ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
สรุปผลการประเมิน ตัวชี้วัดของ งาน - วิสัญญี, ห้องผ่าตัดและ ห้องคลอด ภาพรวมของปีงบประมาณ 2557 สุทธิพันธ์ ถนอมพันธ์ และตัวแทน QA. Nurse ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
2
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานวิสัญญี
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพ ทางการพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 งานวิสัญญี งานห้องผ่าตัด และห้องคลอด มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานวิสัญญี ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตามเป้าหมาย เกณฑ์ ร้อยละ 100 การประเมินผล: ร้อยละ 100
3
โครงการพัฒนาของหน่วยงาน วิสัญญี 1. การลดอุบัติการณ์ re-intubation
2. การ Time in –Time out ผู้ป่วยที่มาระงับความรู้สึกร่วมกับทีมผ่าตัด 3. การพัฒนางานบริการ Lean ในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับคำปรึกษาเรื่องเกี่ยวกับการให้ยาระงับความรู้สึกขณะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่แผนกวิสัญญี (คลินิกระงับปวด)ก่อนวันนัดผ่าตัด 4. การพัฒนางานบริการ Lean ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่มาผ่าตัด Tenckhoff แบบ OPD case 5. โครงการการพัฒนาเครื่องมือคัดกรองผู้ป่วย วัณโรคปอด ที่มารับบริการงานวิสัญญี 6. โครงการพัฒนาต่อเนื่องเรื่องการปฏิบัติ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา 7. โครงการให้คำแนะนำก่อนให้บริการวิสัญญี
4
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานห้องคลอด
ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตามเป้าหมาย เกณฑ์ ร้อยละ 100 การประเมินผล: ร้อยละ จัดโครงการพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาล -สายใยรักแห่งครอบครัว -การพัฒนาเครื่องมือพร้อมใช้ และสร้าง 5 นวตกรรม
5
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานห้องผ่าตัด
ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตามเป้าหมาย เกณฑ์ ร้อยละ 100 การประเมินผล: NA -กำลังรวบรวมข้อมูล
6
มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล
ตัวชี้วัดของงานห้องผ่าตัดและงานวิสัญญีที่ประเมินคล้ายกันคือ 2.1. ร้อยละของผู้ป่วยที่นัดผ่าตัด (elective case) ได้รับการประเมินปัญหาและเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานก่อนผ่าตัด/วิสัญญี เกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 100
7
2.1.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่นัดผ่าตัดของงานห้องผ่าตัด ได้รับการประเมินปัญหาและเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานก่อนผ่าตัด (12 โรครับประกัน) คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 75.23 ภาพรวมปี 2555=ร้อยละ91.83 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ93.17
8
2.1.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่นัดผ่าตัดของงานวิสัญญี ได้รับการประเมินปัญหาและเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานก่อนผ่าตัด ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 50.59 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ100 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ99.97 เดือน
9
พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานห้องผ่าตัด หัวข้อที่ 2. ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 0 พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงจากการผ่าตัดผู้ป่วยผิดคน ผิดอวัยวะ - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงอุปกรณ์ตกค้าง - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงผู้ป่วยลื่นล้ม
10
จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงจากการBurn จากเครื่องจี้ไฟฟ้า และ บาดเจ็บจากการผูกยึด การผ่าตัดผู้ป่วยผิดคน ผิดอวัยวะ อุปกรณ์ตกค้าง และความเสี่ยงผู้ป่วยลื่นล้ม คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 =ร้อยละ0 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ0 เดือน
11
จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงจากการBurn จากเครื่องจี้ไฟฟ้า
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 =ร้อยละ0.25 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ0 เดือน
12
จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงการผ่าตัดผู้ป่วยผิดข้าง
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ4 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ0 เดือน
13
จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงบาดเจ็บจากการผูกยึด จัดท่า
หรือการใช้เครื่องมือ คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 =ร้อยละ0.17 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ0 เดือน
14
จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงจากการวินิจฉัยโรคคลาดเคลื่อน
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ0.25 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ0 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ0 เดือน
15
ร้อยละผู้ป่วยหลังผ่าตัดได้รับการประเมินอาการ และสอนการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 94.43 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ87.62 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ84.21 เดือน
16
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานวิสัญญี
หัวข้อที่ 2. ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 0 พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์การรักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคนในห้องพักฟื้น - ให้ยาระงับความรู้สึกผู้ป่วยผิดคน/ผิดข้าง - ความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด
17
จำนวนอุบัติการณ์การรักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคนในห้องพักฟื้น ให้ยาระงับความรู้สึกผู้ป่วยผิดคน/ผิดข้าง และความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด จำนวนอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้ม จำนวนครั้ง ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2555 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 =0 เดือน
18
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดบาดเจ็บจาก
การยึดตรึงผูกมัด จำนวนครั้ง ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ0.02 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2555 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 =0 เดือน
19
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการเกิด high/ total spinal block ,
จำนวนครั้ง ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =4 ราย ร้อยละ 7.9 ภาพรวมปี 2555 = 2 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน
20
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการใส่ E.T.ใส่เข้าท้องและเกิด
De-saturation SpO2 < 90% จำนวนครั้ง ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =4 ราย ร้อยละ 7.9 ภาพรวมปี 2555 = 2 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน
21
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการใส่ E.T. : dental injury
ภาพรวมปี 2557 =9 จำนวนครั้ง ภาพรวม ปี 2556 = 0 ภาพรวมปี 2555 = 2 เดือน
22
จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาด ในการบริหารยา
จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาด ในการบริหารยา ร้อยละ ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 2.2 ภาพรวมปี 2554 =8 ภาพรวม ปี 2555 = 4 เดือน
23
จำนวนอุบัติการณ์การเกิด Aspiration pneumonia/lung atelactasis
ร้อยละ ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 = 4 ภาพรวม ปี 2556 = 0 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 2 เดือน
24
จำนวนอุบัติการณ์แพ้ยา anaphylaxis reaction
ราย ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0.55 (1ราย) ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0.55 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ0 เดือน
25
จำนวนอุบัติการณ์ผู้ป่วยเสียชีวิตในห้องผ่าตัดเนื่องจาก การให้บริการทางวิสัญญีภายใน 24 ชั่วโมงหลังรับบริการ ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0.27 48 ราย ราย ภาพรวม ปี 2556 = 56 ราย ร้อยละ 0.29 ภาพรวมปี 2555= 2 ราย ภาพรวมปี 2554 = 26 ราย เดือน
26
ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการเฝ้าระวังตามมาตรฐาน การดูแลในห้องพักฟื้น*
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 92.59 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 97.72 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95.61 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 95.45 เดือน
27
ร้อยละของผู้ป่วยที่ย้ายออกจากห้องพักฟื้นมี ความพร้อมตามเกณฑ์บ่งชี้
ร้อยละของผู้ป่วยที่ย้ายออกจากห้องพักฟื้นมี ความพร้อมตามเกณฑ์บ่งชี้ ร้อยละ ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 99.78 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 97.3 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ98.43 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 96.2ครั้ง เดือน
28
ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมหลังใช้บริการ พยาบาลวิสัญญี
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 99.99 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 100 เดือน
29
งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล
2.2 บริการคลอด
30
งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล
งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 2.2 บริการคลอด พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - - จำนวนอุบัติการณ์ รักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคน - จำนวนอุบัติการณ์ ผิดพลาดในการบริหารยา
31
งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล
2.2 บริการคลอด พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์ ผู้ใช้บริการบาดเจ็บจากการจัดท่า การผูกยึดอุปกรณ์ - จำนวนอุบัติการณ์ ความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือดและการใช้เครื่องมือ/
32
จำนวนอุบัติการณ์รักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคน บาดเจ็บจากการจัดท่า การผูกยึดอุปกรณ์ และความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557= 0 ภาพรวม ปี 2555= 0 ภาพรวม ปี 2556 = 0 เดือน
33
จำนวนอุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557= 1 ราย ภาพรวม ปี 2555= 0 ภาพรวม ปี 2556 = 0 เดือน
34
จำนวนอุบัติการณ์มดลูกปลิ้น
ภาพรวม ปี 2557 = 0 ราย คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = 0 ราย ภาพรวม ปี 2555 = 1 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 0 ราย เดือน
35
จำนวนอุบัติการณ์ผิดพลาด
ในการบริหารยา ภาพรวม ปี 2557= 5.48 = 15 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 11 ราย = ร้อยละ 4.3 ร้อยละ (คะแนนที่ประเมิน) ภาพรวม ปี 2555 = 9 ราย เดือน
36
จำนวนอุบัติการณ์ Uteri-Rupture
ภาพรวมปี 2557 = 0 ราย ร้อยละ 0 ร้อยละ (คะแนนที่ประเมิน) ภาพรวม ปี 2556 = 2 ราย ร้อยละ 0.06 ภาพรวม ปี 2555= 2 ราย เดือน
37
จำนวนอุบัติการณ์เกิด
การคลอดนอกห้องคลอด ราย ภาพรวม ปี 2557 = 6 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 9 ราย ร้อยละ 0.28 ภาพรวมปี 2555 = 1 ราย เดือน
38
จำนวนอุบัติการณ์เกิด Hematoma บริเวณแผลฝีเย็บ
ราย ภาพรวม ปี 2557 = 6 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 2 ราย ร้อยละ 0.12 ภาพรวม ปี 2555 = 1ราย เดือน
39
จำนวนอุบัติการณ์เกิด Tear Rectum
ภาพรวม ปี 2557 = 12 ราย ราย ภาพรวม ปี 2556 = 8 ราย ร้อยละ 0.41 ภาพรวม ปี 2555 = 8ราย ภาพรวม ปี 2554 = 6ราย เดือน
40
จำนวนอุบัติการณ์เกิดการตกเลือดหลังคลอด (Post partum Haemorrhage)
เนื่องจากรกค้าง/หรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดี* ราย ภาพรวม ปี 2557 = 40 ราย ภาพรวมปี 2556= 27 ราย ร้อยละ 0.98 ภาพรวม ปี 2555 = 39 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 27 ราย เดือน
41
จำนวนอุบัติการณ์เกิดทารกบาดเจ็บจาก กระบวนการคลอด
ราย ภาพรวม ปี 2557 = 25 ราย ภาพรวม ปี 2556= 16 ราย ร้อยละ 6.16 ภาพรวม ปี 2555 = 23 ราย เดือน
42
จำนวนอุบัติการณ์เกิดภาวะขาด O2 เนื่องจาก Birth Asphyxia
ราย ภาพรวม ปี 2557 =146 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 165 ราย ร้อยละ 50.8 ภาพรวม ปี 2555 = 179 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 108ราย เดือน
43
จำนวนอุบัติการณ์เกิดการระบุทารกผิด และ/หรือส่งให้มารดาผิดคน
ราย ภาพรวม ปี 2557 = 3 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 12 ราย ร้อยละ 2.28 ภาพรวม ปี 2555 = 6 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 9 ราย เดือน
44
จำนวนอุบัติการณ์เกิดการระบุตัวผิด
ราย ภาพรวม ปี 2557 = 3 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 17 ราย ร้อยละ 2.74 ภาพรวม ปี 2555 = 0 ราย เดือน
45
พบว่าหน่วยงาน ห้องคลอดและงานวิสัญญี ไม่พบข้อร้องเรียนในหัวข้อดังนี้
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 3 การร้องเรียนของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 0 พบว่าหน่วยงาน ห้องคลอดและงานวิสัญญี ไม่พบข้อร้องเรียนในหัวข้อดังนี้ 2.3.1 จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้ใช้บริการ
46
จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการของบุคลากร
(งานห้องคลอด) คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 = 2 ราย ภาพรวม ปี 2556 =1 ราย ภาพรวม ปี 2555= 5 ราย เดือน
47
จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการของบุคลากร
(งานวิสัญญี) คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2555= 1 ราย ภาพรวม ปี 2556 =0 ราย เดือน
48
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานห้องผ่าตัด งานห้องคลอดและงานวิสัญญี 3 การร้องเรียนของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 100 2.3.3 ร้อยละของการแก้ไข และ/หรือการตอบกลับข้อร้องเรียนของผู้ใช้บริการ
49
ร้อยละของการแก้ไข และ/หรือการตอบกลับ
ข้อร้องเรียนของผู้ใช้บริการ (งานห้องคลอด) ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556= ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555= ร้อยละ 100 เดือน
50
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล
4. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อบริการพยาบาล เกณฑ์ : ร้อยละ 100
51
ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ต่อบริการพยาบาล (ปีงบประมาณ 2556)
คะแนนที่ประเมิน 86.26 79.6 UNIT
52
ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ต่อบริการพยาบาล (ปีงบประมาณ 2557)
คะแนนที่ประเมิน 86.26 79.6 กำลังรวบรวมขิอมูล UNIT
53
ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ต่อบริการพยาบาล (ปีงบประมาณ 2557)
คะแนนที่ประเมิน 86.26 ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 74.80 79.6 LR UNIT
54
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานวิสัญญี มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล
พบว่ามีการดำเนินการดี ไม่พบอุบัติการณ์ในหัวข้อ - จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์หมดอายุเหลือค้าง เกณฑ์ ร้อยละ 100
55
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานวิสัญญี มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล
เกณฑ์ ร้อยละ 100 5. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง 5.1อัตราความครบถ้วนสมบูรณ์ของแบบบันทึกทางการพยาบาล*
56
จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์ หมดอายุ พบเหลือค้างในหน่วยงาน
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 0 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 = 1 ราย ภาพรวมปี 2554 = 0 ราย เดือน
57
จำนวนการเลื่อนผ่าตัดเนื่องจากความไม่พร้อม ของทีมวิสัญญี
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 0.55 (1 ราย) ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 = 0 ราย ภาพรวมปี 2554 = 0 ราย เดือน
58
จำนวนผลิตภาพ (Productivity) ของ
หน่วยงานวิสัญญีอยู่ในเกณฑ์* จำนวนร้อยละ ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 139 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 104 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ เดือน
59
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล หน่วยงานวิสัญญีปฏิบัติตาม CPG
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 93.84 เดือน
60
อัตราการเตรียมเครื่องดมยาตามมาตรฐาน* คะแนนที่ประเมิน(ร้อยละ)
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 95.12 ภาพรวมปี 2556 = ร้อยละ 96.2 คะแนนที่ประเมิน(ร้อยละ) ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95.78 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 94.85 เดือน
61
อัตราการเตรียมรถเตรียมยาครบตามมาตรฐาน*
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 94.37 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 97.72 คะแนนที่ประเมิน (ร้อยละ) ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95.30 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 94.85 เดือน
62
อัตราร้อยละความครบถ้วนสมบูรณ์ของแบบบันทึก ทางการพยาบาล*
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 99.46 คะแนนที่ประเมิน (ร้อยละ) ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 99.41 ภาพรวมปี 2555= ร้อยละ 84.50 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 81.2 เดือน
63
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องคลอด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล
พบว่ามีการดำเนินการดีไม่พบอุบัติการณ์ใน หัวข้อ 3.2 จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์หมดอายุเหลือค้างและใน หัวข้อ 4.1 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG และ 4.2 ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง เมื่อประเมินแล้ว มีการปฏิบัติร้อยละ 100
64
จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์หมดอายุเหลือค้าง
ภาพรวม ปี 2557 = 0 ภาพรวม ปี 2556= 0 ภาพรวมปี 2555 =0 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน
65
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล ปฏิบัติตาม CPG
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 95 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556= ร้อยละ 95 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 80 เดือน
66
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556=ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 100 เดือน
67
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องงานผ่าตัด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล พบว่ามีโอกาสพัฒนาในการรวบรวมข้อมูลข้อตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ 3.1 ผลิตภาพ (Productivity) 3.2 จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์ หมดอายุเหลือค้าง
68
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องผ่าตัด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล เกณฑ์ ร้อยละ 100 4. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG พบว่ามีการดำเนินการดีประเมินได้คะแนน ร้อยละ 100 ในหัวข้อต่อไปนี้ - ผู้ป่วยได้รับการรักษาความอบอุ่นร่างกายก่อน เคลื่อนย้าย ผู้ป่วยได้รับการจัดส่งชิ้นเนื้อตามแผนการรักษา
69
5.1 อัตราผู้ป่วยได้รับการบันทึกการพยาบาลขณะผ่าตัดเพื่อส่งต่อ
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องผ่าตัด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล เกณฑ์ ร้อยละ 100 5. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง 5.1 อัตราผู้ป่วยได้รับการบันทึกการพยาบาลขณะผ่าตัดเพื่อส่งต่อ
70
จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัด เนื่องจากแพทย์
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 5.84 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 5.27 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 3.17 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 2.82 เดือน
71
จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัด เนื่องจากความไม่พร้อมของผู้ป่วย
ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 4.06 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 5.71 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 3.84 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 3.62 เดือน
72
จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัด เนื่องจากอุปกรณ์เครื่องมือและห้องผ่าตัดไม่พร้อม
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 0.06 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 0.03 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 0 เดือน
73
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการทำความสะอาดคราบเลือดบริเวณรอบแผลผ่าตัดก่อนสวมเสื้อผ้า คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 = ร้อยละ 99.96 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 99.95 เดือน
74
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการรักษาความอบอุ่นร่างกายก่อนเคลื่อนย้าย
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 = ร้อยละ100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 99.21 เดือน
75
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการจัดส่งชิ้นเนื้อตามแผนการรักษา
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 100 เดือน
76
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการสวมเสื้อผ้าสะอาดก่อนเคลื่อนย้ายออกจากห้องผ่าตัด คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 99.88 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 99.81 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 99.95 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 99.98 เดือน
77
อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ถุงรองรับน้ำปัสสาวะและขวด RD อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2557 = ร้อยละ 99.39 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 98.92 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 98.68 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 98.93 เดือน
78
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในเรื่องผู้ป่วยได้รับการบันทึกการพยาบาลขณะผ่าตัดเพื่อส่งต่อได้ถูกต้อง ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 96.39 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 97.09 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 96.57 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 97.39 เดือน
79
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานวิสัญญี มิติที่ 4 ด้าน การพัฒนาองค์กร
เกณฑ์ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดในหัวข้อดังนี้ - ร้อยละของบุคคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ เฉลี่ยอย่างน้อย 10 วันคน/ปี - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี (CPR advanced program)
80
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นadvanced program อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี ภาพรวมปี 2557 =ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน (ร้อยละ) ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ 92 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ 98 เดือน
81
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (งานวิสัญญี)
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ 100 เดือน
82
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล(งานวิสัญญี)
ภาพรวม ปี 2557 =ร้อยละ 0 จำนวนครั้ง ภาพรวมปี 2555 =5 ภาพรวม ปี 2556 = 1 ราย ร้อยละ 0.55 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน
83
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องคลอด มิติที่ 4 ด้าน การพัฒนาองค์กร
เกณฑ์ ร้อยละ 100 พบว่ามีการดำเนินงานดี ร้อยละ 100ในข้อตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - ร้อยละของบุคคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ เฉลี่ยอย่างน้อย 10 วันคน/ปี - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี
84
ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (งานห้องคลอด)
คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2557 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 95 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 90 ภาพรวม ปี 2554 = ร้อยละ 90 เดือน
85
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล(ห้องคลอด)
ภาพรวม ปี 2557 = 5 ราย คะแนนที่ประเมิน (ราย) ภาพรวม ปี 2556 = 4 ราย ภาพรวมปี 2555 = 0 ภาพรวมปี 2554 = 2 เดือน
86
ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล หน่วยงานห้องผ่าตัด มิติที่ 4 ด้าน การพัฒนาองค์กร
พบว่ามีโอกาสพัฒนาในการรวบรวมข้อมูลข้อตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล** - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กำหนด - ร้อยละของบุคคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ เฉลี่ยอย่างน้อย 10 วันคน/ปี - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี
87
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรห้องผ่าตัด)
ภาพรวม ปี 2557 = 13 ราย คะแนนที่ประเมิน (ราย) ภาพรวม ปี 2556 = 4 ราย ภาพรวมปี 2555 = 0 ภาพรวมปี 2554 = 2 เดือน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.