งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ I คณะทำงาน โครงการพัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550 บริษัท การจัดการธุรกิจ จำกัด

2 วัตถุประสงค์ ชี้แจงบทบาทคณะทำงาน
ให้คำแนะนำและฝึกปฏิบัติการจัดทำตัวชี้วัดผลงานหน่วยงาน และสมรรถนะของหน่วยงาน (Functional KPI & Functional Competency) และมอบหมายงาน

3 หัวข้อ บ่าย : คณะทำงานโครงการ 1. บทบาทคณะทำงาน
1. บทบาทคณะทำงาน 2. แนวทางการจัดทำตัวชี้วัดผลงานจากภารกิจหลักของหน่วยงาน 3. Workshop : วิเคราะห์ภารกิจหลักของหน่วยงาน ผลลัพท์สำคัญ ตัวชี้วัดผลงาน และสมรรถนะของหน่วยงาน 4. มอบหมายงานแก่คณะทำงาน

4 1. บทบาทคณะทำงานโครงการ
บทบาทคณะทำงานปัจจุบัน ประสานงาน กับผู้เกี่ยวข้องในการจัดทำระบบ เรียนรู้ระบบ แนวความคิด หลักการ และขั้นตอนการดำเนินงานให้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง โดยร่วมประชุม วิเคราะห์ ประมวลผล และจัดทำระบบ เพื่อให้เข้าใจถึงที่มา กระบวนการ และการใช้งานระบบ ร่วมนำเสนอผู้บริหาร ช่วยแลกเปลี่ยนความเห็น ชี้แจง ให้เหตุผล และอธิบายที่มาของข้อมูล สื่อความและถ่ายทอดระบบ ทั้งส่วนของ Content, Process, และ Measurement (เนื้อหา, กระบวนการ และการวัดผล) สู่คนในองค์กร บทบาทที่คาดหวังในระยะยาว มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในระบบอย่างลึกซึ้ง ทั้งส่วนของเนื้อหา, กระบวนการ และแนวทางการวัดผล เป็นศูนย์กลางความรู้ และการปฏิบัติ เพื่อให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้ แนวปฏิบัติ และการใช้งานระบบแก่คนในองค์กร พัฒนาปรับปรุงระบบ ขั้นตอน และเครื่องมือต่างๆ ให้เหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละช่วงเวลา ขับเคลื่อนให้ระบบ และเครื่องมือที่พัฒนาขึ้น ได้ถูกนำไปใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบ ขับเคลื่อนโครงการ

5 การสำรวจแนวปฏิบัติในการบริหารผลการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในปัจจุบัน

6 ตัวอย่างแบบสำรวจแนวปฏิบัติในการบริหารผลการปฏิบัติงาน

7 KPIs Matrix

8 แนวทางการจัดทำตัวชี้วัดผลงาน จากภารกิจหลักของหน่วยงาน

9 PMS Work Process Mission / Vision / Values Tools Strategy Map
Corporate Strategies Corporate Objectives and KPIs Strategy Map Tools KPIs Map Functional Description Job Description Data Functional Objectives and KPIs Individual Objectives KPIs Matrix Targets and Initiatives Implementation Evaluation Performance Monitoring Worksheet Evaluation Forms

10 การกำหนดตัวชี้วัดผลงานของหน่วยงาน (Functional KPIs)
พิจารณาแผนยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ขององค์กร กำหนดผลสำเร็จที่ต้องการของหน่วยงาน Cascade the company’s goals to the work unit Customer focused method Develop a work flow chart of work unit

11 ขั้นตอนที่ 1 นำเป้าประสงค์ขององค์กรเป็นตัวตั้ง
Perspective Strategic Objectives Strategic Measures Targets Financial F1: เพิ่มกำไร F2: เพิ่มยอดขาย F3: ลดต้นทุนในการ ดำเนินการต่อลูกค้า กำไรสุทธิ (ตามแผน) รายได้แต่ละกลุ่ม ลูกค้าตามเป้าหมาย ต้นทุนต่อลูกค้า 1 ราย 500 ล้านบาท ก: 60% ข: 40% ไม่เกิน 600 บาท Customer C1: เป็นที่ 1 ด้านการบริการ ความพึงพอใจลูกค้า อัตราการต่ออายุ 90% จากการสำรวจ 95 % จากลูกค้าเดิม Internal Process I1: บริการ One stop Service I2: พัฒนาสินค้าใหม่ I3: ปรับปรุงระบบตรวจสอบ งบประมาณที่ใช้ ระยะเวลาการบริการ รายได้ในสินค้าใหม่ ความผิดพลาดของ รายการต้นทุน 10 นาทีต่อราย 300 ล้านบาท ผิดพลาดไม่เกิน 10% Learning & Growth L1: สร้างระบบการสรรหา L2: ทำระบบ SAP ให้นิ่ง L3: ส่งเสริมวัฒนธรรมการ ให้บริการที่ดีเลิศ คุณภาพของพนักงาน อัตราการล่มของระบบ ความพึงพอใจลูกค้า ทั้งภายในและ ภายนอก 95% ผ่านทดลองงาน ไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี 95% จากการสำรวจ

12 ขั้นตอนที่ 2 กำหนดผลสำเร็จของหน่วยงาน
วิธีที่ 1 Cascade the company’s goals to the work unit ใช้ได้ดีสำหรับหน่วยงานที่มีเป้าหมายเป็นตัวเลขชัดเจน ให้พิจารณาว่าเป้าหมายใดขององค์กรที่เป็นผลจากการทำงานของหน่วยงานตนเอง หรือ เป้าหมายใดที่มีผลกระทบจากการทำงานของหน่วยงานตน หรือ สินค้าหรือบริการใดของหน่วยงานตน ที่มีผลต่อการทำเป้าหมายขององค์กร

13 ตัวอย่างการ Cascade the company’s goals to the work unit
เป้าหมายจาก BSC ฝ่ายขาย บริการ บุคคล บัญชี F1: กำไร O F2: ยอดขาย S F3: ต้นทุนที่ลดลง C1: ลูกค้าพอใจ I1: ระบบการบริการ I2: ระบบงบประมาณ L1: ระบบสรรหาบุคคล O = Owner S = Support

14 ตัวอย่างการ Cascade the company’s goals to the work unit
ฝ่ายขาย ภารกิจหลัก KPI ขายสินค้าให้ได้ยอดขาย และผลกำไรตามเป้าหมายที่กำหนด ยอดขายสินค้า กำไรจากการขาย บริหารต้นทุนในการขายสินค้าให้อยู่ภายในงบประมาณที่กำหนด ดัชนีความต่างระหว่างต้นทุนจริงเทียบกับงบประมาณที่กำหนด ให้บริการหลังการขายแก่ลูกค้าด้วยความเต็มใจ อัตราความพึงพอใจของลูกค้าต่อบริการหลังการขาย

15 ขั้นตอนที่ 2 กำหนดผลสำเร็จของหน่วยงาน
วิธีที่ 2 Customer focused method ใช้ได้ดีสำหรับหน่วยงานที่ดึงเป้าหมายจากเป้าหมายองค์กรไม่ได้ หรือไม่มีเป้าหมายที่ตรงกับความรับผิดชอบของหน่วยงาน เหมาะสำหรับหน่วยงานสนับสนุนขององค์กร เช่น ฝ่ายบุคคล ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายการเงินและบัญชี เป็นต้น วิธีนี้จะเน้นไปที่ความพึงพอใจของลูกค้า(ภายใน)เป็นหลัก ให้ตอบคำถามว่า ใครเป็นลูกค้าของหน่วยงานเรา และ ลูกค้ารายนั้นคาดหวังสินค้าหรือบริการอะไรจากหน่วยงานของเรา

16 ตัวอย่าง วิธีที่ 2 Customer focused method
Customer A Result Result Result Work Unit Customer B Customer D Result เรื่องของการบริหารผลงาน เป็นสิ่งที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทุกคนทำอยู่แล้ว เปรียบเสมือนเราไปเรียนการพูดการสนทนา แต่เราเองก็พูดเป็นอยู่แล้ว แต่ว่าจะพูดอย่างไรให้ถูกต้องมากกว่า การบริหารผลงานก็เช่นเดียวกัน ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทุกคน ทำอยู่ตลอด แต่ว่าใครจะทำได้ดีกว่ากันเท่านั้น ความเข้าใจในเรื่องของ PM ก็เช่นกัน หลายท่านเข้าใจว่าเป็นการประเมินผลงานตอนปลายปีเท่านั้น แต่ใน concept เรื่องนี้เราจะกินความมากกว่านั้น จะเป็นกระบวนการต่อเนื่องตั้งแต่การวางแผนผลงานตอนต้นปี แล้วก็มาพัฒนาผลงานกันของพนักงานแต่ละคน สุดท้ายค่อยมาประเมินผลแบบเป็นทางการประจำปี เพื่อนำผลที่ได้ไปวางแผนผลงานต่อ และนำไปใช้ในการให้รางวัลแก่พนักงานที่ทำผลงานได้ดี ดังนั้น การบริหารผลงานจะเน้นไปที่การพัฒนาผลงาน ทั้งในด้านตัวผลงานเอง และตัวพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานแต่ละตำแหน่ง ให้สามารถสร้างผลงานได้ตามที่เราวางแผนไว้ตอนต้นปี หน้าที่ของหัวหน้างานทุกคนก็คือ ต้องบริหารผลงานของพนักงานที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของเราให้สามารถสร้างผลงานได้ตามที่วางแผนไว้ โดยช่วยเหลือ พัฒนา ปรับปรุง และให้คำแนะนำในการทำงาน เพื่อให้ลูกน้องสร้างผลงานได้ เมื่อลูกน้องสร้างผลงานได้ตามเป้าหมาย เราในฐานะลูกพี่ก็จะได้ผลงานตามที่เราวางแผนไว้กับนายเราอีกทอดหนึ่ง Customer C

17 ตัวอย่าง วิธีที่ 2 Customer focused method
ฝ่ายบริหาร ผลสรุปรายงานทางการเงินที่ถูกต้องทุกเดือน ฝ่ายบัญชีการเงิน ลูกค้าบริษัท กรมสรรพากร ออกเอกสารทางการเงินอย่างถูกต้อง สรุปรายงานภาษีอากรถูกต้องและตรงเวลา ทำเรื่องจ่ายเงินถูกต้องตรงเวลา เรื่องของการบริหารผลงาน เป็นสิ่งที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทุกคนทำอยู่แล้ว เปรียบเสมือนเราไปเรียนการพูดการสนทนา แต่เราเองก็พูดเป็นอยู่แล้ว แต่ว่าจะพูดอย่างไรให้ถูกต้องมากกว่า การบริหารผลงานก็เช่นเดียวกัน ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทุกคน ทำอยู่ตลอด แต่ว่าใครจะทำได้ดีกว่ากันเท่านั้น ความเข้าใจในเรื่องของ PM ก็เช่นกัน หลายท่านเข้าใจว่าเป็นการประเมินผลงานตอนปลายปีเท่านั้น แต่ใน concept เรื่องนี้เราจะกินความมากกว่านั้น จะเป็นกระบวนการต่อเนื่องตั้งแต่การวางแผนผลงานตอนต้นปี แล้วก็มาพัฒนาผลงานกันของพนักงานแต่ละคน สุดท้ายค่อยมาประเมินผลแบบเป็นทางการประจำปี เพื่อนำผลที่ได้ไปวางแผนผลงานต่อ และนำไปใช้ในการให้รางวัลแก่พนักงานที่ทำผลงานได้ดี ดังนั้น การบริหารผลงานจะเน้นไปที่การพัฒนาผลงาน ทั้งในด้านตัวผลงานเอง และตัวพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานแต่ละตำแหน่ง ให้สามารถสร้างผลงานได้ตามที่เราวางแผนไว้ตอนต้นปี หน้าที่ของหัวหน้างานทุกคนก็คือ ต้องบริหารผลงานของพนักงานที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของเราให้สามารถสร้างผลงานได้ตามที่วางแผนไว้ โดยช่วยเหลือ พัฒนา ปรับปรุง และให้คำแนะนำในการทำงาน เพื่อให้ลูกน้องสร้างผลงานได้ เมื่อลูกน้องสร้างผลงานได้ตามเป้าหมาย เราในฐานะลูกพี่ก็จะได้ผลงานตามที่เราวางแผนไว้กับนายเราอีกทอดหนึ่ง ผู้ขาย

18 ตัวอย่าง วิธีที่ 2 Customer focused method
ฝ่ายบัญชี และการเงิน ภารกิจหลัก KPI สรุปรายงานสถานะทางการเงินให้กับผู้บริหารอย่างถูกต้องและตรงเวลา อัตราความผิดพลาดของรายงาน อัตราความคลาดเคลื่อนในการส่งรายงานเทียบกับเป้าหมาย อัตราความพึงพอใจของผู้บริหาร สรุปรายงานภาษีอากรส่งกรมสรรพากรอย่างถูกต้องภายในเวลาที่กำหนด อัตราความผิดพลาดของรายงานภาษีอากร ออกเอกสารการรับเงินให้กับลูกค้าอย่างถูกต้อง อัตราความผิดพลาดของใบเสร็จรับเงิน จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้าต่อการออกใบเสร็จรับเงินที่ผิดพลาด

19 ขั้นตอนที่ 2 กำหนดผลสำเร็จของหน่วยงาน
วิธีที่ 3 Develop a work flow chart of work unit ใช้ได้ดีสำหรับหน่วยงานที่รับผิดชอบกระบวนการทำงานทั้งหมดจนสำเร็จ พิจารณากระบวนการในการทำงานตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทางว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง และให้ถามว่ากิจกรรมในขั้นตอนใดที่สำคัญที่สุด ให้กำหนดเป็นตัวชี้วัดผลงานของหน่วยงาน

20 ตัวอย่าง วิธีที่ 3 Develop a work flow chart of work unit
ขั้นตอนการทำงานของฝ่ายผลิต ตรวจสอบวัตถุดิบ ดำเนินการผลิตสินค้า รับคำสั่งผลิต วางแผนการผลิตสินค้า จัดส่งสินค้าให้ลูกค้า นำสินค้าเข้าคลัง ตรวจสอบคุณภาพสินค้า เรื่องของการบริหารผลงาน เป็นสิ่งที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทุกคนทำอยู่แล้ว เปรียบเสมือนเราไปเรียนการพูดการสนทนา แต่เราเองก็พูดเป็นอยู่แล้ว แต่ว่าจะพูดอย่างไรให้ถูกต้องมากกว่า การบริหารผลงานก็เช่นเดียวกัน ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทุกคน ทำอยู่ตลอด แต่ว่าใครจะทำได้ดีกว่ากันเท่านั้น ความเข้าใจในเรื่องของ PM ก็เช่นกัน หลายท่านเข้าใจว่าเป็นการประเมินผลงานตอนปลายปีเท่านั้น แต่ใน concept เรื่องนี้เราจะกินความมากกว่านั้น จะเป็นกระบวนการต่อเนื่องตั้งแต่การวางแผนผลงานตอนต้นปี แล้วก็มาพัฒนาผลงานกันของพนักงานแต่ละคน สุดท้ายค่อยมาประเมินผลแบบเป็นทางการประจำปี เพื่อนำผลที่ได้ไปวางแผนผลงานต่อ และนำไปใช้ในการให้รางวัลแก่พนักงานที่ทำผลงานได้ดี ดังนั้น การบริหารผลงานจะเน้นไปที่การพัฒนาผลงาน ทั้งในด้านตัวผลงานเอง และตัวพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานแต่ละตำแหน่ง ให้สามารถสร้างผลงานได้ตามที่เราวางแผนไว้ตอนต้นปี หน้าที่ของหัวหน้างานทุกคนก็คือ ต้องบริหารผลงานของพนักงานที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของเราให้สามารถสร้างผลงานได้ตามที่วางแผนไว้ โดยช่วยเหลือ พัฒนา ปรับปรุง และให้คำแนะนำในการทำงาน เพื่อให้ลูกน้องสร้างผลงานได้ เมื่อลูกน้องสร้างผลงานได้ตามเป้าหมาย เราในฐานะลูกพี่ก็จะได้ผลงานตามที่เราวางแผนไว้กับนายเราอีกทอดหนึ่ง พิจารณาขั้นตอนที่มีความสำคัญ

21 ตัวอย่าง วิธีที่ 3 Develop a work flow chart of work unit
ฝ่ายผลิต ภารกิจหลัก KPI บริหารคลังวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตให้มีเพียงพอต่อการผลิต อัตราการหมุนเวียนของวัตถุดิบ ผลิตสินค้าให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ยอดผลิตสินค้า อัตราส่วนระยะเวลาในการผลิตเทียบเป้าหมาย ควบคุมดูแลคุณภาพสินค้าที่ผลิตให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด อัตราของเสียที่เกิดขึ้นในการผลิต อัตราข้อร้องเรียนของลูกค้าต่อคุณภาพสินค้า บริการการจัดส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้าภายในระยะเวลาที่กำหนด อัตราระยะเวลาการจัดส่งเทียบเป้าหมาย

22 แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดผลงาน
การกำหนด ตัวชี้วัดผลงานหลัก กำหนดโดยผ่านกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ การกำหนดเป้าหมาย แผนงานและงบประมาณ จากบนลงล่าง และตรวจสอบย้อนกลับ ตัวชี้วัดผลงานหลักต้องสัมพันธ์กับเป้าหมาย ความสำเร็จขององค์การ และความรับผิดชอบของหน่วยงาน / ตำแหน่งงาน และอาจแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา สามารถกำหนดระดับความสำเร็จของตัวชี้วัดอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรมได้ และมีระดับความยากง่ายที่เหมาะสม ใกล้เคียงกัน ส่วนที่ง่ายเกินไป อาจพิจารณาเพิ่มเป้าหมาย จำนวนตัวชี้วัดไม่ควรมากหรือน้อยเกินไป โดยปกติควรอยู่ระหว่าง ตัว ตัวชี้วัดผลงานบางส่วนอาจขัดแย้งกัน ซ้ำซ้อนกัน หรือเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน เช่น ขัดแย้งกัน : กำไรสุทธิ กับ การเติบโตของรายรับ ซ้ำซ้อน : การเติบโตของรายรับ กับ ส่วนแบ่งตลาด เป็นส่วนหนึ่ง : รายรับจากการขาย กับ รายได้รวม

23 แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดผลงาน
มีการให้น้ำหนักตัวชี้วัดมากน้อยตามลำดับความสำคัญ และผลกระทบต่อองค์การ โดยหน่วยงานเอง และตกลงกับผู้บังคับบัญชาโดยตรง ระบบการเก็บข้อมูลเพื่อการติดตาม ประเมินผล ไม่ซับซ้อน ยุ่งยาก และเป็นภาระในการบริหารจัดการมากเกินไป อาจมีการแต่งตั้งคณะกรรมการทำหน้าที่พิจารณากลั่นกรองตัวชี้วัด และเป้าหมาย ให้เหมาะสมและเป็นธรรม โดยมีหน้าที่ดังนี้ ประสานงานการกำหนดเป้าหมาย และ แผนงานของหน่วยงานต่างๆ และ รวบรวมตัวชี้วัดขององค์การ หน่วยงาน และบุคคล ศึกษา พิจารณากลั่นกรอง และเสนอความเห็นเกี่ยวกับตัวชี้วัด เป้าหมาย และแผนงานของทุกระดับ รวมทั้งน้ำหนักคัวชี้วัด จัดสรรตัวชี้วัดหลัก และ เป้าหมายแก่หน่วยงานต่างๆ อาจรวมถึงผลตอบแทนจูงใจ กำหนดแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการติดตาม และรายงานผลงานอย่างชัดเจน ต่อเนื่อง ติดตาม ประเมินผลรายเดือน ไตรมาส และประจำปี ของหน่วยงานต่างๆ และรายงานผลตามกำหนด

24 ลักษณะตัวชี้วัดผลงานที่ดี
1. สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ และยุทธศาสตร์ขององค์กร 2. วัดเฉพาะกิจกรรมที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงาน 3. ประกอบด้วยตัวชี้วัดทั้งที่เป็นด้านการเงิน และไม่ใช่ด้านการเงิน 4. ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่เป็นเหตุ และ ผล 5. ทุกตัวชี้วัดจะต้องมีบุคคล หรือ หน่วยงานรับผิดชอบ 6. ควรเป็นตัวชี้วัดที่องค์กรสามารถควบคุมได้ 7. ตัวชี้วัดต้องสามารถวัดได้ และเป็นที่เข้าใจของบุคคลทั่วไป 8. การแสดงผลของตัวชี้วัดจะต้องมีความชัดเจน 9. ต้องไม่ก่อให้เกิดความแตกแยกระหว่างหน่วยงาน และบุคลากร ในองค์กร

25 วิธีการเขียน Key Result Areas : KRA
ให้คิดถึงผลงานที่สำคัญที่คาดหวังจากการทำงานนั้นๆ ภารกิจ / กิจกรรม ผลลัพท์สำคัญ จัดเก็บเอกสาร เอกสารได้รับการจัดเก็บอย่างถูกต้อง และสะดวกในการค้นหา ขายสินค้า สินค้าที่ขายได้ตามเป้า ให้คำแนะนำแก่ลูกค้า ลูกค้าได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง และชัดเจน เก็บเงินค่าสินค้า ยอดเงินค่าสินค้าที่ได้รับการเก็บในระยะเวลาที่กำหนด จัดทำรายงาน รายงานยอดขายที่ถูกต้อง และส่งในเวลาที่กำหนด

26 Key Performance Indicator (KPI)
ผลลัพท์สำคัญกับตัวชี้วัดผลงาน Key Result Area (KRA) ผลลัพท์สำคัญ Key Performance Indicator (KPI) คำอธิบายถึงลักษณะของผลงานสำคัญที่ต้องการให้สำเร็จ วิธีการวัดผลความสำเร็จของ KRA ตัวอย่าง : ฝ่ายขาย KRA KPI ยอดขายสินค้าตามเป้าหมาย ยอดขายสินค้าเทียบกับเป้าหมาย ลูกค้าได้รับบริการตอบข้อซักถาม ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการตอบข้อซักถาม สินค้าถึงมือลูกค้าในระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละของการส่งสินค้าได้ตามกำหนดเทียบกับเป้าหมาย

27 FUNCTION : IT Sample KEY RESPONSIBILITY KRA PI COMPETENCY
1. จัดหา Leased Line ระบบ เครือข่าย เครื่องแม่ ข่าย  เครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะ, Note Book เครื่องพิมพ์  อุปกรณ์ต่อ พ่วงต่างๆ 2. ให้บริการสารสนเทศ และ ให้คำปรึกษาแก้ไขปัญหา การใช้งานคอมพิวเตอร็ 3. วิเคราะห์ ออกแบบ และ พัฒนาระบบงานหรือ โปรแกรมตอบสนอง หน่วยงานภายในองค์กร 4. จัดการระบบฐานข้อมูล และ ระบบความปลอดภัยในการ เข้าถึงข้อมูล 5. พัฒนาระบบและปรับปรุง ข้อมูลเวบไซต์ให้ทันสมัย อยู่เสมอ KRA คุณภาพการใช้งานระบบ เครือข่าย และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์เป็นไปตาม มาตรฐานและตอบสนอง ผู้ใช้งาน ให้บริการและแก้ไขปัญหา ด้าน IT ได้ตามความ ต้องการของผู้ใช้งาน บริการด้วยความรวดเร็ว แสดงพฤติกรรมการ ให้บริการที่ประทับใจ - ระบบงานหรือ โปรแกรมที่รองรับการ ดำเนินงานของหน่วยงาน ต่างๆ และรวดเร็ว - ระบบความปลอดภัยใน การเข้าถึงข้อมูลเป็นไป ตามมาตรฐานและ สอดคล้องกับนโยบาย บริษัท รูปแบบเวบไซต์ถูกต้อง สวยงาม ข้อมูลในเวบไซต์ถูก ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน อย่างสม่ำเสมอ PI - จำนวนครั้ง/อัตราการล่มของ ระบบเครือข่าย - ความพึงพอใจ/ข้อร้องเรียน ของผู้ใช้ระบบ เครือข่าย - ความรวดเร็ว/ระยะเวลาการ ให้บริการ - ความพึงพอใจ/ข้อร้องเรียน ของผู้ใช้งาน ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา ระบบ/โปรแกรม อัตราความผิดพลาดจาก การใช้งานระบบ/ โปรแกรม ความรวดเร็วในการดึงข้อมูล จากฐานข้อมูลไปใช้ อัตราความผิดพลาดจาก การเข้าถึงข้อมูล จำนวนผู้เข้าชมเวบไซต์ อัตราความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการเวบไซต์ อัตราความผิดพลาดของ ข้อมูลในเวบไซต์ COMPETENCY - ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์ ซอฟท์แวร์ และระบบ เครือข่าย จิตสำนึกการให้บริการ ทักษะการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และตัดสินใจ ความรู้ระบบงานภายในองค์กร ทักษะการเขียนโปรแกรม ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ การบริหารฐานข้อมูล การบริหารความปลอดภัย - การจัดการข้อมูลเวบไซต์ Sample

28 Functional KPIs and Functional competencies
3. WORKSHOP Functional KPIs and Functional competencies

29 FUNCTION ________________
KEY RESPONSIBILITY KRA PI COMPETENCY

30 ระบบบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
ขั้นตอนต่อไป ระบบบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากร คณะทำงาน วิเคราะห์ภารกิจหลัก ผลลัพท์สำคัญ ตัวชี้วัดผลงาน และสมรรถนะที่จำเป็นของหน่วยงานที่ดูแลให้ครบถ้วน สมบูรณ์ ส่งให้ที่ปรึกษา วิเคราะห์ตำแหน่งงานที่อยู่ในหน่วยงาน และจัดทำรายละเอียดเช่นเดียวกัน ที่ปรึกษา รวบรวม ตรวจแก้ และสรุปตัวชี้วัดผลงาน และสมรรถนะของกรมฯและหน่วยงานที่คณะทำงานจัดส่งมาให้ นัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 คณะทำงานนำเสนอตัวอย่างผลงาน และที่ปรึกษาให้ความเห็น เพื่อปรับปรุงแก้ไข ที่ปรึกษาชี้แจงแนวทางการจัดทำ Job Profile และวิเคราะห์ตัวชี้วัดผลงาน และสมรรถนะของตำแหน่งงาน

31 บริษัท การจัดการธุรกิจ จำกัด
Q & A THANK YOU บริษัท การจัดการธุรกิจ จำกัด


ดาวน์โหลด ppt กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google