การอบรมการใช้งานระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอบรมการใช้งานระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอบรมการใช้งานระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
End User Training โครงการจ้างที่ปรึกษา พัฒนาและติดตั้งระบบงาน ERP โครงการการเงินการบัญชี การจัดซื้อจัดหา การบริหารพัสดุ และการบริหารทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล Deloitte Consulting Ltd

2 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

3 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

4 1. วัตถุประสงค์การอบรม เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจในภาพรวมของระบบบริหารวัสดุคงคลัง เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบและเข้าใจถึงข้อมูลหลักต่างๆ ในระบบการจัดการวัสดุคงคลัง เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบและเข้าใจกระบวนการทำงานต่างๆ ในระบบบริหารวัสดุคงคลัง และมีความสามารถ ความพร้อมที่จะใช้ระบบงาน MU-ERP ในการปฏิบัติงานจริงได้อย่างถูกต้อง

5 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

6 Purchasing Invoice Verification Inventory Management
2. ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง ระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management: IM) เป็นระบบงานย่อยภายใต้ระบบบริหารพัสดุ (Material Management: MM) ซึ่งประกอบด้วย ระบบจัดหา (Purchasing) ระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management) ระบบบริหารวัสดุคงคลังมีกระบวนการทำงานต่อเนื่องจากกระบวนการจัดหา หลังจากผ่านกระบวนการตรวจรับพัสดุในระบบ IM จึงเข้าสู่กระบวนการตั้งหนี้ในระบบบัญชีเจ้าหนี้ (Account Payable: AP) Purchasing Invoice Verification MM Materials Management Inventory Management

7 การวางแผนความต้องการวัสดุ
2. ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง กระบวนการทำงานหลักของระบบบริหารวัสดุคงคลัง ประกอบด้วย การเคลื่อนย้ายวัสดุ: การรับวัสดุ (Goods Receipt), การจ่ายวัสดุ (Goods Issue), การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Stock Transfer) การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP) การตรวจนับวัสดุ (Physical Count) Goods Transfer Goods Receipt Goods Return Goods Issue Return Issue การเคลื่อนย้ายวัสดุ จำนวนที่สั่ง (Order Quantity) จำนวนวัสดุคงเหลือ Reorder Point = 10 (จุดสั่งซื้อ) วันส่งมอบวัสดุ ระยะเวลาในการส่งมอบวัสดุ เวลา 30 การวางแผนความต้องการวัสดุ 1 + 1 = 3 การตรวจนับวัสดุ

8 2. ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง
กระบวนการทำงานอื่นๆ ของระบบบริหารวัสดุคงคลัง ประกอบด้วย การบริหารข้อมูลหลัก การสร้าง/เปลี่ยนแปลง/แสดงข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) การสร้าง/เปลี่ยนแปลง/แสดงข้อมูล Batch (ข้อมูล Lot สินค้า) การเปิดงวดการบันทึกรายการระบบบริหารวัสดุคงคลัง รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

9 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

10 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
โครงสร้างองค์กรในระบบ SAP ระบบบริหารวัสดุคงคลัง ประกอบด้วย Company Code หรือ บริษัท เป็นองค์กรมีการจดทะเบียนนิติบุคคล ที่มีระบบบัญชีเป็นของตนเอง อย่างเป็นเอกเทศ และถือว่าเป็นหน่วยงานที่มีผลทางกฏหมายในการดำเนินธุรกรรมต่างๆ และบริษัท ต้องมีการนำส่งรายงานทางการเงิน ภาษี หรือรายงานอื่นๆ อันเป็นไปตามกฏหมาย Plant หมายถึง คลังวัสดุ ที่มีกิจกรรมการ ซื้อวัสดุหรือบริการ ผลิต ขาย แจกจ่าย เก็บรักษา วัสดุ Storage Location หมายถึงคลังย่อยหรือพื้นที่จัดเก็บวัสดุคงคลัง ภายใต้ Plant เพื่อให้สามารถ บริหารจัดการวัสดุคงคลังได้ในระดับที่ละเอียดขึ้น

11 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Company Code 1000 มหาวิทยาลัยมหิดล 1010 2010 1020 Plant รด.-สนง.อธิการฯ ผด.-สนง.อธิการฯ รด.บัณฑิตวิทยาลัย Storage location 1001 คลังวัสดุทั่วไป คลัง…. 2…. 1001 คลังวัสดุทั่วไป คลัง…. 2…. 1001 คลังวัสดุทั่วไป

12 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Plant Plant คือคลังวัสดุที่มีกิจกรรมการ ซื้อวัสดุหรือบริการ ผลิต ขาย แจกจ่าย เก็บรักษา วัสดุ ในระบบ MU-ERP Plant คือคลังวัสดุระดับส่วนงาน โดยแต่ละส่วนงานจะมี 2 คลังวัสดุคือ คลังวัสดุที่จัดหาด้วยเงินงบประมาณแผ่นดิน คลังวัสดุที่จัดหาด้วยเงินรายได้ รหัส Plant มี 4 หลัก โดยมีโครงสร้าง ดังนี้ เช่น บัณฑิตวิทยาลัย มีรหัสส่วนงาน 02 จึงมีรหัส Plant 1020 (เงินรายได้) และ 2020 (เงินงบประมาณ) X XX หลักที่ รหัสส่วนงาน 2-3 1 แหล่งเงิน: 1=เงินรายได้, 2=เงินงบประมาณแผ่นดิน

13 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
รหัสส่วนงาน มีดังนี้ รหัสส่วนงาน ส่วนงาน 01 สำนักงานอธิการบดี 02 บัณฑิตวิทยาลัย 03 คณะทันตแพทยศาสตร์ 04 คณะเทคนิคการแพทย์ 05 คณะพยาบาลศาสตร์ 08 คณะเภสัชศาสตร์ 09 คณะวิทยาศาสตร์ 10 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 11 คณะเวชศาสตร์เขตร้อน 12 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 13 คณะสัตวแพทยศาสตร์ 14 คณะสาธารณสุขศาสตร์ 15 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ 16 วิทยาลัยราชสุดา 17 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา 18 สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน 19 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 20 สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย 21 สถาบันโภชนาการ รหัสส่วนงาน ส่วนงาน 22 สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล 23 สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กฯ 25 ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา 28 ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ 29 หอสมุดและคลังความรู้ 30 วิทยาลัยนานาชาติ 31 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ 32 วิทยาลัยการจัดการ 33 วิทยาลัยศาสนศึกษา 34 สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ 35 คณะศิลปศาสตร์ 36 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 37 สำนักงานสภามหาวิทยาลัย 38 วิทยาเขตกาญจนบุรี 39 คณะกายภาพบำบัด 40 ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา 41 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี 42 ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม

14 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Plant ทั้งหมดมีดังนี้ Plant Description 1010 รด-สำนักงานอธิการบดี 2010 ผด-สำนักงานอธิการบดี 1020 รด-บัณฑิตวิทยาลัย 2020 ผด-บัณฑิตวิทยาลัย 1030 รด-คณะทันตแพทยศาสตร์ 2030 ผด-คณะทันตแพทยศาสตร์ 1040 รด-คณะเทคนิคการแพทย์ 2040 ผด-คณะเทคนิคการแพทย์ 1050 รด-คณะพยาบาลศาสตร์ 2050 ผด-คณะพยาบาลศาสตร์ 1080 รด-คณะเภสัชศาสตร์ 2080 ผด-คณะเภสัชศาสตร์ 1090 รด-คณะวิทยาศาสตร์ 2090 ผด-คณะวิทยาศาสตร์ 1100 รด-คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2100 ผด-คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1110 รด-คณะเวชศาสตร์เขตร้อน 2110 ผด-คณะเวชศาสตร์เขตร้อน 1120 รด-คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2120 ผด-คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ Plant Description 1130 รด-คณะสัตวแพทยศาสตร์ 2130 ผด-คณะสัตวแพทยศาสตร์ 1140 รด-คณะสาธารณสุขศาสตร์ 2140 ผด-คณะสาธารณสุขศาสตร์ 1150 รด-คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรฯ 2150 ผด-คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรฯ 1160 รด-วิทยาลัยราชสุดา 2160 ผด-วิทยาลัยราชสุดา 1170 รด-วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโน 2170 1180 รด-สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน 2180 ผด-สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน 1190 รด-สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2190 ผด-สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 1200 รด-สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมฯ 2200 1210 รด-สถาบันโภชนาการ 2210 ผด-สถาบันโภชนาการ 1220 รด-สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล 2220 ผด-สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล

15 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Plant ทั้งหมดมีดังนี้ Plant Description 1230 รด-ส.แห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก 2230 ผด-ส.แห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก 1250 รด-ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามฯ 2250 ผด-ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามฯ 1280 รด-ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ 2280 ผด-ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ 1290 รด-หอสมุดและคลังความรู้ 2290 ผด-หอสมุดและคลังความรู้ 1300 รด-วิทยาลัยนานาชาติ 2300 ผด-วิทยาลัยนานาชาติ 1310 รด-วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ 2310 ผด-วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ 1320 รด-วิทยาลัยการจัดการ 2320 ผด-วิทยาลัยการจัดการ 1330 รด-วิทยาลัยศาสนศึกษา 2330 ผด-วิทยาลัยศาสนศึกษา 1340 รด-สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ 2340 ผด-สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ 1350 รด-คณะศิลปศาสตร์ 2350 ผด-คณะศิลปศาสตร์ Plant Description 1360 รด-คณะเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 2360 ผด-คณะเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 1370 รด-สำนักงานสภามหาวิทยาลัย 2370 ผด-สำนักงานสภามหาวิทยาลัย 1380 รด-วิทยาเขตกาญจนบุรี 2380 ผด-วิทยาเขตกาญจนบุรี 1390 รด-คณะกายภาพบำบัด 2390 ผด-คณะกายภาพบำบัด 1400 รด-ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา 2400 ผด-ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา 1410 รด-ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี 2410 ผด-ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี 1420 รด-ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาฯ 2420 ผด-ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาฯ

16 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Storage location Storage Location คือคลังย่อยหรือพื้นที่จัดเก็บวัสดุคงคลัง ภายใต้ Plant เพื่อให้สามารถบริหารจัดการ วัสดุคงคลังได้ในระดับที่ละเอียดขึ้น ในระบบ MU-ERP มีการแบ่ง Storage Location ตามสถานะของวัสดุคงคลังดังนี้ พร้อมใช้ : วัสดุมีสภาพดี พร้อมใช้งาน รอจำหน่าย : วัสดุเสื่อมสภาพหรือหมดความจำเป็นในการใช้งานที่รอการตัดจำหน่าย ให้ยืม : วัสดุสภาพดีพร้อมใช้งาน ที่ให้ส่วนงานอื่นยืม รอเปลี่ยน : วัสดุที่ส่งคืนให้กับผู้ขาย เพื่อให้ผู้ขายวัสดุชนิดเดียวกันมาแลกเปลี่ยนคืน ฝากขาย : วัสดุของส่วนงานที่นำไปฝากขาย เช่นวัสดุของที่ระลึกนำไปฝากขายไว้ที่ร้าน MU Harmony Storage Location พร้อมใช้ รอจำหน่าย ให้ยืม รอเปลี่ยน ฝากขาย

17 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Storage location Storage Location ของวัสดุคงคลังที่มีสถานะพร้อมใช้ สามารถแบ่งได้ตามสถานที่จัดเก็บวัสดุ โดย แบ่งเป็นคลังย่อยระดับส่วนงาน และคลังย่อยระดับกองหรือภาควิชา Storage Location พร้อมใช้ รอจำหน่าย ให้ยืม รอเปลี่ยน ฝากขาย คลังย่อย ระดับส่วนงาน ระดับกอง ระดับภาควิชา

18 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Storage location รหัส Storage Location มี 4 หลัก โดยมีโครงสร้าง ดังนี้ X X XX หลักที่ Running Number: 01-99 3-4 สถานะ: 0=พร้อมใช้, A=รอจำหน่าย, B=ให้ยืม, C=รอเปลี่ยน, D=ฝากขาย 2 1 ประเภท: 1= ส่วนงาน – วัสดุทั่วไป, = กอง/ภาควิชา – วัสดุทั่วไป 5= กอง/ภาควิชา – ยา 7= ส่วนงาน – เวชภัณฑ์, = กอง/ภาควิชา – เวชภัณฑ์

19 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Storage location ตัวอย่าง Storage Location ของสำนักงานอธิการบดี : มีคลังย่อยระดับส่วนงานและระดับกอง/ภาควิชา Plant 1010, 2010 พร้อมใช้ 1A01 รอจำหน่าย 1B01 ให้ยืม 1C01 รอเปลี่ยน 1D01 ฝากขาย 1001 คลังวัสดุ(กลาง) 2001 ค.วัสดุ(กายภาพฯ) 2002 ค.วัสดุ(หอพัก) 2003 ค.วัสดุ(คอนโด) 2004 ค.วัสดุ(IT)

20 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Storage location ตัวอย่าง Storage Location ของคณะทันตแพทย์ฯ : มีคลังย่อยระดับส่วนงานและระดับกอง/ภาควิชา Plant 1030, 2030 พร้อมใช้ 1A01 รอจำหน่าย 1B01 ให้ยืม 1C01 รอเปลี่ยน 1D01 ฝากขาย 1001 คลังวัสดุทั่วไป 2001 คลังสารเคมีฯ 2002 คลังซ่อมบำรุง 5001 คลังยา

21 3. โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure)
Storage location ตัวอย่าง Storage Location ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ : มี 1 คลังย่อยระดับส่วนงาน Plant 1100, 2100 พร้อมใช้ 1A01 รอจำหน่าย 1B01 ให้ยืม 1C01 รอเปลี่ยน 1D01 ฝากขาย 1001 คลังวัสดุทั่วไป

22 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

23 4. ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data)
ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง ประกอบด้วย 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลหลักวัสดุ มีดังนี้ 4.1.1 ประเภทวัสดุ (Material Type) 4.1.2 มุมมองของข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master View) 4.1.3 ระดับของข้อมูลหลักวัสดุ 4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) 4.1.5 คลาสในการตีราคา (Valuation Class) 4.1.6 กลุ่มวัสดุ (Material Group) 4.1.7 การจำแนกหมวดหมู่ (Classification) 4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master)

24 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
Data Center – ส่วนกลาง พัสดุส่วนงาน แสดง/ค้นหาข้อมูลหลักวัสดุที่ต้องการใช้งานในระบบ SAP 1.ไม่พบ Material No. หรือ สร้างข้อมูลหลักวัสดุในระบบ SAP พบ Material No. แต่ไม่ได้สร้างระดับ Plant 2.พบ Material No. เปลี่ยนแปลงข้อมูลหลักวัสดุในระบบ SAP 3.ข้อมูลหลักวัสดุในระบบไม่ถูกต้อง ตรวจสอบข้อมูลหลักวัสดุในระบบ SAP ถูกต้องหรือไม่ 4.ข้อมูลหลักวัสดุในระบบถูกต้อง นำข้อมูลหลักวัสดุที่พบไปใช้ในการบันทีกรายการในระบบ SAP

25 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
Data Center – ส่วนกลาง สร้างข้อมูลหลักวัสดุระดับ Client Data Center ตรวจสอบว่าข้อมูลหลักวัสดุที่ส่วนงานแจ้งขอเพิ่มไม่มีในระบบ จึงจะสร้างข้อมูลหลักวัสดุระดับ Client สร้างข้อมูลหลักวัสดุระดับ Plant นำข้อมูลหลักวัสดุมาสร้างในระดับ Plant สร้างข้อมูลหลักวัสดุระดับ Valuation Type นำข้อมูลหลักวัสดุมาสร้างในระดับ Valuation Type

26 Material Type สัมพันธ์กับ Material Number
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) ประเภทวัสดุ (Material Type) เป็นการจำแนกวัสดุตามวัตถุประสงค์หลักในการใช้งานวัสดุ ได้แก่ Material Type Description 101 วัสดุสำนักงาน 102 วัสดุซ่อมบำรุง/ก่อสร้าง 103 วัสดุงานบ้านงานครัว 104 วัสดุการเกษตร 105 วัสดุยานพาหนะและขนส่ง 106 วัสดุคอมพิวเตอร์ 107 วัสดุไฟฟ้า วิทยุ โฆษณาและเผยแพร่ 108 วัสดุหนังสือ วารสารและสิ่งพิมพ์ 109 วัสดุแต่งกาย 110 วัสดุกีฬา 111 วัสดุสนาม 112 วัสดุอาหารสัตว์ 113 วัสดุของที่ระลึก 114 วัสดุบริโภค Material Number (เลขที่วัสดุ- 8 หลัก) Material Type สัมพันธ์กับ Material Number

27 Material Type สัมพันธ์กับ Material Number
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) ประเภทวัสดุ (Material Type) (ต่อ) เป็นการจำแนกวัสดุตามวัตถุประสงค์หลักในการใช้งานวัสดุ ได้แก่ Material Type Description 115 วัสดุสำรวจ 116 วัสดุการศึกษา 117 วัสดุเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อลื่น 118 วัสดุอาวุธ 119 วัสดุเลี้ยงสัตว์ 120 วัสดุสัตว์ทดลอง 121 วัสดุเครื่องดนตรี 200 ยา 300 เวชภัณฑ์ 400 วัสดุทันตกรรม 500 วัสดุวิทยาศาสตร์ 600 บรรจุภัณฑ์ Material Number (เลขที่วัสดุ- 8 หลัก) Material Type สัมพันธ์กับ Material Number เช่น กบเหลาดินสอ จัดเป็นประเภทวัสดุ 101 วัสดุสำนักงาน มี Material Number ยา Paracetamol 500 mg จัดเป็นประเภทวัสดุ 200 ยา มี Material Number

28 Material Master 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.2 มุมมองของข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master View) การจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์อยู่ภายใต้มุมมอง (View) เดียวกัน Plant Data/Storage Basic data MRP Pc t A B Accounting Costing Classification Purchasing Material Master

29 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.2 มุมมองของข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master View) (ต่อ) คือการจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์อยู่ภายใต้มุมมอง (View) เดียวกัน โดยมุมมอง (View) ของ ข้อมูลหลักวัสดุที่ใช้งานมีดังนี้ Basic Data (ข้อมูลพื้นฐาน) : เก็บข้อมูลพื้นฐานของวัสดุ ได้แก่ รหัสวัสดุ คำอธิบายวัสดุ กลุ่มวัสดุ (Material Group ) หน่วยนับ เป็นต้น Classification (การจำแนกหมวดหมู่) : ประกอบด้วย 2 ส่วน เก็บข้อมูลคุณสมบัติเพิ่มเติมของวัสดุ ที่ไม่สามารถเก็บใน field มาตาฐานของ SAP ได้ เก็บข้อมูล Lot ของวัสดุ ได้แก่ วันที่รับ วันที่หมดอายุ หมายเลข Lot เป็นต้น Purchasing (การจัดซื้อ) : เก็บข้อมูลการจัดซื้อของวัสดุ MRP (การวางแผนความต้องการวัสดุ) : เก็บข้อมูลการวางแผนความต้องการวัสดุ เช่นจุดสั่งซื้อ, Lot Size Plant data/Storage (การจัดเก็บวัสดุในคลัง) : เก็บข้อมูลการจัดเก็บวัสดุ เช่น การจัดเก็บวัสดุเป็น Lot Accounting (การบัญชี) : เก็บข้อมูลสำหรับการบันทึกบัญชี วิธีการคิดต้นทุนวัสดุ ราคาถัวเฉลี่ย ราคา ต้นทุนมาตรฐาน Costing (ต้นทุน) : เก็บข้อมูลสำหรับระบบบัญชีบริหาร

30 View (มุมมองข้อมูลหลักวัสดุ)
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) 4.1.2 มุมมองของข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master View) (ต่อ) Material Type แต่ละประเภทมีมุมมองที่แตกต่างกัน ดังนี้ Material Type (ประเภทวัสดุ) View (มุมมองข้อมูลหลักวัสดุ) Basic data Classification Purchasing MRP Plant data/Storage Accounting Costing 600 วัสดุทั่วไป บรรจุภัณฑ์ X 200 300 400 500 ยา เวชภัณฑ์ วัสดุทันตกรรม วัสดุวิทยาศาสตร์ X เก็บข้อมูล Lot ของวัสดุ - 200 ยา (ทุกรายการ) 400 วัสดุทันตกรรม (เฉพาะรายการที่มีวันหมดอายุ) 500 วัสดุวิทยาศาสตร์ (เฉพาะรายการที่มีวันหมดอายุ) เก็บข้อมูลคุณสมบัติเพิ่มเติมของวัสดุ 200 ยา 300 เวชภัณฑ์ 500 วัสดุวิทยาศาสตร์

31 ข้อมูลระดับ Valuation Type
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) ข้อมูลที่มีผลทุก Plant ได้แก่ข้อมูลในมุมมอง Basic Data, Classification การจัดเก็บวัสดุเป็น Lot (Batch Management) ข้อมูลที่แตกต่างกันในแต่ละ Plant ได้แก่ข้อมูลในมุมมอง Purchasing, MRP, Plant data/Storage, Accounting, Costing ข้อมูลที่แตกต่างกันในแต่ละ Valuation Type ได้แก่ข้อมูลในมุมมอง Accounting 4.1.3 ระดับของข้อมูลหลักวัสดุ มุมมองของข้อมูลหลักวัสดุ (View) มีผลแตกต่างกัน ดังนี้ ข้อมูลระดับ Client ข้อมูลระดับ Plant ข้อมูลระดับ Valuation Type

32 ข้อมูลระดับ Valuation Type
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) ข้อมูลที่มีผลทุก Plant : Material Number คำอธิบายวัสดุ : ปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน ขนาด 0.5mm ข้อมูลที่แตกต่างกันในแต่ละ Plant : Plant 1010 มี Reorder Point (จุดต่ำสุดในการสั่งซื้อ) 20 ด้าม Plant 1200 มี Reorder Point (จุดต่ำสุดในการสั่งซื้อ) 100 ด้าม Plant 1340 ไม่มีการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ ERP ข้อมูลที่แตกต่างกันในแต่ละ Valuation Type: Plant 1010 ปากกาเป็นวัสดุซื้อมา มีราคาถัวเฉลี่ยด้ามละ 5 บาท Plant 1200 ปากกาเป็นวัสดุซื้อมา มีราคาถัวเฉลี่ยด้ามละ บาท Plant 1340 ปากกาเป็นวัสดุซื้อมา มีราคาถัวเฉลี่ยด้ามละ 3 บาท 4.1.3 ระดับของข้อมูลหลักวัสดุ (ต่อ) ตัวอย่าง ข้อมูลระดับ Client ข้อมูลระดับ Plant ข้อมูลระดับ Valuation Type

33 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) แต่ละส่วนงานสามารถมีมุมมองต่อวัสดุหนึ่งๆ แตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของวัสดุ และวิธีการได้มา ซึ่งส่งผลให้มีการลงบันทึกบัญชี และวิธีการคิดต้นทุนวัสดุที่แตกต่างกัน “วัสดุ” : วัสดุที่จัดหามาเพื่อใช้ภายในเป็นวัตถุประสงค์หลัก “สินค้า” : วัสดุที่จัดหามาเพื่อขายเป็นวัตถุประสงค์หลัก Valuation Type วัสดุเพื่อใช้ (MAT) ซื้อมา (BUY) ผลิตเอง (MFG) สินค้าเพื่อขาย (FGS) MAT_BUY MAT_MFG FGS_BUY FGS_MFG

34 การบันทึกบัญชีวัสดุคงคลัง วิธีการคิดต้นทุนวัสดุ
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) เช่น สถาบันโภชนาการผลิตน้ำดื่มบรรจุถังไว้ขาย valuation type = FGS_MFG สำนักงานอธิการบดีซื้อน้ำดื่มบรรจุถังไว้ดื่มภายในส่วนงาน valuation type = MAT_BUY คณะวิศวฯ ซื้อเหรียญที่ระลึก 100 ปี ไว้ขายให้กับบุคคลภายนอก valuation type = FGS_BUY กรณี วัสดุหนึ่งๆ ส่วนงานซื้อมาเพื่อใช้และเพื่อขาย หรือ วัสดุหนึ่งๆ ส่วนงานผลิตเองเพื่อใช้และเพื่อขาย ประเภทการตีราคาของวัสดุให้กำหนดตามสัดส่วนที่มากกว่า เช่น ซื้อวัสดุมาเพื่อใช้เป็นหลัก แต่มีมากเพียงพอ จึงนำวัสดุออกมาขายด้วย จึงกำหนด Valuation Type เป็น MAT_BUY 4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) (ต่อ) ประเภทการตีราคา ทั้งหมดมีดังนี้ ประเภทการตีราคา (Valuation Type) ความหมาย การบันทึกบัญชีวัสดุคงคลัง GL วิธีการคิดต้นทุนวัสดุ (Price Control) MAT_BUY วัสดุซื้อมาเพื่อใช้ วัสดุ ต้นทุนถัวเฉลี่ย FGS_BUY สินค้าซื้อมาเพื่อขาย สินค้า MAT_MFG วัสดุผลิตเองเพื่อใช้ ต้นทุนมาตรฐาน FGS_MFG สินค้าผลิตเองเพื่อขาย

35 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) (ต่อ) วิธีการคิดต้นทุนวัสดุ (Price Control) มี 2 วิธี วัสดุหรือสินค้าที่ซื้อมา : ใช้วิธีการคิดต้นทุนแบบถัวเฉลี่ย (Moving Average Price) คือวิธีการคิดต้นทุนวัสดุโดยบันทึกรายการด้วยต้นทุนจริง ณ. ขณะทำรายการ และจะทำการถัวเฉลี่ยต้นทุนใหม่ทุกครั้งหลังจากบันทึกรายการ วัสดุหรือสินค้าที่ผลิตเอง : ใช้วิธีการคิดต้นทุนแบบมาตรฐาน (Standard Price) คือวิธีการคิดต้นทุนวัสดุโดยการกำหนดราคาต้นทุนมาตรฐานก่อนเริ่มทำรายการ และเมื่อมีการทำรายการระบบจะบันทึกบัญชีด้วยราคาต้นทุนมาตรฐานที่กำหนด กรณีที่มีผลต่างระหว่างต้นทุนมาตรฐาน กับต้นทุนจริง ผลต่างที่เกิดขึ้นจะถูกบันทึกลงบัญชีผลต่างเนื่องจากราคา ราคาต้นทุนมาตรฐานกำหนดโดยหน่วยงานที่ดูแลต้นทุนการผลิต ราคาต้นทุนมาตรฐานสามารถทบทวนเปลี่ยนแปลงได้ หากต้นทุนการผลิตจริงแตกต่างจากราคาต้นทุนมาตรฐานที่กำหนดไว้

36 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) (ต่อ) วิธีการคิดต้นทุนวัสดุ (Price Control) มี 2 วิธี วัสดุหรือสินค้าที่ซื้อมา : ใช้วิธีการคิดต้นทุนแบบถัวเฉลี่ย (Moving Average Price) ตัวอย่าง วิธีการคิดต้นทุนแบบถัวเฉลี่ย หมายเหตุ: ระบบคิดราคาต้นทุนถัวเฉลี่ยให้อัตโนมัติ จำนวนคงเหลือ (A) มูลค่ารวม (B) ต้นทุนถัวเฉลี่ย (=B/A) ยอดคงเหลือเริ่มต้น ซื้อปากกาแดง 10 ด้าม ราคาด้ามละ 5 บาท รวม 50 บาท 10 (0+10) 50 (0+50) 5 (=50/5) จ่ายปากกาแดงให้หน่วยงาน 4 ด้าม มูลค่าวัสดุที่จ่าย 20 บาท (4ด้าม*5บาท) 6 (10-4) 30 (50-20) (=30/6) ซื้อปากกาแดง 10 ด้าม ราคาด้ามละ 10 บาท รวม 100 บาท 16 (6+10) 130 (30+100) 8.13 (=130/16) จ่ายปากกาแดงให้หน่วยงาน 4 ด้าม มูลค่าวัสดุที่จ่าย บาท (4ด้าม*130/16บาท) 12 (16-4) 97.50 ( ) (=97.50/12)

37 =จำนวน x ต้นทุนมาตรฐาน
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) 4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) (ต่อ) วิธีการคิดต้นทุนวัสดุ (Price Control) มี 2 วิธี วัสดุหรือสินค้าที่ผลิตเอง : ใช้วิธีการคิดต้นทุนแบบมาตรฐาน (Standard Price) ตัวอย่าง วิธีการคิดต้นทุนแบบมาตรฐาน หมายเหตุ: - การทำรายการระบบจะบันทึกบัญชีด้วยราคาต้นทุนมาตรฐานที่กำหนดเสมอ - มูลค่าวัสดุ/สินค้าที่ตัดจ่ายเพื่อขายคือต้นทุนขาย ไม่ใช่ราคาขาย จำนวนคงเหลือ มูลค่ารวม =จำนวน x ต้นทุนมาตรฐาน ยอดคงเหลือเริ่มต้น ผลิตน้ำดื่ม 10 ขวด ราคาต้นทุนมาตรฐานขวดละ 5 บาท มูลค่ารวม 50 บาท 10 50 (10x5) ตัดจ่ายน้ำดื่มเพื่อขาย 4 ขวด ราคาต้นทุนมาตรฐานขวดละ 5 บาท ต้นทุนขาย 20 บาท 6 (10-4) 30 (6x5) ผลิตน้ำดื่ม 20 ขวด ราคาต้นทุนมาตรฐานขวดละ 5 บาท มูลค่ารวม 100 บาท 26 (6+20) 130 (26x5) ตัดจ่ายน้ำดื่มเพื่อขาย 10 ขวด ราคาต้นทุนมาตรฐานขวดละ 5 บาท ต้นทุนขาย 50 บาท 16 (26-10) 80 (16x5)

38 X X XX 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.5 คลาสในการตีราคา (Valuation Class) ใช้ในการกำหนดการลงบัญชีอัตโนมัติ เพื่อให้วัสดุที่มีคุณลักษณะเหมือนกันลงบันทึกภายใต้บัญชีวัสดุคงคลัง (GL-บัญชีแยกประเภท) เดียวกัน รหัส Valuation Class มี 4 หลัก โดยมีโครงสร้างดังนี้ X X XX “M” : วัสดุเพื่อใช้ “F” : สินค้าเพื่อขาย 1 หลักที่ Material Type / ประเภทวัสดุ =วัสดุทั่วไป, 200=ยา, 300=เวชภัณฑ์, 400=วัสดุทันตกรรม, 500=วัสดุวิทยาศาสตร์, 600=บรรจุภัณฑ์ 2-4

39 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.5 คลาสในการตีราคา (Valuation Class) (ต่อ) Valuation Class ของ “วัสดุ” มีดังนี้ Valuation Class คำอธิบาย M101 วัสดุสำนักงาน-วัสดุ M102 วัสดุซ่อมบำรุงฯ-วัสดุ M103 วัสดุงานบ้านงานครัว-วัสดุ M104 วัสดุการเกษตร-วัสดุ M105 วัสดุยานพาหนะและขนส่ง-วัสดุ M106 วัสดุคอมพิวเตอร์-วัสดุ M107 วัสดุไฟฟ้าวิทยุโฆษณาฯ-วัสดุ M108 วัสดุหนังสือ วารสารฯ-วัสดุ M109 วัสดุแต่งกาย-วัสดุ M110 วัสดุกีฬา-วัสดุ M111 วัสดุสนาม-วัสดุ M112 วัสดุอาหารสัตว์-วัสดุ M113 วัสดุของที่ระลึก-วัสดุ Valuation Class คำอธิบาย M114 วัสดุบริโภค-วัสดุ M115 วัสดุสำรวจ-วัสดุ M116 วัสดุการศึกษา-วัสดุ M117 วัสดุเชื้อเพลิงน้ำมันฯ-วัสดุ M118 วัสดุอาวุธ-วัสดุ M119 วัสดุเลี้ยงสัตว์ –วัสดุ M120 วัสดุสัตว์ทดลอง-วัสดุ M121 วัสดุเครื่องดนตรี-วัสดุ M200 ยา-วัสดุ M300 เวชภัณฑ์-วัสดุ M400 วัสดุทันตกรรม-วัสดุ M500 วัสดุวิทยาศาสตร์-วัสดุ M600 บรรจุภัณฑ์-วัสดุ

40 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.5 คลาสในการตีราคา (Valuation Class) (ต่อ) Valuation Class ของ “สินค้า” มีดังนี้ Valuation Class คำอธิบาย F101 วัสดุสำนักงาน-สินค้า F102 วัสดุซ่อมบำรุงฯ-สินค้า F103 วัสดุงานบ้านงานครัว-สินค้า F104 วัสดุการเกษตร-สินค้า F105 วัสดุยานพาหนะและขนส่ง-สินค้า F106 วัสดุคอมพิวเตอร์-สินค้า F107 วัสดไฟฟ้าวิทยุโฆษณาฯ-สินค้า F108 วัสดุหนังสือ วารสารฯ-สินค้า F109 วัสดุแต่งกาย-สินค้า F110 วัสดุกีฬา-สินค้า F111 วัสดุสนาม-สินค้า F112 วัสดุอาหารสัตว์-สินค้า F113 วัสดุของที่ระลึก-สินค้า Valuation Class คำอธิบาย F114 วัสดุบริโภค-สินค้า F115 วัสดุสำรวจ-สินค้า F116 วัสดุการศึกษา-สินค้า F117 วัสดุเชื้อเพลิงน้ำมันฯ-สินค้า F118 วัสดุอาวุธ-สินค้า F119 วัสดุเลี้ยงสัตว์ -สินค้า F120 วัสดุสัตว์ทดลอง-สินค้า F121 วัสดุเครื่องดนตรี-สินค้า F200 ยา-สินค้า F300 เวชภัณฑ์-สินค้า F400 วัสดุทันตกรรม-สินค้า F500 วัสดุวิทยาศาสตร์-สินค้า F600 บรรจุภัณฑ์-สินค้า

41 X XXXXX 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.6 กลุ่มวัสดุ (Material Group) ใช้ในการจำแนก Material ในอีกมุมมองหนึ่ง ซึ่งจะช่วยในการเรียกดูรายงาน การวิเคราะห์ และช่วยในการค้นหาข้อมูลวัสดุ รหัสกลุ่มวัสดุ มี 6 หลัก โดยมีโครงสร้างดังนี้ หมายเหตุ: Material Group ที่ขึ้นต้นด้วย A,B,C,S,S9 ใช้สำหรับบันทึกใบขอจัดหา (PR) และใบสั่ง (PO) เพื่อซื้อสินทรัพย์ถาวร,ครุภัณฑ์,สินทรัพย์ไม่มีตัวตน,งานจ้างบริการ ซื้อเป็นค่าใช้จ่าย, ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า X XXXXX หลักที่ 2-6 Running No./ Asset class (กรณีครุภัณฑ์) 1 วัสดุ: =วัสดุทั่วไป, 2=ยา, 3=เวชภัณฑ์, 4=วัสดุทันตกรรม, 5=วัสดุวิทยาศาสตร์, 6=บรรจุภัณฑ์ สินทรัพย์: A=สินทรัพย์ถาวร, B=ครุภัณฑ์, C=สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่าย: S=จ้างบริการ (service) ค่าใช้จ่าย, S9=ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า

42 Material Group Description ค่าใช้จ่าย จ่ายล่วงหน้า
4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) 4.1.6 กลุ่มวัสดุ (Material Group) (ต่อ) ตัวอย่าง: Material Type ประเภทวัสดุ Material Group กลุ่มวัสดุ Material Group Description คำอธิบายกลุ่มวัสดุ 101 วัสดุสำนักงาน 101001 101002 101003 101004 ผลิตภัณฑ์กระดาษใช้ในสำนักงาน หมึกพิมพ์เครื่องใช้สำนักงาน แฟ้ม/อุปกรณ์จัดเก็บและเข้าเล่มทำปก เครื่องเขียนและอุปกรณ์สำนักงาน 113 วัสดุของที่ระลึก 113001 วัสดุของที่ระลึก 200 ยา 200001 200002 .... ยาเม็ด/Capsule/Immedia Release Cap/Enteric Coated Beadlet ยาเม็ด/Capsule/Immedia Release Cap/Hard Gastro Resist.Cap - A10100 A10200 A20100 ที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ ที่ดินราชพัสดุ อาคารเพื่อการพักอาศัย B40100 B40200 ครุภัณฑ์สำนักงาน ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง S00001 S00002 จ้างที่ปรึกษากฏหมาย จ้างที่ปรึกษาธุรกิจ S90001 S90002 ค่าวารสารจ่ายล่วงหน้า ค่าสมาชิกจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ถาวร ครุภัณฑ์ จ้างบริการ ค่าใช้จ่าย จ่ายล่วงหน้า

43 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master)
4.1.7 การจำแนกหมวดหมู่ (Classification) มี 2 ประเภท Material Class (Class Type 001) เป็นหมวดหมู่ที่ใช้เก็บข้อมูลคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะส่วนเพิ่มของวัสดุ โดยมีการเก็บข้อมูลคุณสมบัติเพิ่มเติม สำหรับประเภทวัสดุ ดังต่อไปนี้ Batch Class (Class Type 023) เป็นหมวดหมู่ที่ใช้เก็บข้อมูล Lot ของวัสดุที่มีวันหมดอายุ เช่น วันที่หมดอายุ วันที่รับ เป็นต้น โดยประเภทวัสดุที่ มีการเก็บข้อมูล Lot ของวัสดุที่มีวันหมดอายุ ได้แก่ Material Type ประเภทวัสดุ Classification ความหมาย 200 ยา 2001 Class ของยา 300 เวชภัณฑ์ 3001 Class ของเวชภัณฑ์ 500 วัสดุวิทยาศาสตร์ 5001 Class ของวัสดุวิทยาศาสตร์ Material Type ประเภทวัสดุ Classification ความหมาย 200 ยา (ทุกรายการวัสดุ) 400 วัสดุทันตกรรม (บางรายการวัสดุ) 500 วัสดุวิทยาศาสตร์ (บางรายการวัสดุ) ZBATCH Batch Class

44 4. ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data)
ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง ประกอบด้วย 4.1 ข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master) คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลหลักวัสดุ มีดังนี้ 4.1.1 ประเภทวัสดุ (Material Type) 4.1.2 มุมมองของข้อมูลหลักวัสดุ (Material Master View) 4.1.3 ระดับของข้อมูลหลักวัสดุ 4.1.4 ประเภทการตีราคา (Valuation Type) 4.1.5 คลาสในการตีราคา (Valuation Class) 4.1.6 กลุ่มวัสดุ (Material Group) 4.1.7 การจำแนกหมวดหมู่ (Classification) 4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master)

45 4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master)
Batch คือข้อมูล Lot สินค้า การจัดเก็บวัสดุในคลังสามารถจัดเก็บแยกย่อยตาม Lot สินค้าที่รับเข้าคลังได้ เนื่องจากแต่ละ Lot มีวันหมดอายุที่แตกต่างกัน วันที่รับเข้าแตกต่างกัน ยาพาราเซตามอล Batch 0001 หมดอายุ Batch 0002 หมดอายุ Batch 0003 หมดอายุ Batch 0004 หมดอายุ Lot No. วันที่หมดอายุ Lot No. วันที่หมดอายุ

46 4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master) (ต่อ)
Material Type (ประเภทวัสดุ) ที่มีวันหมดอายุ จึงจะมีการเก็บข้อมูล Batch หรือข้อมูล Lot ของสินค้า ได้แก่ ประเภทวัสดุดังนี้ - 200 ยา ยาทุกรายการมีวันหมดอายุ - 400 วัสดุทันตกรรม วัสดุทันตกรรมบางรายการมีวันหมดอายุ - 500 วัสดุวิทยาศาสตร์ วัสดุวิทยศาสตร์บางรายการมีวันหมดอายุ วิธีการสร้างข้อมูลหลัก Batch สามารถสร้างได้ 2 วิธี คือ การสร้างข้อมูล Batch แบบอัตโนมัติ ขั้นตอนการรับสินค้าอ้างอิงใบสั่งพร้อมกับการสร้างข้อมูล Batch ให้อัตโนมัติ การสร้างข้อมูล Batch เอง สร้างข้อมูล Batch เองแล้วจึงนำข้อมูลเลขที่ Batch ที่สร้างขึ้นไปอ้างอิงในการบันทึกรายการ เช่นนำไประบุขั้นตอนการบันทึกรับวัสดุอ้างอิงใบสั่ง ระบุในการปรับยอดวัสดุจากการตรวจนับวัสดุคงคลัง เป็นต้น

47 4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master) (ต่อ)
Batch Search Strategy การจ่ายวัสดุประเภท 200 ยา, 400 วัสดุทันตกรรม, 500 วัสดุวิทยาศาสตร์ ที่มีอายุสินค้าจำกัด และมีการจัดเก็บสินค้าเป็น Batch ระบบสามารถเสนอแนะให้จ่ายวัสดุ Batch ใดออกไปก่อน โดย ฟังก์ชั่นการเสนอให้จ่ายวัสดุ Batch ใดออกไปก่อนเรียกว่า “Batch Search Strategy” Batch Search Strategy มี 2 วิธี 1. ZEXP : จ่าย Lot ของวัสดุที่หมดอายุก่อน Lot ของวัสดุที่หมดอายุภายหลัง 2. ZFIF : จ่าย Lot ของวัสดุที่รับเข้ามาก่อน Lot ของวัสดุที่รับเข้ามาภายหลัง Batch Search Strategy สามารถกำหนดแตกต่างกันในแต่ละ Plant และแตกต่างกันตามรายการวัสดุ เช่น Plant 1030,2030 กำหนดให้จ่ายยา A ด้วยวิธี ZEXP Plant 1130,2130 กำหนดให้จ่ายยา A ด้วยวิธี ZFIF Plant 1030,2030 กำหนดให้จ่ายยา B ด้วยวิธี ZFIF Plant 1030,2030 กำหนดให้จ่ายยา C ด้วยวิธี ZEXP วิธีการจ่าย Lot ของวัสดุสามารถกำหนดแตกต่างกันในแต่ละ Plant ได้ วิธีการจ่าย Lot ของวัสดุภายใต้ Plant เดียวกันสามารถกำหนดแตกต่างกันตามรายการวัสดุได้

48 4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master) (ต่อ)
Batch Search Strategy (ต่อ) การกำหนด Batch Search Strategy เป็นเพียงทางเลือกที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกว่าจะจ่าย Lot ของวัสดุใดออกไปก่อน หากพบว่าไม่สามารถจ่าย Lot ของวัสดุตามที่ระบบเสนอให้ เช่น Lot ที่ระบบเสนอ ให้เสื่อมสภาพ ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขจาก Lot ที่ระบบเสนอให้เป็น Lot ที่ตัดจ่ายจริง การกำหนด Batch Search Strategy จะกำหนดไว้พร้อมกับขั้นตอนการสร้างข้อมูลหลักวัสดุ สามารถ เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ในภายหลัง หากไม่ได้กำหนด Batch Search Strategy ไว้ ผู้ใช้งานก็สามารถบันทึก การจ่ายวัสดุได้ตามปกติ โดยจะต้องระบุเลขที่ Batch ที่จะตัดจ่ายจริง ฟังก์ชั่น Batch Search Strategy ไม่สามารถช่วยเสนอว่าจะจ่าย Lot ใดออกไปก่อนในกรณีการตัด จำหน่ายวัสดุเสื่อมสภาพหรือหมดความจำเป็นในการใช้งาน ผู้ใช้งานต้องระบุ Lot ที่เสื่อมสภาพหรือหมด ความจำเป็นในการใช้งานเอง

49   4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master) (ต่อ)
Batch Search Strategy (ต่อ) ตัวอย่าง กรณี ZEXP (การจ่าย Lot ของวัสดุที่หมดอายุก่อน Lot ของวัสดุที่หมดอายุภายหลัง) ยาแอสไพริน มี 3 Batch โดยมีเลขที่ Batch, วันที่หมดอายุ และวันที่รับเข้าแสดงดังข้างล่าง โดยกำหนดให้จ่าย Lot ของวัสดุที่หมดอายุก่อน Lot ของวัสดุที่หมดอายุภายหลัง Batch 1 และ Batch 2 มีวันที่หมดอายุก่อน Batch 3 และเป็นวันที่หมดอายุตรงกัน ในกรณีพบว่า Batch มีวันที่หมดอายุตรงกัน ระบบจะเสนอให้จ่าย Batch ที่มีเลขที่น้อยกว่าออกไปก่อน ดังนั้นระบบเสนอให้จ่าย Batch 1 ออกไปก่อน Batch 1 หมดอายุ วันที่รับเข้า Batch 2 หมดอายุ วันที่รับเข้า Batch 1 หมดอายุ วันที่รับเข้า Batch 3 หมดอายุ วันที่รับเข้า

50   4.2 ข้อมูลหลัก Batch (Batch Master) (ต่อ)
Batch Search Strategy (ต่อ) ตัวอย่าง กรณี ZFIF (การจ่าย Lot ของวัสดุที่รับเข้ามาก่อน Lot ของวัสดุที่รับเข้ามาภายหลัง) ยาพาราเซตามอล มี 3 Batch โดยมีเลขที่ Batch, วันที่หมดอายุ และวันที่รับเข้าแสดงดังข้างล่าง โดยกำหนดให้จ่าย Lot ของวัสดุที่รับเข้ามาก่อน Lot ของวัสดุที่รับเข้ามาภายหลัง Batch 2 และ Batch 3 รับเข้ามาก่อน Batch 1 และรับเข้ามาวันเดียวกัน ในกรณีพบว่า Batch รับเข้ามาวันเดียวกัน ระบบจะเสนอให้จ่าย Batch ที่มีเลขที่น้อยกว่าออกไปก่อน ดังนั้นระบบเสนอให้จ่าย Batch 2 ออกไปก่อน Batch 1 หมดอายุ วันที่รับเข้า Batch 2 หมดอายุ วันที่รับเข้า Batch 2 หมดอายุ วันที่รับเข้า Batch 3 หมดอายุ วันที่รับเข้า

51 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

52 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

53 5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement)
Goods Receipt: การรับวัสดุ Goods Issue: การจ่ายวัสดุ Goods Transfer: การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย หน่วยงาน Goods Issue Return Issue Goods Receipt Goods Transfer Goods Return Storage Location Storage Location Vendor

54 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

55 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type)
เป็นรหัส 3 หลัก ใช้แสดงประเภท/วิธีการเคลื่อนย้ายวัสดุ เช่น การรับวัสดุ, การจ่ายวัสดุ, การย้ายวัสดุ เป็นต้น และยังแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงจำนวนวัสดุคงคลังว่าจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นหรือลดลง Movement Type สำหรับยกเลิกหรือกลับรายการ = Movement Type ตั้งต้น + 1 โดยMovement Type กลับรายการจะมีทิศทางการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังตรงกันข้ามกับ Movement Type ตั้งต้น ตัวอย่าง Movement Type 103 รับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง เพื่อรอตรวจรับ จำนวนวัสดุคงคลังเพิ่มขึ้น Movement Type 104 สำหรับกลับรายการรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง เพื่อรอตรวจรับ จำนวนวัสดุคงคลังลดลง การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง เพื่อรอการตรวจรับ 103 จำนวนวัสดุคงคลัง + ผู้ขาย 104 คลังย่อย จำนวนวัสดุคงคลัง – กลับรายการ การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง เพื่อรอการตรวจรับ

56 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type)
สรุป Movement Type ที่ใช้ในระบบ MU-ERP หัวข้อ Transaction Code Movement Type 1. การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง-กรณีรับตามจำนวน 1.1 การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง เพื่อรอการตรวจรับ (GR into GR-Blocked Stock) migo 103 1.2 การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง ผ่านการตรวจรับ (Released from GR-Blocked Stock) 105 2. การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง-กรณีตรวจรับตามวงเงิน, ตามเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน 2.1 การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง เพื่อรอการตรวจรับ ml81n - 2.2 การบันทึกรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง ผ่านการตรวจรับ 101 3. การบันทึกรายการเกี่ยวกับการจ้างงาน Subcontract 3.1 การจ่ายวัสดุให้กับผู้ขายสำหรับการจ้างงาน Subcontract mb1b 541 3.2 การบันทึกรับวัสดุอ้างอิงใบสั่งจากการจ้างงาน Subcontract เพื่อรอการตรวจรับ 3.3 การบันทึกรับวัสดุรับวัสดุอ้างอิงใบสั่งจากการจ้างงาน Subcontract ผ่านการตรวจรับ และตัดจ่ายวัสดุใช้ไปในการจ้างงาน Subcontract 543 4. การบันทึกรับวัสดุจากการบริจาค รับโอนภายนอก รับจากการชดใช้ การบันทึกรับวัสดุจากโครงการวิจัย 911 923 5. การยืม-คืนวัสดุระหว่างส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล 5.1 การบันทึกการยืมวัสดุระหว่างส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล 915 5.2 การบันทึกการตัดจ่ายวัสดุเนื่องจากผู้ยืมขอไม่คืน 201 5.3 การบันทึกการคืนวัสดุจากการยืม 917 5.4 การบันทึกการตัดจ่ายวัสดุกรณีผู้ยืมคืนเป็นเงิน กรณีตัดจ่ายวัสดที่ผลิตเอง กรณีตัดจ่ายวัสดุที่ซื้อมา 933 935

57 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type)
สรุป Movement Type ที่ใช้ในระบบ MU-ERP (ต่อ) หัวข้อ Transaction Code Movement Type 6. การยืม-คืนวัสดุจากภายนอก 6.1 การบันทึกรับวัสดุจากการยืมภายนอก migo 919 6.2 การจ่ายวัสดุคืนจากการยืมภายนอก 921 7. การจ่ายวัสดุภายในส่วนงาน 7.1 การสร้าง/เปลี่ยนแปลง/แสดงใบเบิก (Reservation) mb21,mb22,mb23 201 7.2 การจ่ายวัสดุภายในส่วนงานอ้างอิงใบเบิก (Reservation) 7.3 การจ่ายวัสดุภายในส่วนงานไม่อ้างอิงใบเบิก (Reservation) 8.การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย ภายใต้ส่วนงานเดียวกัน 8.1 การสร้าง/เปลี่ยนแปลง/แสดงใบเบิก (Reservation) 311 8.2 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อยอ้างอิงใบเบิก (Reservation) 8.3 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อยไม่อ้างอิงใบเบิก (Reservation) 9. การจำหน่ายวัสดุ 9.1 การโอนวัสดุไปยังคลังรอตัดจำหน่าย 929 9.2 การบันทึกการจำหน่ายวัสดุ การขายโดยวิธีขายทอดตลาดหรือตกลงราคา การโอนภายนอกหรือบริจาค การแปรสภาพ/ทำลายหรือตัดเป็นสูญ - การโอนภายใน 903 905 909 907 9.3 การบันทึกรับวัสดุจากการโอนภายใน 913 10. การผลิต 10.1 การบันทึกจ่ายวัสดุใช้ไปในการผลิต 925 10.2 การบันทึกรับวัสดุที่ได้จากการผลิต 927

58 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type)
สรุป Movement Type ที่ใช้ในระบบ MU-ERP (ต่อ) หัวข้อ Transaction Code Movement Type 11. การขายสินค้า 11.1 การบันทึกการขายสินค้า ขายภายนอก สินค้าซื้อมา สินค้าผลิตเอง ขายระหว่างส่วนงาน migo 931 901 935 933 11.2 การบันทึกรับสินค้าคืนจากการขาย รับสินค้าคืนจากการขายภายนอก รับสินค้าคืนจากการขายระหว่างส่วนงาน 932 902 936 934 12. การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning) md01,md03 -

59 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

60 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt)
การรับวัสดุ ส่งผลให้จำนวนวัสดุในคลังเพิ่มขึ้น การรับวัสดุ แบ่งเป็น 2 กรณี การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง วัสดุคงคลัง (Stock) สินทรัพย์, ครุภัณฑ์ (Asset) งานระหว่างทำ/สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง (AUC) จ้างบริการ, ค่าใช้จ่าย, ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า การรับวัสดุไม่อ้างอิงใบสั่ง รับวัสดุจากการบริจาค รับโอนภายนอก รับจากการชดใช้ รับจากโครงการวิจัย Goods Receipt Storage Location Vendor จำนวนวัสดุคงคลัง +

61 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt)
การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง มีขั้นตอนดังนี้

62 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt)
การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง แบ่งเป็น 2 กรณีคือ A. การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง กรณีรับตามจำนวน ใบสั่ง/สัญญามีการระบุจำนวนและราคาต่อหน่วยที่แน่นอน หรือระบุจำนวนเงินที่แบ่งจ่ายในแต่ ละงวดที่แน่นอน (จำนวนเงินในแต่ละงวดอาจจะเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้) มูลค่าของพัสดุที่ตรวจรับจึงมีมูลค่าแน่นอนตามจำนวนที่ตรวจรับและราคาต่อหน่วยตามที่ กำหนดไว้ในใบสั่ง/สัญญา ดังนั้นในการบันทึกรับพัสดุจะระบุเพียง “จำนวนที่ตรวจรับ” B. การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง กรณีตรวจรับตามวงเงิน, ตามเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน ใบสั่ง/สัญญาไม่ได้ระบุจำนวนเงินที่แบ่งจ่ายในแต่ละงวดที่แน่นอน มูลค่าของพัสดุที่ตรวจรับขึ้นกับการประเมินเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน ดังนั้นในการบันทึกรับพัสดุจะต้องระบุทั้ง “จำนวนที่ตรวจรับ” และ “มูลค่าที่ตรวจรับ”

63 ประวัติการสั่งสำหรับใบสั่งซื้อ 4500015523 รายการที่ 10
5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง: ระบบบันทึกข้อมูลการรับพัสดุอ้างอิงใบสั่งไว้ที่ “ประวัติใบสั่ง” สามารถ เรียกแสดงใบสั่งโดยใช้ Transaction “me23n” ประวัติการสั่งสำหรับใบสั่งซื้อ รายการที่ 10 ประเภท เลขที่เอกสาร รายการ ประเภทการ วันที่บันทึก จำนวนใน มูลค่า No. เคลื่อนย้าย หน่วยสั่งซื้อ GR /15/ pcs. BHT 20 GR /17/ pcs BHT 10 Good Receipt ผลรวมการรับสินค้า 6 pcs. BHT 30 ตั้งหนี้ IR /18/ pcs. BHT 30 ผลรวมการรับใบกำกับวัสดุ 6 pcs. BHT 30

64 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt)
การรับวัสดุจากการบริจาค รับโอนภายนอก รับจากการชดใช้ รับจากโครงการวิจัย มีขั้นตอนดังนี้

65 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

66 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue)
การจ่ายวัสดุ ส่งผลให้จำนวนวัสดุในคลังลดลง การจ่ายวัสดุ แบ่งเป็น 2 กรณี การจ่ายวัสดุอ้างอิงใบเบิก การจ่ายวัสดุไม่อ้างอิงใบเบิก Goods Issue หน่วยงาน Storage Location จำนวนวัสดุคงคลัง –

67 5.1.3.1 การจ่ายวัสดุอ้างอิงใบเบิก 5.1.3.2 การจ่ายวัสดุไม่อ้างอิงใบเบิก
5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) การเบิกจ่ายวัสดุ โดยนำไปใช้ในหน่วยงานหรือโครงการ มีขั้นตอนดังนี้ การจ่ายวัสดุอ้างอิงใบเบิก การจ่ายวัสดุไม่อ้างอิงใบเบิก

68 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

69 Plant 1xx0 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer)
จำนวนวัสดุคงคลังในคลังย่อยของผู้โอน ลดลง จำนวนวัสดคงคลังในคลังย่อยของผู้รับโอน เพิ่มขึ้น จำนวนวัสดุคงคลังระดับ Plant ไม่เปลี่ยนแปลง การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย ภายใต้ Plant เดียวกัน ใช้ในกรณี การย้ายสถานที่จัดเก็บวัสดุ เช่นย้ายวัสดุจากคลังกลาง ไปยังคลังกองกายภาพ การเปลี่ยนสถานะวัสดุ ดังนี้ พร้อมใช้ รอเปลี่ยน (1C01) พร้อมใช้ ฝากขาย (1D01) จำนวนวัสดุคงคลังไม่เปลี่ยนแปลง Storage Location 2 Storage Location 1 จำนวนวัสดุคงคลัง – จำนวนวัสดุคงคลัง +

70 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer)
การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย ภายใต้ Plant เดียวกัน แบ่งเป็น 2 กรณี การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย อ้างอิงใบเบิก ใช้ในกรณีการย้ายสถานที่จัดเก็บวัสดุ การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย ไม่อ้างอิงใบเบิก : ใช้ในกรณีการย้ายสถานที่จัดเก็บวัสดุ, การเปลี่ยนสถานะวัสดุ

71 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer)
การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย มีขั้นตอนดังนี้ การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย อ้างอิงใบเบิก การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อยไม่อ้างอิงใบเบิก

72 การเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในกรณีอื่นๆ
การบันทึกรายการเกี่ยวกับการจ้างงาน Subcontract เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสั่งซื้อวัสดุคงคลังจากผู้ขาย โดยจะต้องมีการส่งวัตถุดิบให้กับผู้ขายเพื่อ นำไปใช้ในการผลิตวัสดุที่สั่งซื้อกับผู้ขาย เช่น ศูนย์สัตว์ทดลองสั่งซื้อถุงบรรจุแกลบรองนอนสำหรับสัตว์ทดลองจากผู้ขาย โดยจะต้องส่งถุงกระดาษ ให้กับผู้ขายเพี่อนำใช้ในการผลิตวัสดุรองนอน

73 การเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในกรณีอื่นๆ
การยืม-คืนวัสดุระหว่างส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล

74 การเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในกรณีอื่นๆ
การยืม-คืนวัสดุจากภายนอก

75 การเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในกรณีอื่นๆ
การจำหน่ายวัสดุ

76 การเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในกรณีอื่นๆ
การผลิต

77 การเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในกรณีอื่นๆ
การขาย หลังจากเจ้าหน้าที่การเงินบันทึกรับเงิน เจ้าหน้าที่พัสดุจึงจะบันทึกตัดจ่ายวัสดุจากการขายในระบบ

78 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

79 Document for Goods Movement
5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ Goods movements Warehouse Material document Accounting Issues Receipts เอกสารที่ได้ 1. Material Document 2. Accounting Document

80 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ
เอกสารวัสดุ (Material Document) คือเอกสารที่สร้างขึ้นเพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงของจำนวนวัสดุ ระบบ SAP จะบันทึกรายการลงในเอกสารนี้ ทุกครั้ง เอกสารทางบัญชี (Accounting Document) คือเอกสารที่สร้างขึ้นเพื่อบันทึกเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของวัสดุ โดยระบบ SAP จะบันทึกรายการทาง บัญชีทุกครั้ง และจะสร้าง Cost Accounting Document เพิ่มขึ้น เมื่อมีบันทึกรายการจ่ายวัสดุออกจากคลัง ยกเว้น การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Storage Location) ไม่เกิดเอกสารทางบัญชี เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลง มูลค่า เปลี่ยนแปลงเพียงสถานที่จัดเก็บ

81 หน้าจอการบันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วย Transaction Code “migo”
ประเภทรายการ Goods Receipt: รับวัสดุเข้าคลัง Goods Issue: จ่ายวัสดุออกจากคลัง Transfer Posting: ย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย Release GR Blocked Stock: รับพัสดุผ่านการตรวจรับ (ใช้สำหรับการรับพัสดุอ้างอิงใบสั่งเท่านั้น) Display: แสดงเอกสารวัสดุ (Material Document) Cancellation: ยกเลิกเอกสารวัสดุ (Material Document)

82 หน้าจอการบันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วย Transaction Code “migo”
การอ้างอิงเอกสารในระบบ Purchase Order: การรับพัสดุอ้างอิงใบสั่ง (Goods Receipt) Reservation: การจ่ายวัสดุอ้างอิงใบเบิก (Goods Issue) การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อยอ้างอิงใบเบิก (Transfer Posting) - Material Document การรับพัสดุผ่านการตรวจรับ (Release GR Blocked Stock) Other: การรับวัสดุจากการบริจาค (Goods Receipt) การจ่ายวัสดุไม่อ้างอิงใบเบิก (Goods Issue) การตัดจ่ายวัสดุขาย (Goods Issue) การตัดจำหน่ายวัสดุ (Goods Issue) การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อยไม่อ้างอิงใบเบิก (Transfer Posting)

83 หน้าจอการบันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วย Transaction Code “migo”
Movement Type ระบุ Movement Type แล้ว Enter เสมอ !!!!!

84 หน้าจอการบันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วย Transaction Code “migo”
หน้าจอประกอบด้วย 3 ส่วน Header: ข้อมูลที่มีผลต่อทั้งเอกสาร Item: แสดงรายการในเอกสาร Item Detail: แสดงรายละเอียดของรายการ

85 กดปุ่มเลือกรายการที่ต้องการทำรายการ
หน้าจอการบันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วย Transaction Code “migo” การเลือกรายการ (Item) เพื่อแสดงในส่วนของรายละเอียดรายการ (Item Detail) กดปุ่มเลือกรายการที่ต้องการทำรายการ

86 5. การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
5.1 การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Goods Movement) 5.1.1 ประเภทการเคลื่อนย้าย (Movement Type) 5.1.2 การรับวัสดุ (Goods Receipt) 5.1.3 การจ่ายวัสดุ (Goods Issue) 5.1.4 การย้ายวัสดุระหว่างคลังย่อย (Goods Transfer) 5.1.5 เอกสารจากการบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุ 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)

87 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
วัสดุใดที่จะต้องดำเนินการจัดหา จัดหาวัสดุจำนวนเท่าใด เพื่อให้มีวัสดุเพียงพอสำหรับการใช้งาน ข้อกำหนด วัสดุที่จะวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ ERP จะต้องกำหนดค่า MRP Type = V1 หากกำหนดค่า MRP Type = ND, Z1 จะไม่สามารถวางแผนความต้องการวัสดุในระบบได้ ข้อมูลหลักที่ใช้ในการวางแผนความตัองการวัสดุ มีดังนี้ MRP Area MRP Type MRP Controller Lot Size

88 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
เปรียบเทียบระหว่างจำนวนวัสดุคงคลังที่มีกับจุดสั่งซื้อ เมื่อจำนวนวัสดุคงคลังลดลงกระทั่งต่ำกว่าจุดสั่งซื้อ ระบบจะเสนอให้ดำเนินการจัดหาวัสดุรายการนั้น จากรูป ระบบจะเสนอให้ดำเนินการจัดเมื่อจำนวนวัสดุคงเหลือลดลงต่ำกว่าจุดสั่งซื้อ จำนวนวัสดุคงเหลือ 30 Reorder Point = 10 (จุดสั่งซื้อ) เวลา

89 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
จากรูป หลังจากดำเนินการจัดหาวัสดุและผู้ขายยังไม่นำวัสดุมาส่งมอบ จำนวนวัสดุคงคลังจะมีจำนวนลดลง จำนวนวัสดุคงเหลือ 30 Reorder Point = 10 (จุดสั่งซื้อ) เวลา

90 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
จากรูป เมื่อผู้ขายนำวัสดุมาส่งมอบตามจำนวนระบบเสนอให้ จำนวนวัสดุคงคลังจะเพิ่มขึ้น และทันต่อความต้องการใช้งาน จำนวนวัสดุคงเหลือ จำนวนที่สั่ง (Order Quantity) 30 Reorder Point = 10 (จุดสั่งซื้อ) วันส่งมอบวัสดุ เวลา เวลา ระยะเวลาในการส่งมอบวัสดุ

91 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
จากรูป เมื่อจำนวนวัสดุคงคลังมากกว่าจุดสั่งซื้อ ระบบจะยังไม่เสนอให้ดำเนินการจัดหาวัสดุนั้นๆ จนกระทั่งจำนวนวัสดุคงเหลือลดลงต่ำกว่าจุดสั่งซื้อ จำนวนวัสดุคงเหลือ จำนวนที่สั่ง (Order Quantity) 30 Reorder Point = 10 (จุดสั่งซื้อ) วันส่งมอบวัสดุ เวลา เวลา ระยะเวลาในการส่งมอบวัสดุ

92 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
ข้อมูลหลักที่ใช้ในการวางแผนความตัองการวัสดุ มีดังนี้ MRP Area คือการกำหนดขอบเขตของการวางแผนความต้องการวัสดุ โดยขอบเขตการวางแผนความต้องการ วัสดุในระบบ MU-ERP คือการวางแผนความต้องการวัสดุระดับคลังย่อย Storage Location ดังนั้น 1 MRP Area = 1 Storage Location โครงสร้างรหัส MRP Area ซึ่งเป็นรหัส 8 หลัก มีดังนี้ XXXX XXXX หลักที่ 5-8 Storage Location 1-4 Plant

93 Man reord.point inc.ext req
5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP) ข้อมูลหลักที่ใช้ในการวางแผนความตัองการวัสดุ มีดังนี้ MRP Type ค่าที่กำหนดไว้ในข้อมูลหลักวัสดุ เพื่อเป็นตัวกำหนดว่าวัสดุนั้นๆ จะวางแผนความต้องการวัสดุ หรือไม่ โดย MRP Type มีดังนี้ MRP Type ความหมาย คำอธิบาย V1 Man reord.point inc.ext req วัสดุสำรองคลัง ที่ต้องการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ ND No planning วัสดุสำรองคลัง ที่ไม่ต้องการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ Z1 วัสดุผ่านคลัง วัสดุผ่านคลัง จึงไม่มีการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ

94 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
ข้อมูลหลักที่ใช้ในการวางแผนความตัองการวัสดุ มีดังนี้ MRP Controller บุคคล หรือกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่วางแผนความต้องการวัสดุ ทั้งนี้เนื่องจากขอบเขตการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ MU-ERP คือการวางแผนความ ต้องการวัสดุระดับคลังย่อย Storage Location ดังนั้นผู้ที่ทำหน้าที่วางแผนความต้องการวัสดุ MRP Controller คือคลังย่อย (Storage Location) โครงสร้างรหัส MRP Controller ซึ่งเป็นรหัส 3 หลัก มีดังนี้ เช่น Plant 1010 Storage Location 1001 MRP Area = MRP Controller =101 Plant 2030 Storage Location 5001 MRP Area = MRP Controller =501 X XX หลักที่ 2-3 Running Number: หรือ A1-Z9 หรือ AA – ZZ 1 ประเภท: 1= ส่วนงาน - วัสดุทั่วไป, =กอง/ภาควิชา - วัสดุทั่วไป 5= ภาควิชา – ยา, 7= ส่วนงาน - เวชภัณฑ์, = ภาควิชา - เวชภัณฑ์, สรุป 1 Storage Location = 1 MRP Area = 1 MRP Controller

95 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
ข้อมูลหลักที่ใช้ในการวางแผนความตัองการวัสดุ มีดังนี้ 4. Lot Size วิธีการคำนวณปริมาณการสั่งซื้อวัสดุ เมื่อจำนวนวัสดุคงคลังต่ำกว่าจุดสั่งซื้อ จะสั่งซื้อวัสดุด้วย จำนวนเท่าไร FX : Fixed lot size เป็นการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่เท่ากัน ในแต่ละครั้ง HB : Fill up to max stock level เป็นการกำหนดให้ระบบคำนวณปริมาณการสั่งซื้อที่จะเติมสต็อคจนเต็มปริมาณที่จัดเก็บ EX : Exact lot size เป็นการกำหนดให้ระบบทำการสั่งซื้อเท่ากับปริมาณที่ขาดหรือต้องการใช้เท่านั้น

96 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
ตัวอย่าง การวางแผนความต้องการวัสดุ โดยมี Lot Size = HB ยางลบดินสอ มีการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ โดยกำหนด จุดสั่งซื้อ ชิ้น ปริมาณการสั่งซื้อที่จะเติมสต็อคจนเต็มปริมาณที่จัดเก็บ ชิ้น วันที่ 1 จำนวนวัสดุคงเหลือในคลังมี ชิ้น วางแผนความต้องการวัสดุในระบบ -> ระบบยังไม่เสนอซื้อ วันที่ 2 จำนวนวัสดุคงเหลือในคลังมี ชิ้น วางแผนความต้องการวัสดุในระบบ -> ระบบเสนอซื้อจำนวน ชิ้น ( )

97 5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP)
ตัวอย่าง การวางแผนความต้องการวัสดุ โดยมี Lot Size = FX ดินสอ มีการวางแผนความต้องการวัสดุในระบบ โดยกำหนด จุดสั่งซื้อ ชิ้น ปริมาณการสั่งซื้อคงที่ ชิ้น วันที่ 1 จำนวนวัสดุคงเหลือในคลังมี ชิ้น วางแผนความต้องการวัสดุในระบบ -> ระบบยังไม่เสนอซื้อ วันที่ 2 จำนวนวัสดุคงเหลือในคลังมี ชิ้น วางแผนความต้องการวัสดุในระบบ -> ระบบเสนอซื้อจำนวน 50 ชิ้น

98 1. ผลลัพธ์เป็น Planned Order 2. ผลลัพธ์เป็น Purchase Requisition
5.2 การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning: MRP) ผลลัพธ์จากการวางแผนความต้องการวัสดุ มี 2 ประเภท Planned Order Purchase Requisition เอกสารทั้ง 2 ประเภท มีขั้นตอนในการนำไปดำเนินการจัดหาที่แตกต่างกัน  Recommended 1. ผลลัพธ์เป็น Planned Order 2. ผลลัพธ์เป็น Purchase Requisition

99 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

100 6. การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing)
6.1 การประมวลผลสิ้นเดือน มี 2 ขั้นตอนดังนี้ 6.1.1 การเปิดงวดการบันทึกรายการระบบบริหารวัสดุคงคลัง 6.1.2 การปิดไม่ให้บันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังย้อนหลัง 6.2 การประมวลผลสิ้นปี การนับวัสดุคงคลัง (Physical Count)

101 6.1.1 การเปิดงวดการบันทึกรายการระบบบริหารวัสดุคงคลัง
เมื่อเข้าสู่เดือนใหม่ ส่วนกลางจะเปิดงวดการบันทึกรายการระบบบริหารวัสดุคงคลัง เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังที่เกิดขึ้นในเดือนใหม่ได้ ก่อนจะปิดบัญชี ระบบ MU-ERP อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังที่เกิดขึ้นในเดือนใหม่และรายการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังของเดือนก่อนหน้า ตัวอย่างเช่น วันที่ปัจจุบัน 1 มิถุนยน 2554 บันทึกรับวัสดุผ่านการตรวจรับโดยระบุวันที่ 29 พฤษภาคม  วันที่ปัจจุบัน 1 มิถุนยน บันทึกรับวัสดุผ่านการตรวจรับโดยระบุวันที่ 1 มิถุนยน  ปัจจุบัน: 1 มิถุนายน พฤษภาคม มิถุนายน

102 ปิดบัญชี 3 มิถุนายน 2554 (ตัวอย่าง)
6.1.2 การปิดงวดการบันทึกรายการการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลัง หลังจากปิดบัญชีแล้ว ระบบ MU-ERP อนุญาตให้บันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังในเดือนใหม่เท่านั้น ไม่สามารถบันทึกรายการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังของเดือนก่อนหน้าได้ ตัวอย่างเช่น ปิดบัญชี 3 มิถุนายน (ตัวอย่าง) วันที่ปัจจุบัน 9 มิถุนายน 2554 บันทึกรับวัสดุผ่านการตรวจรับโดยระบุวันที่ 30 พฤษภาคม X วันที่ปัจจุบัน 9 มิถุนายน บันทึกรับวัสดุผ่านการตรวจรับโดยระบุวันที่ 2 มิถุนายน 2554  ปิดบัญชี: 3 ปัจจุบัน: 9 พฤษภาคม มิถุนายน

103 งวดการบันทึกรายการในระบบ MU-ERP เปรียบเทียบกับเดือน/ปีตามปฏิทิน
ตารางเปรียบเทียบระหว่างงวดการบันทีกรายการในระบบ SAP กับเดือนและปีปฏิทิน

104 งวดการบันทึกรายการในระบบ MU-ERP เปรียบเทียบกับเดือน/ปีตามปฏิทิน
ข้อความ Error ที่พบระหว่างบันทึกรายการเกี่ยวกับ “งวดการบันทึกรายการในระบบ” ที่อนุญาตให้บันทึกรายการได้คือ 2011/07 และ 2011/06 ซึ่งก็คือเดือนเมษายน 2011 และมีนาคม 2011

105 6. การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing)
6.1 การประมวลผลสิ้นเดือน มี 2 ขั้นตอนดังนี้ 6.1.1 การเปิดงวดการบันทึกรายการระบบบริหารวัสดุคงคลัง 6.1.2 การปิดไม่ให้บันทึกการเคลื่อนย้ายวัสดุคงคลังย้อนหลัง 6.2 การประมวลผลสิ้นปี การนับวัสดุคงคลัง (Physical Count)

106 การนับวัสดุคงคลัง การตรวจนับวัสดุคงคลังเป็นกระบวนการที่ใช้เพื่อการนับวัสดุให้เกิดความถูกต้องแน่นอน ซึ่งจะ เกี่ยวข้องกับการนับจำนวนในแต่ละคลังย่อย ใน SAP มีเอกสารการตรวจนับวัสดุคงคลังเพื่อบันทึกผลการตรวจนับ เมื่อการตรวจนับจริงเสร็จสิ้น และได้บันทึกผลการตรวจนับในระบบแล้ว กรณีที่มีผลต่างของ จำนวนวัสดุที่ตรวจนับได้กับจำนวนวัสดุที่มีอยู่ในระบบ จะส่งทำให้เกิดผลต่างมูลค่าทางบัญชีด้วย ดังนั้นการปรับผลต่างจากการตรวจนับ จะได้เอกสารวัสดุ (Material Document) และ เอกสาร ทางบัญชี (Accounting Document)

107 กระบวนการนับวัสดุคงคลัง
สร้างเอกสารการ ตรวจนับวัสดุคงคลัง Set Blocking Indicator พิมพ์เอกสารการตรวจนับวัสดุคงคลัง 1 ทำการตรวจนับ วัสดุคงคลัง บันทึกผลการนับ 2 ทำการนับใหม่ เอกสารวัสดุ แสดงผลการนับที่ต่างกับในระบบ แก้ไขจำนวน นับใหม่ 3 เอกสารทางบัญชี บันทึกผลการ นับที่แตกต่าง

108 หัวข้อการอบรมระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)
วัตถุประสงค์การอบรม (Training Objective) ภาพรวมระบบบริหารวัสดุคงคลัง โครงสร้างองค์กรในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Organization Structure) ข้อมูลหลักในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Master Data) การบันทึกรายการในระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management Transaction) การบันทึกรายการสิ้นงวด (Periodic Processing) รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง

109 รายงานในระบบบริหารวัสดุคงคลัง
Report การเคลื่อนไหว ยอดวัสดุคงเหลือ Material Document List รายงานแสดงเอกสารวัสดุ Stock Overview ภาพรวมสต็อค Stock with Subcontractor สต็อคของ subcontractor Warehouse Stock สต็อคของคลังสินค้า Cancelled Material Documents เอกสารวัสดุที่ถูกยกเลิก . Stock for Posting Date สต็อควัสดุ ณ. วันที่ระบุ Reason for Movement เอกสารวัสดุที่ระบุเหตุผลในการเคลื่อนย้าย Stock card Report สต็อคการ์ด Expiration Date List รายการวัสดุที่หมดอายุ

110


ดาวน์โหลด ppt การอบรมการใช้งานระบบบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google