ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2551 (ตุลาคม กันยายน 2551)
2
สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ร้อยละผู้มีฟันใช้งานตามเกณฑ์ ร้อยละ 50 ของประเทศ
3
ความครอบคลุมของการรักษาและส่งเสริมป้องกันผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
4
สถานการณ์ชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่
ชมรมผู้สูงอายุในโรงพยาบาลทุกอำเภอ จำนวน 24 อำเภอ กิจกรรมที่มีการดำเนินงานต่อเนื่อง - ออกกำลังกาย - ประกวดผู้สูงอายุในกิจกรรมวันผู้สูงอายุแห่งชาติ
5
วัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ โดย
- สร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้สูงอายุ - จัดระบบบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามความจำเป็น 2. สร้างความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
6
ยุทธศาสตร์การพัฒนาทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ
เพิ่มประสิทธิภาพ การตรวจเฝ้าระวัง ตรวจเฝ้าระวังคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง ขยายกลุ่มเป้าหมายเพิ่ม พัฒนาด้านส่งเสริม ป้องกัน ให้คำแนะนำ ฝึกทักษะ การดูแลทันตสุขภาพ การใช้ฟลูออไรด์เสริม จัดบริการเชิงรุก พัฒนาคุณภาพระบบ การรักษา การเข้าถึงบริการ จัดบริการใส่ฟันเทียม พัฒนาระบบส่งต่อ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การมีส่วนร่วมของ อปท., ชุมชน สร้างแกนนำผู้สูงอายุ เยี่ยมบ้าน อปท. สนับสนุนกิจกรรม, งบประมาณ สร้างนวัตกรรมในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
7
ผู้สูงอายุจาก 5 อำเภอ ตรวจคัดกรองอำเภอละ 300 คน รวมทั้งหมด 1,500 คน
เป้าหมาย 5 อำเภอ ในจังหวัดเชียงใหม่ คือ อำเภอ สันทราย อำเภอ สารภี อำเภอ ฝาง อำเภอหางดง อำเภอ สันป่าตอง ผู้สูงอายุจาก 5 อำเภอ ตรวจคัดกรองอำเภอละ 300 คน รวมทั้งหมด 1,500 คน
8
งบ PP area base (Development Model)
งบประมาณ 51,000 บาท/อำเภอ งบ PP area base (Development Model) ค่าวัสดุ, ฟลูออไรด์วานิช, ขูดหินปูน, ค่าบันทึกข้อมูล ดำเนินการสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุทำกิจกรรม ประเมินความพึงพอใจต่อการทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
9
แผนภูมิแสดงร้อยละผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน
10
ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูง
11
ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคปริทันต์และสภาวะรากฟันผุ
12
ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก
13
สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน)
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) คัดเลือกแกนนำคุ้ม ป๊อก เพื่อประชาคมสุขภาพ จัดเวทีการเรียนรู้ด้วยตนเอง แกนนำขยายผลสู่ครอบครัว สมาชิกในป๊อก และจัดเก็บข้อมูล
14
สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน)
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) 4. แกนนำสร้างเครือข่ายในป๊อก ในการส่งเสริมสุขภาพ 5. อบรมความรู้สุขภาพช่องปากโดยการแบ่งฐาน 6. เพิ่มทักษะในการแปรงฟัน, ย้อมสีฟันและดูแลสุขภาพในช่องปาก
15
สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน)
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) 7. มีการพบปะ เสวนาเรื่องอาหารสุขภาพส่งเสริมให้รับประทานอาหารผักและผลไม้ 8. ผู้สูงอายุเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพช่องปากและให้ความรู้ ลูกหลานได้ 9. เยี่ยมบ้าน สิ่งที่พบภูมิปัญญาในการทำไม้จิ้มฟันวิเศษ
16
สารภี : ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่ากว้าง (503 คน)
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สารภี : ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่ากว้าง (503 คน) 1. อบรมแกนนำในการให้ทันตสุขภาพแบบองค์รวม 2. บูรณาการคัดกรองโรคในช่องปากร่วมกับการคัดกรองโรคเรื่อรังอื่นๆ
17
3. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สารภี : ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่ากว้าง (503 คน) 3. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน 4. มีการเยี่ยมบ้านโดยใช้ชื่อว่า เพื่อนเยี่ยมเพื่อน
18
2. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น หางดง : ชมรมผู้สูงอายุตำบลหางดง (894 คน) ,ตำบลหนองตอง(1,660 คน) , ตำบลหารแก้ว (924 คน) อบรมแกนนำผู้สูงอายุ 2. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน
19
หางดง สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น
3. มีการเยี่ยมบ้านโดยแกนนำผู้สูงอายุ และให้ความรู้ทันตสุขภาพ
20
ฝาง : ชมรมผู้สูงอายุตำบลแม่งอน (300 คน)
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น ฝาง : ชมรมผู้สูงอายุตำบลแม่งอน (300 คน) 1. ประชุมหารือแกนนำผู้สูงอายุด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 2. เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
21
สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันป่าตอง : ชมรมผู้สูงอายุบ้านแม,มะขามหลวง,ยุหว่า,บ้านกลาง,ทุ่งต้อม(12,000 คน) 1. อบรมแกนนำผู้สูงอายุระดับหมู่บ้านในการดูแลทันตสุขภาพ 2. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก อบต.ยุหว่า
22
ปัญหาอุปสรรค 1. ระยะเวลากระชั้นชิด ยังสับสนเรื่องแหล่งงบประมาณ 2. ขั้นตอนการกรอกแบบฟอร์มยุ่งยาก กรณีกรอกเลข 13 หลัก ไม่ถูกต้อง โปรแกรมไม่รับข้อมูล 3. เก็บจำนวนมากแต่ใช้ข้อมูลในการบันทึกน้อย 4. บันทึกข้อมูลไม่ได้ 5. การเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากไม่สามารถเดินทางมารับบริการได้
23
ข้อเสนอแนะ จัดหาแหล่งสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนโครงการ Development Model ปรับโปรแกรมการลงข้อมูลและแบบฟอร์มให้ง่ายต่อการใช้งาน เช่น ค่าBMI วัดรอบเอว ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคในช่องปาก ฯลฯ ลงข้อมูลไม่ได้ การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในการสนับสนุนกิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุและงบประมาณ ขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุและสร้างแกนนำผู้สูงอายุให้มากขึ้น
24
สวัสดีเจ้า...
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.