งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งาน Palliative care.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งาน Palliative care."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งาน Palliative care

2 สถานการณ์ มาตรการ Essential Task ปี 2560 (GAP) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1) ในระดับชุมชน ยังไม่มีการดำเนินงาน Palliative care ที่ชัดเจน และครอบคลุม พัฒนาระบบการดูแล Palliative care ในชุมชน ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยเน้นตำบลนำร่อง 1.มีตำบลได้รับการ คัดเลือกในการดำเนินงาน Palliative care อย่างน้อย 1 ตำบล 2.มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน 3.มีคณะทำงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายในชุมชน 4.มีแผนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องร่วมกันระหว่าง รพ.กับชุมชนอย่างไร้รอยต่อ 1.มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน 2.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของทีม Palliative care อำเภอ 3.มีรายงานการดำเนินงาน Palliative care ในชุมชนทุก 3 เดือน 2.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของ Palliative care ในชุมชนโดยทีมนิเทศ หรือพี่เลี้ยงระดับจังหวัดหรือโซน 2.มีตำบลต้นแบบในการดูแล Palliative care ในชุมชนอย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล ผลงาน 6 เดือน -มีตำบลต้นแบบในการดูแล Palliative care อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล : มี 23 อำเภอ ขาด 2 อำเภอ คือ เมือง และดอยเต่า ยังไม่ได้กำหนดตำบลนำร่อง Palliative care คิดเป็นร้อยละ 92 -มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน: มี 22 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 88(ขาดเวียงแหง ดอยเต่า จอมทอง) -มีคณะทำงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายในชุมชน : มี 21 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 84 (ขาดเวียงแหง อมก๋อย ดอยเต่า แม่แตง) -มีแผนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องร่วมกันระหว่าง รพ.กับชุมชนอย่างไร้รอยต่อ : มี 22 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 88 (ขาดดอยเต่า แม่อาย แม่แตง) -มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของทีม Palliative care อำเภอ : มี 8 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 32 (มีสะเมิง พร้าว สันป่าตอง แม่ออน สันทราย ไชยปราการ สันกำแพง ดอยหล่อ) -มีรายงานการดำเนินงาน Palliative care ในชุมชนทุก 3 เดือน : มี 7 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 28 (มีเวียงแหง สะเมิง แม่ออน สันทราย ไชยปราการ สันกำแพง ดอยหล่อ)

3 ระบบการดูแล Palliative care ในโรงพยาบาลระดับ A,S,M1
สถานการณ์ มาตรการ Essential Task ปี 2560 (GAP) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2)มีการดำเนินงาน Palliative care ใน โรงพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด ระบบการดูแล Palliative care ในโรงพยาบาลระดับ A,S,M1 -มีคณะกรรม/ศูนย์การดูแลแบบประคับประคองที่ประกอบด้วยบุคลากรสหสาขาที่เกี่ยวข้อง -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care -มีการกำหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล -ประเมินตามรอบ 3 เดือน -มีการจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองเป็นหน่วยบริการหนึ่งในกลุ่มงานการพยาบาล มอบหมายให้พยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care รับผิดชอบเต็มเวลา -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ ในเกณฑ์ได้รับ การดูแลตาม แนวทาง Palliative Care >ร้อยละ 50 -ประเมินผลตาม รอบ 6 เดือน -มีระบบบริการ หรือ Function การทำงาน เชื่อมโยงการดูแล ต่อเนื่องที่บ้าน - -ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน -มีการรักษา/บรรเทาด้วย Strong opioid medication >30 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care และมีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย/การแพทย์ทางเลือก -มีแผน/โครงการ หรือกิจกรรม และดำเนินการร่วมกับองค์กรต่าง ๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รพ. ผลงาน 6 เดือน -มีคณะกรรม/ศูนย์การดูแลแบบประคับประคองที่ประกอบด้วยบุคลากรสหสาขาที่เกี่ยวข้อง : มีครบ 3 รพ.คิดเป็นร้อยละ 100 -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care :มีครบ 3 รพ.คิดเป็นร้อยละ 100 -มีการกำหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล:มีครบ 3 รพ.คิดเป็นร้อยละ 100 -มีการจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองเป็นหน่วยบริการหนึ่งในกลุ่มงานการพยาบาล มอบหมายให้พยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care รับผิดชอบเต็มเวลา:มี 1 รพ.ที่มีพยาบาลรับผิดชอบเต็มเวลาคือ รพ.นครพิงค์ (เต็มเวลาช่วงบ่ายทุกวันจันทร์-ศุกร์) อีก 2 รพ.ยังไม่ได้รับผิดชอบเต็มเวลา คือเป็นร้อยละ 33.33 -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care >ร้อยละ 50 :มี 2 รพ.ไม่มี 1 รพ. คิดเป็นร้อยละ 66.67 (ไม่มีคือ รพ.ฝาง)

4 -ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน
สถานการณ์ มาตรการ Essential Task ปี 2560 (GAP) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3)มีการดำเนินงาน Palliative care ใน โรงพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด ระบบการดูแล Palliative care ในโรงพยาบาลระดับ M2,F1-3 -มีคณะกรรมการดูแลแบบประคับประคองที่ -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care -มีแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล -ประเมินตามรอบ 3 เดือน -มีหน่วยบริการดูแลแบบประคับประคองพร้อมพยาบาล ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ใน เกณฑ์ได้รับการ ดูแลตามแนวทาง Palliative Care > ร้อยละ 50 -ประเมินผลตาม รอบ 6 เดือน -มีระบบบริการหรือ Function การทำงาน เชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องที่ บ้าน -ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน -มีการรักษา/บรรเทาด้วย Strong opioid medication >20 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care และมีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย/การแพทย์ทางเลือก -มีแผน/โครงการ หรือกิจกรรม และดำเนินการร่วมกับองค์กรต่าง ๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รพ. ผลงาน 6 เดือน -มีคณะกรรมการดูแลแบบประคับประคองที่ : มี 20 รพ.ไม่มี 1 รพ. คิดเป็นร้อยละ95.24 (ไม่มี รพ.อมก๋อย) -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care :มี 19 รพ.ไม่มี 2 รพ.คิดเป็นร้อยละ90.48 (มีพยาบาลผู้รับผิดชอบงานแต่ยังไม่ผ่านการอบรมฯ)ไม่มี รพ.แม่วาง,กัลยาฯ -มีแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล:มี 20 รพ.ไม่มี 1 รพ.คิดเป็นร้อยละ95.24 (ไม่มี รพ.เวียงแหง) -มีหน่วยบริการดูแลแบบประคับประคองพร้อมพยาบาล ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care :มี 19 รพ.ไม่มี 2 รพ.คิดเป็นร้อยละ90.48 (มีพยาบาลผู้รับผิดชอบงานแต่ยังไม่ผ่านการอบรมฯ) :ไม่มี รพ.แม่วาง,กัลยาฯ -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care >ร้อยละ 50 : มี 20 รพ.ไม่มี 1 รพ. คิดเป็นร้อยละ (ไม่มี รพ.เวียงแหง)

5 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt งาน Palliative care.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google