน์
วาระแห่งชาติหลักที่เป็นนโยบายรัฐบาล ได้แก่ 1. ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2. ความยากจนและ การกระจายรายได้ 3. การพัฒนา ทุนทางสังคม 4. ระบบเศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกิจ... ...สังคม/สิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 1.ธุรกิจใหม่ เกิดบริษัทธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่ไม่น้อยกว่า 100 บริษัท 2. ครัวของโลก ขยายมูลค่าการส่งออกอาหารเพิ่มเป็น 1.2 ล้านล้านบาทในปี 2554 3. ศูนย์สุขภาพ มีสังคมที่มี สุขภาพดี/เป็นศูนย์กลางสุขภาพแห่งเอเชีย 4.สิ่งแวดล้อม/ พลังงานสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม และผลิตพลังงานสะอาด 5.เศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์และเพิ่มมูลค่าทรัพยากรท้องถิ่น 6. กำลังคนที่มี คุณภาพ สร้างนักวิจัยอาชีพและผู้ประกอบการธุรกิจไม่ต่ำกว่า 5,000 คน เงื่อนไขเทคโนโลยี การสร้าง ดูดซับ และถ่ายทอดเทคโนโลยี ชีวสารสนเทศศาสตร์ วิทยาการจีโนม ดีเอ็นเอชิป โปรตีโอมิกส์ พันธุวิศวกรรม นาโนไบโอเทคโนโลยี ดีเอ็นเอเทคโนโลยี เงื่อนไขสนับสนุน โครงสร้างพื้นฐาน กำลังคนและการศึกษา การบริหารจัดการ มีสภาวะที่ดึงดูดการลงทุนและดึงดูดการทำวิจัย เช่น อุทยานเทคโนโลยีชีวภาพ (ดูเป้าหมาย 6.) สร้างบุคลากรวิจัยอาชีพและผู้ประกอบธุรกิจเทคโน โลยีชีวภาพไม่ต่ำกว่า 5,000 คน บริหารทรัพย์สินทางปัญญา การเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพ ชีวจริยธรรม ความเข้าใจสาธารณะ ความปลอดภัยทางชีวภาพ
6
ผลกระทบ เป้าหมาย กลยุทธ์ 1. ธุรกิจใหม่ 2. ครัวของโลก 3. ศูนย์สุขภาพ
บริษัทเกิดใหม่ 100 บริษัท มีรายได้รวม 30,000 ล้านบาท มีการลงทุน R&D ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาท ช่วยการส่งออกสินค้าอาหารเป็นมูลค่า 1.2 ล้านล้านบาท (10%ของมูลค่าส่งออกรวม) รักษาระดับการจ้างงานขั้นต่ำ 600,000 คน ปี 2554 ลดการ นำเข้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ 15,500 ล้านบาท ลดความเสียหายจากโรคสำคัญ 32,000 ล้านบาท ปี ประหยัดพลังงาน 22,000 ล้านบาท/ปี ลดมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม รายได้ชุมชนเพิ่ม5,000 ล้านบาท/ปี จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสนับสนุน OTOP สร้างนักวิจัยปริญญาไม่น้อยกว่า 10,000 คน/ปี มีการรวมกลุ่มนักวิจัยไม่ต่ำกว่า 5,000 คน เพื่อวิจัยในคลัสเตอร์ ที่สำคัญ ผลกระทบ 1. ธุรกิจใหม่ 2. ครัวของโลก 3. ศูนย์สุขภาพ 4.สิ่งแวดล้อม/พลังงานสะอาด 5. เศรษฐกิจ พอเพียง 6. กำลังคนที่มีคุณภาพ เป้าหมาย ลงทุนวิจัยและพัฒนาโรคเขตร้อน และโรคทาง พันธุกรรม พัฒนาผลิตภัณฑ์ สุขภาพมูลค่าสูง ร่วมระดมทุนวิจัย โรคเขตร้อน ใช้นโยบายต่างประเทศกระตุ้น การผลิต ตั้งเป้าหมายร่วมระหว่าง 4 กระทรวงหลัก ปรับปรุงกฎหมายให้เอื้อต่อการลงทุนบำบัดของเสีย มาตรการจูงใจภาคเอกชน ลงทุนเปลี่ยนของเสียเป็น พลังงาน นโยบายการคิดผลตอบแทน ด้านสิ่งแวดล้อมคู่ไปกับด้าน เศรษฐกิจ เพิ่มคุณภาพนวัตกรรมและความปลอดภัย สินค้าชุมชน จัดทำข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น พัฒนา/เร่งรัดให้เกิดวิสาหกิจชุมชน พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรม ชาติให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชน ทำเนียบนักวิจัย อุทยานเทคโนโลยีชีวภาพ ใช้กลยุทธ์สามเส้า สร้างผู้ประกอบการเทคโนโลยีชีวภาพ อุทยานเทคโนโลยี ชีวภาพ นโยบายชัดเจนใน ประเด็นที่ขัดแย้ง สนับสนุนการลงทุน สร้างกลุ่มเทคโนโลยี ชีวภาพในตลาดหลัก ทรัพย์ จัดทำคลัสเตอร์ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว จัดระบบสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย รับรองคุณภาพความปลอดภัย จัดทำข้อมูลประเมิน ความเสี่ยงอาหารส่งออก ใช้ข้อมูลเพื่อวางนโยบายและ ต่อรองทางการค้า กลยุทธ์
7
ที่ควรดำเนินการทันที
เป้าหมายที่ 1. ธุรกิจใหม่ “มีการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาทางเทคโนโลยีชีวภาพไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทต่อปี” บริษัทธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่ ไม่น้อยกว่า 100 บริษัท ธุรกิจผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ธุรกิจบริการการตรวจระดับโมเลกุล การร่วมลงทุนธุรกิจเทคโนโลยีชีวภาพ ลงทุนวิจัยและพัฒนาในธุรกิจ ฐานความรู้ กลยุทธ์ มาตรการ ที่ควรดำเนินการทันที ใช้ความร่วมมือ ระหว่างประเทศ (AEC และ AED) จัดทำคลัสเตอร์ โดยใช้เกณฑ์ ทักษะ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมสนับสนุน venture capital ออกมาตรการด้าน ภาษีและสิทธิพิเศษ อุทยานเทคโนโลยี ชีวภาพ มีนโยบายชัดเจนใน ประเด็นที่ขัดแย้ง ใช้คลัสเตอร์สนับสนุน การลงทุน/สิทธิพิเศษ ทางภาษี สร้างกลุ่มเทคโนโลยี ชีวภาพในตลาด หลักทรัพย์
8
หุ้นส่วนธุรกิจ ชีวภาพกับ
มีบริษัท เทคโนโลยี ชีวภาพใหม่ 100 แห่ง มีบริษัท เทคโนโลยี ชีวภาพใหม่ 20 แห่ง นโยบายต่างประเทศขยายตลาดประเทศเพื่อนบ้าน เริ่มมีการลงทุน วิจัยและพัฒนา จากต่างประเทศ บริษัทขนาด กลางและเล็ก เข้มแข็ง เชื่อมโยง กับบริษัท ขนาดใหญ่ อุทยานเทคโนโลยีชีวภาพ ธุรกิจ ชีวภาพ ใหม่ เกิดและ พัฒนา มีอุทยาน เทคโนโลยี ชีวภาพใน ภูมิภาค เกิดบริษัทร่วมทุน เทคโนโลยี ชีวภาพ 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 “เป้าหมายรายทางที่ 1 ธุรกิจชีวภาพใหม่เกิดและพัฒนา” มีกลุ่ม เทคโนโลยี ชีวภาพ ในตลาดหุ้น มีการลงทุนวิจัย และพัฒนา เป็นมูลค่า ไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาท รัฐสนับสนุนการลงทุนเทคโนโลยีชีวภาพ มาตรการด้านภาษีและสิทธิพิเศษอื่นๆ หุ้นส่วนธุรกิจ ชีวภาพกับ เพื่อนบ้าน ธุรกิจบริการเทคโนโลยีชีวภาพ แข็งแกร่ง
9
ที่ควรดำเนินการทันที
เป้าหมายที่ 2. ครัวของโลก กลยุทธ์ มาตรการ ที่ควรดำเนินการทันที “ใช้เทคโนโลยีชีวภาพช่วยให้ไทยเป็นครัวของโลก” ขยายมูลค่าการส่งออก สินค้าอาหารเป็น 1.2 ล้านล้านบาท เพิ่มการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูปให้มากขึ้นให้เป็น ใน 5 ของโลก จัดทำคลัสเตอร์ผลิตภัณฑ์ มูลค่าสูง ปรับปรุงและพัฒนา เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว จัดระบบสนับสนุนการตรวจ วินิจฉัยรับรองคุณภาพความ ปลอดภัยของอาหารและ ผลิตผลเกษตร จ้ดทำข้อมูลเพื่อการประเมิน ความเสี่ยงของอาหารและ ผลิตผลเกษตรส่งออก ใช้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เพื่อวางนโยบายและต่อรอง ทางการค้า กำหนดเจ้าภาพแกนนำ สร้างความสามารถ การตรวจสอบรับรอง คุณภาพความปลอด ภัย จัดเตรียมข้อมูลด้าน เทคนิคของอาหาร และผลิตผลเกษตรส่ง ออก พัฒนานโยบายด้าน จีเอ็มโอให้ชัดเจน
10
“เป้าหมายรายทางที่ 2 ครัวของโลก”
ส่งออก สินค้า เกษตร แปรรูป อันดับ 1 ใน 5 ของโลก กลไก ความ ร่วมมือระหว่าง หน่วยงาน ต่างสังกัด ใช้พ่อแม่ พันธุ์กุ้ง จากการ เพาะเลี้ยง ธุรกิจตรวจสอบอาหาร/ เมล็ดพันธุ์ เพื่อส่งออก มูลค่าส่งออก ผลไม้ไทย เพิ่มเป็น 53,000 ล้านบาท เทคโนโลยีดีเอ็นเอ ปรับปรุงพันธุ์ การวิจัยทางการเกษตรเกี่ยวข้องกับ เทคโน โลยี ชีวภาพมากขึ้น มีความ สามารถ ประเมิน ความเสี่ยง ด้าน อาหาร ผลิตภัณฑ์ ปศุสัตว์ไทย ได้รับการ ยอมรับเชิง คุณภาพ เปลี่ยนจากการรับจ้างผลิตเมล็ดพันธุ์เป็นผู้พัฒนาเมล็ดพันธุ์และส่งออก มีหน่วยงาน ดูแลข้อมูล เพื่อการ ตัดสินใจ ต่อรอง ทางการค้า มูลค่าส่งออก อาหาร 1.2 ล้านล้านบาท 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 “เป้าหมายรายทางที่ 2 ครัวของโลก” เกิดคลัสเตอร์ข้าว มันสำปะหลัง ตั้งสถาบัน วิจัยอาหาร ไทยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานสินค้าส่งออก เช่น กุ้ง ผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำชนิด ใหม่เพิ่มจากกุ้ง มีเจ้าภาพ คลัสเตอร์กุ้งชัดเจน สารชีวภาพ ปราบศัตรูพืช 25% มีเครือข่ายฐานข้อมูลอาหารและความปลอดภัย มีกลไก บริหาร ความ ปลอดภัย ทางอาหาร และการ ตรวจสอบ เทคโนโลยี ชีวภาพ ช่วยให้ประเทศไทยเป็นครัว ของโลก พัฒนาเทคโนโลยี หลังการเก็บเกี่ยว/ บรรจุภัณฑ์เพื่อ ขยายตลาดผลไม้/ผัก มีนโยบาย GMOs ที่ชัดเจน
11
“ประเทศไทยมีสังคมที่มี สุขภาพดี และเป็นศูนย์กลาง ที่ควรดำเนินการทันที
เป้าหมายที่ 3. ศูนย์สุขภาพ “ประเทศไทยมีสังคมที่มี สุขภาพดี และเป็นศูนย์กลาง สุขภาพแห่งเอเชีย” ยกระดับคุณภาพชีวิตและ สุขภาพของประชาชนไทย ประเทศไทยเป็น “ศูนย์กลาง ธุรกิจสุขภาพแห่งเอเชีย” กลยุทธ์ มาตรการ ที่ควรดำเนินการทันที ลงทุนวิจัยและพัฒนา โรคเขตร้อนและโรคทาง พันธุกรรม พัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ มูลค่าสูง ร่วมระดมทุนวิจัย โรคเขตร้อน ใช้นโยบายต่างประเทศ กระตุ้นการผลิต ตั้งบริษัทชุดตรวจและ บริการตรวจพันธุกรรม พัฒนาเครื่องมือตรวจวัด ที่ใช้งานง่าย ตั้งคณะทำงานพิจารณา ด้านจริยธรรมและ กฎหมาย ผลิตสารวินิจฉัยและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มี ข้อมูลทางคลีนิก จัดตั้งโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการลงทุน ทางด้านชีววิทยาศาสตร์
12
การลงทุน ด้านจีโนม และชีวสารสนเทศ ศาสตร์ ขยายการผลิต เวชภัณฑ์ เชื่อมโยง ตลาด เพื่อนบ้าน มีธุรกิจ ตรวจสอบ พันธุกรรม ขนาดกลาง และขนาดย่อม ผลิต วัคซีนที่ ได้มาตรฐาน สำหรับ โรคที่สำคัญ สังคมที่มี สุขภาพดี และเป็นศูนย์ กลาง สุขภาพแห่ง เอเชีย ศูนย์กลาง สุขภาพ แห่งเอเชีย มีธุรกิจ ตรวจสอบ ครอบคลุม ตลาด เพื่อนบ้าน ผลิตภัณฑ์ จากสมุนไพรเพื่อส่งออก “เป้าหมายรายทางที่ 3 ประเทศไทยมีสังคมที่มีสุขภาพดีและเป็นศูนย์กลางสุขภาพแห่งเอเชีย” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 ผลิตยา ต้นแบบ ชนิดใหม่ สำหรับ โรค เขตร้อน เครื่องมือ ตรวจวัด ที่ใช้งานง่าย ศูนย์กลางลงทุนวิจัยและพัฒนาโรค เขตร้อน ผลผลิตของ เทคโนโลยี ชีวภาพไทย เป็นสัดส่วน สำคัญของ บริการสุขภาพ ดีถ้วนหน้า ยกระดับ สาธารณสุข เพื่อนบ้าน สาธารณสุขชุมชนเข้มแข็ง ธุรกิจ ชุดตรวจ และธุรกิจ บริการ สุขภาพ เติบโต คณะ ทำงาน ด้านจริยธรรม และกฎหมาย ระดับชาติ ศูนย์กลางทดสอบด้านคลินิก
13
นโยบายด้านเทคโนโลยีชีวภาพการแพทย์และโภชนาการ
ยา วัคซีน และวัสดุเพื่อการวินิจฉัยโรค เครื่องสำอาง สารอาหารที่มีคุณค่าสูง ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อสุขภาพ นโยบายระยะยาว เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่มูลค่าสูง และที่มีศักยภาพในการส่งออก “จากชีวภาพสู่สุขภาพ” “Sunset Boulevard” ฯลฯ นโยบายระยะสั้น เพื่อใช้ความได้เปรียบ เช่น ความสามารถเชิงการแพทย์ ความหลากหลายธรรมชาตินำสู่การผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ครบวงจร
14
เทคโนโลยีที่ต้องการ Genomics เพื่อให้รู้ยีนมนุษย์ เชื้อโรค ฯลฯ ที่เป็นเป้าหมายยา และมีคุณค่าด้านอื่น Gene engineering, bioinformatics เพื่อรู้วิธีตรวจสอบและย้ายยีน และเข้าใจองค์รวมชีวภาพ เทคโนโลยีการพัฒนายาและสารเพื่อสุขภาพ รวมเคมีการแพทย์ เภสัชวิทยา พิษวิทยา วิทยาอิมมิวโน การผลิตในโรงงานระดับ GMP การพัฒนาห้องปฏิบัติการและทดสอบระดับ GLPฯลฯ
15
ที่ควรดำเนินการทันที
เป้าหมายที่ 4. สิ่งแวดล้อม/พลังงานสะอาด กลยุทธ์ มาตรการ ที่ควรดำเนินการทันที “ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการรักษาสิ่งแวดล้อมและผลิตพลังงานสะอาด” ผลิตพลังงานจากของเสียและ ชีวมวล เทคโนโลยีชีวภาพช่วยปรับปรุงสภาพดิน ใช้เครืองวัดชีวภาพ ตรวจ เฝ้าระวัง บำบัด ฟื้นฟูสิ่ง แวดล้อม และติดตามสาร ก่อมลภาวะ พัฒนาเทคโนโลยีป้องกัน บำบัด ฟื้นฟู และหมุนเวียนวัสดุเพื่อสิ่งแวดล้อม ตั้งเป้าหมายร่วมระหว่าง 4 กระทรวงหลัก มาตรการจูงใจภาคเอกชน ลงทุนเปลี่ยนของเสีย เป็นพลังงาน นโยบายคิดผลตอบแทน ด้านสิ่งแวดล้อมคู่ไป กับด้านเศรษฐกิจ พัฒนาเทคโนโลยีบำบัด ฟื้นฟู หมุนเวียน วัสดุ เหลือใช้ และเหลือทิ้ง ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยชีวภาพ และสารชีวภาพ เพื่อฟื้นฟู สภาพดิน จัดทำนโยบายร่วม ระหว่าง 4 กระทรวง หลัก เปลี่ยนแนวคิดการ คำนวณต้นทุน – ผลได้ เพื่อเป็นแรงจูงใจใน การลงทุนบำบัดของ เสียและผลิตพลังงาน ทดแทน
16
เทคโนโลยีเฝ้าระวัง/ บำบัด/ฟื้นฟูและหมุนเวียนสิ่งแวดล้อม
ธุรกิจบริการสิ่งแวดล้อมเติบโต เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำสนับสนุนการผลิตพลังงานจากของเสีย เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมอาหารแต่ละกลุ่ม โรงงาน อุตสาหกรรมอาหารใช้ พลังงานจากก๊าซชีวภาพอย่างกว้างขวาง ใช้ปุ๋ยชีวภาพและสารชีวภาพฟื้นฟูสภาพดิน “เป้าหมายรายทางที่ 4 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและผลิตพลังงานสะอาด” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 มีมาตรการที่นำไปสู่การลงทุนเปลี่ยนของเสียให้เป็นพลังงาน ฟาร์มปศุสัตว์ ผลิตพลังงานจากของเสีย ผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างเพื่อสาธิตการใช้พลาสติก ย่อยสลายได้ เทคโนโลยี ชีวภาพเพื่อรักษาสิ่ง แวดล้อมและผลิตพลังงานสะอาด มีนโยบายร่วม 4 กระทรวง ที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมแป้งผลิตพลังงานจากน้ำเสีย
17
ที่ควรดำเนินการทันที
เป้าหมายที่ 5. เศรษฐกิจพอเพียง “เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง” อนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพและ ระบบนิเวศของชุมชน นำทรัพยากรชีวภาพที่มีความ เด่นหรือจำเพาะแต่ละพื้นที่ พัฒนาสินค้าชุมชน กลยุทธ์ มาตรการ ที่ควรดำเนินการทันที เพิ่มคุณภาพนวัตกรรม และความปลอดภัยของ สินค้าชุมชน ทำข้อมูลทรัพยากร ท้องถิ่น เพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน โดยใช้เทคโนโลยี ชีวภาพ พัฒนาแหล่งทรัพยากร ธรรมชาติให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชน มีระบบฝึกอบรมความปลอด ภัยของอาหารแก่ชุมชน จัดกลไกตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานของสินค้า ชุมชน เร่งรัดให้เกิดวิสาหกิจชุมชน ชุมชนใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ในการขยายและปรับปรุง พันธุ์พืชท้องถิ่น สนับสนุนให้การผลิตสินค้า ชุมชนมีมาตรฐาน สิ่งแวดล้อม 1.1 พัฒนาสินค้าชุมชน ใช้เทคโนโลยีชีวภาพกับทรัพยากรชีวภาพที่มีความเด่นหรือจำเพาะในแต่ละพื้นที่ โดยการใช้เทคโนโลยีชีวภาพต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มค่าผลิตภัณฑ์ในโครงการสินค้าชุมชนให้มีปริมาณ/คุณภาพสม่ำเสมอและมีความปลอดภัยและสามารถก้าวเข้าสู่ตลาดโลกได้ รวมถึงสามารถแปลงทรัพยากรชีวภาพในท้องถิ่นเป็นข้อมูลเพื่อแปลงเป็นสินทรัพย์หรือทุนในการดำเนินการผลิต/ขยายการผลิต 1.2 อนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพและระบบนิเวศของชุมชน การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศ เพื่อเป็นแหล่งปัจจัยสำคัญสำหรับ ช่วยดำรงไว้ซึ่งความสมดุลของธรรมชาติ วิถีชีวิตชุมชนของไทย และ แหล่งวัตถุดิบสำคัญเพื่อการผลิตสินค้าชุมชนแทนการนำเข้าจากนอกพื้นที่ รวมทั้งเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเที่ยวเชิงนิเวศ
18
เป้าหมายที่ 5 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลิตหัวเชื้อ จุลินทรีย์ ฝึกอบรมด้าน ความปลอดภัย ของอาหาร แก่ชุมชน ผลิตภัณฑ์ไม้ดอก/ พืชรูปแบบใหม่ จากการเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อ เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นปัจจัยสำคัญ ของเศรษฐกิจ พอเพียง ชุมชน วิทยาศาสตร์ ศูนย์วิจัย ความหลาก หลายทาง ชีวภาพ ธุรกิจชุมชน ใช้เทคโนโลยี ชีวภาพใน อัตราก้าวหน้า “เป้าหมายรายทางที่ 5 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 เป้าหมายที่ 5 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง มีฐานข้อมูล ทรัพยากร ท้องถิ่น เพื่อธุรกิจ ชีวภาพ ที่ยั่งยืน วัตถุดิบสินค้า ชุมชนมาจาก การเพาะเลี้ยง /ปลูก เช่น สมุนไพร กล้วยไม้ มีมาตรฐาน สิ่งแวดล้อม ในการผลิต สินค้าชุมชน
19
ที่ควรดำเนินการทันที
เป้าหมายที่ 6. กำลังคนที่มีคุณภาพ กลยุทธ์ มาตรการ ที่ควรดำเนินการทันที “มีระบบการสร้างกำลังคน ที่มีคุณภาพ” มีนักวิจัยอาชีพไม่ต่ำกว่า 5,000 คน มีนักบริหารจัดการ เทคโนโลยีชีวภาพ ไม่ต่ำกว่า 500 คน มีบัณฑิตในสาขาที่เกี่ยว ข้องไม่น้อยกว่า 10,000 คน จัดทำทำเนียบนักวิจัย บริษัท และหน่วยงาน วิจัยชั้นนำ อุทยานเทคโนโลยี ชีวภาพ ใช้กลยุทธ์สามเส้า สร้างผู้ประกอบการ เทคโนโลยีชีวภาพ จัดทำข้อมูลกำลังคนและ เครือข่ายนักวิจัย ใช้กลยุทธ์สามเส้าและระบบ การเรียนจากการปฏิบัติจริง ทำระบบสรรหาบุคลากรต่างประเทศ 1.1 สร้างบุคลากรวิจัยอาชีพและผู้ประกอบการทางธุรกิจเทคโนโลยีชีวภาพ ไม่ ต่ำกว่า 5,000 คน 1.2 ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท และปริญญาเอก ในสาขาที่เกี่ยวกับการ พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพไม่น้อยกว่า 10,000 คน
20
“เป้าหมายรายทางที่ 6 ระบบการสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ ”
ผู้จัดการ เทคโนโลยี ชีวภาพ 500 คน มีข้อมูล ผู้มีความ สามารถ ด้านเทคโน โลยีชีวภาพ ผู้จัดการ เทคโนโลยี ชีวภาพ 200 คน รัฐร่วมลงทุนกับ ธุรกิจเอกชน ผลิตบุคลากร เป้าหมาย ไทยเป็น แกนสำคัญ ในการสร้าง กำลังคนทาง เทคโนโลยีชีวภาพ ของอาเซียน นักเทคโนโลยี ชีวภาพไทย เป็นปัจจัยสำคัญ ในการพัฒนา ธุรกิจชีวภาพ นานาชาติ นักวิจัย อาชีพ 5,000 คน กระตุ้นการจ้าง บุคลากร ต่างประเทศ “เป้าหมายรายทางที่ 6 ระบบการสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ ” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 เป้าหมายที่ 6 ระบบการสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ บัณฑิต เทคโนโลยี ชีวภาพ 10,000 คน มีระบบการพัฒนาคน และอาชีพด้าน เทคโนโลยี ชีวภาพ อย่างต่อเนื่อง ผู้ประกอบการใหม่ อย่างน้อย20% อยู่ในสาขา เทคโนโลยีชีวภาพ มีระบบสร้างกำลังคนโดยความร่วมมือรหว่างหน่วยวิจัย มหาวิทยาลัยและเอกชน มีระบบการ สร้างกำลังคน ที่มีคุณภาพ
21
การดำเนินการที่สำคัญเพื่อนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
กำหนดเจ้าภาพ มีความรู้และประสบการณ์ มีภาวะผู้นำที่เข้มแข็ง มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง เชื่อมโยงกับเอกชน พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นคลัสเตอร์ เช่น BioPark โครงสร้างพื้นฐานด้านกฎหมาย และทรัพย์สินทางปัญญา จัดสรรทรัพยากร ลงทุนร่วมระหว่างรัฐ – เอกชน – ต่างประเทศ ลงทุนวิจัยอย่างน้อย 1 ใน 3 ของงบวิจัย ด้านว.และท. หรือ 16,500 ล้านบาท/ปี ดำเนินการ ตามกลยุทธ์ ดำเนินการตามเป้าหมายรายทาง ปรับการดำเนินการตามการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ปรับกลยุทธ์และดำเนินการตามกลยุทธ์ย่อย ติดตามความ ก้าวหน้า และประเมินผล มีกลไกติดตามความก้าวหน้าและประเมินผล ติดตามพลวัตของเทคโนโลยีชีวภาพและปรับใช้ ให้เหมาะกับกรอบนโยบาย
22
เนื้อหาของเค้าโครงแผนหลัก
ความเป็นมาของกรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย เป้าหมายหลักของการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย เป้าหมายรายทาง และผู้ดำเนินการหลัก แนวทางดำเนินการสู่เป้าหมายรายทาง แต่ละเป้าหมายอาจมีหลายแนวทาง แต่ละแนวทางอาจมุ่งหลายเป้าหมาย
23
หุ้นส่วนธุรกิจ ชีวภาพกับ
14 7 4 มีบริษัท เทคโนโลยี ชีวภาพใหม่ 100 แห่ง 1 มีบริษัท เทคโนโลยี ชีวภาพใหม่ 20 แห่ง นโยบายต่างประเทศขยายตลาดประเทศเพื่อนบ้าน เริ่มมีการลงทุน วิจัยและพัฒนา จากต่างประเทศ 8 บริษัทขนาด กลางและเล็ก เข้มแข็ง เชื่อมโยง กับบริษัท ขนาดใหญ่ 2 อุทยานเทคโนโลยี ชีวภาพ ธุรกิจ ชีวภาพ ใหม่ เกิดและ พัฒนา มีอุทยาน เทคโนโลยี ชีวภาพใน ภูมิภาค จำนวนสิทธิบัตรด้าน เทคโนโลยีชีวภาพ เพามขึ้น 200% เกิดบริษัทร่วมทุน เทคโนโลยี ชีวภาพ 13 10 5 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 “เป้าหมายรายทางที่ 1 ธุรกิจชีวภาพใหม่เกิดและพัฒนา” 15 11 3 มีกลุ่ม เทคโนโลยี ชีวภาพ ในตลาดหุ้น มีการลงทุนวิจัย และพัฒนา เป็นมูลค่า ไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาท รัฐสนับสนุนการลงทุนเทคโนโลยีชีวภาพ มาตรการด้านภาษีและสิทธิพิเศษอื่นๆ หุ้นส่วนธุรกิจ ชีวภาพกับ เพื่อนบ้าน ธุรกิจบริการเทคโนโลยีชีวภาพ แข็งแกร่ง 12 6 9
24
แนวทางดำเนินการเพื่อเป้าหมายหลักที่1
ศึกษาสถานภาพและความต้องการของธุรกิจชีวภาพใหม่ในประเทศไทยและต่างประเทศ การกำหนดธุรกิจชีวภาพใหม่ที่เป็นเป้าหมาย และการสนับสนุนการนำงานวิจัยสู่ตลาด สนองต่อเป้าหมายรายทาง 1-15 ศึกษาความเหมาะสมและดำเนินการจัดตั้งอุทยานชีวภาพ(Biopark) และกลไกอื่นที่เอื้อหนุนธุรกิจชีวภาพใหม่ สนองต่อ 2-8, 10, 12-15 จัดทำนโยบายการสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศและการระดมทุนธุรกิจชีวภาพใหม่ สนองต่อ 1, 4, 9-12, 14, 15 จัดให้มีคลัสเตอร์และ supply chain ในธุรกิจชีวภาพใหม่ สนองต่อ 2, 4, 5, 7, 8-12
25
6 20 ส่งออก สินค้า เกษตร แปรรูป อันดับ 1 ใน 5 ของโลก กลไก ความ ร่วมมือระหว่าง หน่วยงาน ต่างสังกัด ใช้พ่อแม่ พันธุ์กุ้ง จากการ เพาะเลี้ยง 1 ธุรกิจตรวจสอบอาหาร/ เมล็ดพันธุ์ เพื่อส่งออก 14 15 มูลค่าส่งออก ผลไม้ไทย เพิ่มเป็น 53,000 ล้านบาท เทคโนโลยีดีเอ็นเอ ปรับปรุงพันธุ์ การวิจัยทางการเกษตรเกี่ยวข้องกับ เทคโน โลยี ชีวภาพมากขึ้น มีความ สามารถ ประเมิน ความเสี่ยง ด้าน อาหาร 2 ผลิตภัณฑ์ ปศุสัตว์ไทย ได้รับการ ยอมรับเชิง คุณภาพ เปลี่ยนจากการรับจ้างผลิตเมล็ดพันธุ์เป็นผู้พัฒนาเมล็ดพันธุ์และส่งออก มีหน่วยงาน ดูแลข้อมูล เพื่อการ ตัดสินใจ ต่อรอง ทางการค้า มูลค่าส่งออก อาหาร 1.2 ล้านล้านบาท 10 17 19 7 21 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 “เป้าหมายรายทางที่ 2 ครัวของโลก” 8 11 เกิดคลัสเตอร์ข้าว มันสำปะหลัง 16 18 ตั้งสถาบัน วิจัยอาหาร 3 ไทยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานสินค้าส่งออก เช่น กุ้ง ผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำชนิด ใหม่เพิ่มจากกุ้ง มีเจ้าภาพ คลัสเตอร์กุ้งชัดเจน 9 สารชีวภาพ ปราบศัตรูพืช 25% 12 มีเครือข่ายฐานข้อมูลอาหารและความปลอดภัย มีกลไก บริหาร ความ ปลอดภัย ทางอาหาร และการ ตรวจสอบ เทคโนโลยี ชีวภาพ ช่วยให้ประเทศไทยเป็นครัว ของโลก พัฒนาเทคโนโลยี หลังการเก็บเกี่ยว/ บรรจุภัณฑ์เพื่อ ขยายตลาดผลไม้/ผัก มีนโยบาย GMOs ที่ชัดเจน 5 13 4
26
แนวทางดำเนินการเพื่อเป้าหมายหลักที่2
กำหนดเจ้าภาพแกนนำ เพื่อดำเนินการ “คลัสเตอร์สามเส้า” ของอุตสาหกรรมเกษตรที่สำคัญ (กุ้ง ข้าว เมล็ดพันธุ์ molecular breeding ฯลฯ) สนองต่อ 1, 3, 8, 12, 14, 17, 18, 20, 21 พัฒนาระบบข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์อาหารและผลิตภัณฑ์เกษตร สนองต่อ 2, 9, 11, 13 สร้างความสามารถในการตรวจสอบรับรองคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งระบบตรวจสอบย้อนกลับ (traceability) สนองต่อ 4, 6, 7, 9, 10, 16, 19, 21 ศึกษาความเหมาะสมของการจัดตั้งสถาบันวิจัยอาหารและแนวทางความร่วมมือกับสถาบันอาหาร สนองต่อ 11, 13, 20, 21 พัฒนานโยบายด้านผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอให้ชัดเจน สนองต่อ 5 และคณะอนุกรรมการด้านจี เอ็ม โอ
27
5 1 การลงทุน ด้านจีโนม และชีวสารสนเทศ ศาสตร์ ขยายการผลิต เวชภัณฑ์ เชื่อมโยง ตลาด เพื่อนบ้าน มีธุรกิจ ตรวจสอบ พันธุกรรม ขนาดกลาง และขนาดย่อม 9 14 ผลิต วัคซีนที่ ได้มาตรฐาน สำหรับ โรคที่สำคัญ สังคมที่มี สุขภาพดี และเป็นศูนย์ กลาง สุขภาพแห่ง เอเชีย ศูนย์กลาง สุขภาพ แห่งเอเชีย 10 2 มีธุรกิจ ตรวจสอบ ครอบคลุม ตลาด เพื่อนบ้าน ผลิตภัณฑ์ จากสมุนไพรเพื่อส่งออก 7 “เป้าหมายรายทางที่ 3 ประเทศไทยมีสังคมที่มีสุขภาพดีและเป็นศูนย์กลางสุขภาพแห่งเอเชีย” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 3 6 8 15 13 ผลิตยา ต้นแบบ ชนิดใหม่ สำหรับ โรค เขตร้อน เครื่องมือ ตรวจวัด ที่ใช้งานง่าย ศูนย์กลางลงทุนวิจัยและพัฒนาโรค เขตร้อน 11 ผลผลิตของ เทคโนโลยี ชีวภาพไทย เป็นสัดส่วน สำคัญของ บริการสุขภาพ ดีถ้วนหน้า ยกระดับ สาธารณสุข เพื่อนบ้าน สาธารณสุขชุมชนเข้มแข็ง ธุรกิจ ชุดตรวจ และธุรกิจ บริการ สุขภาพ เติบโต 16 คณะ ทำงาน ด้านจริยธรรม และกฎหมาย ระดับชาติ ศูนย์กลางทดสอบด้านคลินิก 12 4
28
แนวทางดำเนินการเพื่อเป้าหมายหลักที่3
จัดทำแผนงานของสถาบันชีววิทยาศาสตร์ (Thailand Center of Excellence in Life Science, TCELS) ให้สอดคล้องกับเป้าหมายหลักและเป้าหมายรายทางตามที่เหมาะสม สนองต่อ 1-16 จัดให้มีการศึกษาวิจัยและเผยแพร่ด้านชีวจริยธรรม รวมถึงการดูแลคุ้มครองผู้บริโภคและสิทธิของประชาชนโดยทั่วไป สนองต่อ 4, 16 ปรับปรุงระบบการจดทะเบียนยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพให้เอื้อต่อการพัฒนาในประเทศ สนองต่อ 6, 8, 11, 12, 14, 16 สร้างกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โดยให้เทคโนโลยีสุขภาพเป็นแกนนำสำคัญ สนองต่อ 10-12, 15
29
เทคโนโลยีเฝ้าระวัง/ บำบัด/ฟื้นฟูและหมุนเวียนสิ่งแวดล้อม
3 7 1 ธุรกิจบริการสิ่งแวดล้อมเติบโต เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำสนับสนุนการผลิตพลังงานจากของเสีย เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมอาหารแต่ละกลุ่ม 10 โรงงาน อุตสาหกรรมอาหารใช้ พลังงานจากก๊าซชีวภาพอย่างกว้างขวาง ใช้ปุ๋ยชีวภาพและสารชีวภาพฟื้นฟูสภาพดิน 4 8 “เป้าหมายรายทางที่ 4 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและผลิตพลังงานสะอาด” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 5 9 มีมาตรการที่นำไปสู่การลงทุนเปลี่ยนของเสียให้เป็นพลังงาน ฟาร์มปศุสัตว์ ผลิตพลังงานจากของเสีย ผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างเพื่อสาธิตการใช้พลาสติก ย่อยสลายได้ 11 เทคโนโลยี ชีวภาพเพื่อรักษาสิ่ง แวดล้อมและผลิตพลังงานสะอาด มีนโยบายร่วม 4 กระทรวง ที่เกี่ยวข้อง 6 2 อุตสาหกรรมแป้งผลิตพลังงานจากน้ำเสีย
30
แนวทางดำเนินการเพื่อเป้าหมายหลักที่4
พัฒนาแผนการผลิตพลังงานจากของเสียและวัสดุเกษตรเหลือใช้ โดยเน้นแป้ง และอุตสาหกรรมปศุสัตว์ สนองต่อ 1, 2, 5-8, 10, 11 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงสภาพดิน โดยเน้นปุ๋ยชีวภาพและสารชีวภาพ สนองต่อ 2, 4, 7 พัฒนาการผลิตและใช้เครื่องวัดทางชีวภาพ (biosensors) ในการตรวจ เฝ้าระวัง บำบัดและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม สนองต่อ 3, 4, 7 พัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำบัดสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้านการหมุนเวียนวัสดุ (recycling) และด้านการย่อยสลายชีวภาพ (biodegradation) สนองต่อ 3, 4, 9
31
2 ผลิตหัวเชื้อ จุลินทรีย์ 7 3 ฝึกอบรมด้าน ความปลอดภัย ของอาหาร แก่ชุมชน 9 ผลิตภัณฑ์ไม้ดอก/ พืชรูปแบบใหม่ จากการเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อ 5 เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นปัจจัยสำคัญ ของเศรษฐกิจ พอเพียง ชุมชน วิทยาศาสตร์ ศูนย์วิจัย ความหลาก หลายทาง ชีวภาพ ธุรกิจชุมชน ใช้เทคโนโลยี ชีวภาพใน อัตราก้าวหน้า 1 “เป้าหมายรายทางที่ 5 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 เป้าหมายที่ 5 ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 4 มีฐานข้อมูล ทรัพยากร ท้องถิ่น เพื่อธุรกิจ ชีวภาพ ที่ยั่งยืน วัตถุดิบสินค้า ชุมชนมาจาก การเพาะเลี้ยง /ปลูก เช่น สมุนไพร กล้วยไม้ มีมาตรฐาน สิ่งแวดล้อม ในการผลิต สินค้าชุมชน 8 6
32
แนวทางดำเนินการเพื่อเป้าหมายหลักที่5
รวบรวมข้อมูลและสถานภาพของกิจกรรมพัฒนาชุมชนที่ใช้เทคโนโลยีชีวภาพ สนองต่อ 4 ดำเนินการให้มีฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น โดยเน้นด้านความหลากหลายชีวภาพ สนองต่อ 4, 5 สร้างความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพในชุมชน เพื่อใช้ส่งเสริมการผลิตการบริการ และความเป็นอยู่โดยทั่วไป สนองต่อ 1-3, 7-9 เชื่อมโยงความรู้ระดับชุมชนและสากล โดยใช้มหาวิทยาลัยในท้องถิ่นเป็นแหล่งกลาง สนองต่อ 1-9 พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ เพื่อการผลิตการบริการที่ยั่งยืน สนองต่อ 2-5, 7, 8 พัฒนาระบบรับรองคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน สนองต่อ 2, 6-8
33
1 5 ผู้จัดการ เทคโนโลยี ชีวภาพ 500 คน มีข้อมูล ผู้มีความ สามารถ ด้านเทคโน โลยีชีวภาพ ผู้จัดการ เทคโนโลยี ชีวภาพ 200 คน รัฐร่วมลงทุนกับ ธุรกิจเอกชน ผลิตบุคลากร เป้าหมาย ไทยเป็น แกนสำคัญ ในการสร้าง กำลังคนทาง เทคโนโลยีชีวภาพ ของอาเซียน 7 9 10 11 นักเทคโนโลยี ชีวภาพไทย เป็นปัจจัยสำคัญ ในการพัฒนา ธุรกิจชีวภาพ นานาชาติ นักวิจัย อาชีพ 5,000 คน กระตุ้นการจ้าง บุคลากร ต่างประเทศ 4 2 “เป้าหมายรายทางที่ 6 ระบบการสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ ” 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 เป้าหมายที่ 6 ระบบการสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ 12 6 3 บัณฑิต เทคโนโลยี ชีวภาพ 10,000 คน มีระบบการพัฒนาคน และอาชีพด้าน เทคโนโลยี ชีวภาพ อย่างต่อเนื่อง 8 ผู้ประกอบการใหม่ อย่างน้อย20% อยู่ในสาขา เทคโนโลยีชีวภาพ มีระบบสร้างกำลังคนโดยความร่วมมือระหว่างหน่วยวิจัย มหาวิทยาลัยและเอกชน มีระบบการ สร้างกำลังคน ที่มีคุณภาพ
34
แนวทางดำเนินการเพื่อเป้าหมายหลักที่6
พัฒนาฐานข้อมูลกำลังคนด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ทั้งในด้านปริมาณ และด้านความเชี่ยวชาญบุคลากรต่างๆ สนองต่อ 1 ส่งเสริมการจัดระบบการศึกษาร่วมกับการวิจัยแก้ปัญหา (practice school) อันทำให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างมหาวิยาลัยกับภาคเอกชน สนองต่อ 3-6 ใช้กลไกร่วมมือสามเส้า เช่น อุทยานชีวภาพ เพื่อช่วยในการสร้างกำลังคนเทคโนโลยีชีวภาพที่ตรงกับความต้องการ สนองต่อ 3-12 จัดทำระบบสรรหาบุคลากรจากต่างประเทศ เพื่อนำเทคโนโลยีใหม่ๆที่สำคัญมาใช้ประโยชน์ สนองต่อ 2, 9 จัดทำระบบที่เหมาะสม รวมทั้งระบบร่วมมือกับต่างประเทศในการผลิตบุคลากรชีวภาพ สนองต่อ 2-7, 12
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.