ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยΑργυρός Ελευθερόπουλος ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดสุพรรณบุรี
คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม
2
1 3 2 สถานการณ์ มาตรการ59 สิ่งท้าทาย มาตรการ อสธจ :
ผลสรุปการตรวจนิเทศราชการปกติ กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 4 และ 5 จังหวัดสุพรรณบุรี รอบที่ 1/2559 สถานการณ์ มาตรการ59 สิ่งท้าทาย 1 ขยะทั่วไป เกิดอันดับ 22 ของประเทศ กำจัดไม่ถูกต้อง เป็นอันดับ 11 ของประเทศ อันดับ 1 ของเขต คงค้างอันดับ 1 ของเขต มีจุดกลางกำจัดผังกลบ 3 จุด(เทศบาลเมือง ศรีประจันต์ และสองพี่น้อง) จาก 21 จุดของจังหวัด (จาก 45 อปท บางอปท ส่ง 3 จุดที่มีฝังกลบ) ยังนำกลับมาใช้น้อย ที่เหลือทิ้งที่โล่งของเทศบาลและเผาเอง อปท ออกข้อกำหนดจัดการ 91.1% ผ่าน EHA 4001 ผ่าน 9 แห่ง * บังคับใช้มาตรการผ่าน อสธจ * เร่งรัด EHA4001 ให้ได้ 25% * พัฒนาต้นแบบจังหวัดละ 1 แห่ง * สร้างศักยภาพให้ อปท อสม * จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์ *ขยะทั่วสะสมสูง *ลดขยะก่อนกำจัดน้อย *แผนการจัดทำแหล่งกำจัด *ดำเนินการผ่าน อสธจ *ทำต้นแบบ มาตรการ อสธจ : ประชุม 3ครั้ง/ปี มีมติด้าน อวล อย่างน้อย เรื่อง และการติดตาม * ประชุม 22 มค 59 * มติ การขับเคลื่อน คือ การจัดการมูลฝอยทั่วไป การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และการเร่งรัดการออกข้อกำหนดท้องถิ่น(พัฒนารายอำเภอ) 3 2 เฉลี่ย 1,715Kg/วัน เฉพาะใน 10 รพ 174 รพสต รพ เอชน 5 คลินิกเอกชน 215 รพ/คลินิกสัตว์ 23 และผู้ป่วยชุมชน(ติดเตียง) รพสต เข้าระบบบริหารผ่านCup รพของรัฐและเอกชนผ่านการประเมินครบ สามชุก มี 4 รพสต ที่มีขยะติดเชื้อน้อย ห่างไกลส่งไม่สม่ำเสมอ คลินิกเอกชนและรพ/คลินิกสัตว์ ในเขตเมืองส่งให้เทศบาลเมืองกำจัด(เผา) *ขยะติดเชื้อชุมชนเพิ่มขึ้น *พัฒนาต้นแบบระบบคุณภาพ *การเฝ้าระวังระบบจัดการให้มีคุณภาพตามกฎหมาย *การจัดการมูลฝอยติดเชื้อเป็นกฎหมายสู่การปฏิบัติ ให้เร่งรัดและกำกับผ่าน อสธจ *เร่งประเมินตามกฎกระทรวงฯ *เร่งรัดการดำเนินการผ่าน อสธจ *พัฒนาต้นแบบการจัดการครบวงจร *สร้างศักยภาพให้ อปท จนท รพ ฯ *จัดทำฐานข้อมูล
3
ตรวจเยี่ยม อวล รพ เจ้าพระยายมราชฯ เมืองสุพรรณฯ
วันที่ 3 กพ 2559 เวลา – 15.00 *ผ่าน HA ตั้ง ธนาคารขยะ ได้รับ รางวัลลดโลกร้อน(ระดับภูมิภาค) *จัดการขยะติดเชื้อของตนเอง, 29 Cup และชุมชน รวมกว่าปีละ 1.8 ล้าน *ประเด็นปัญหาคือ ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีไม่สมดุลกับปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น ขอความกรุณาท่านผู้ตรวจพิจารณารองรับเร่งด่วน
4
การตรวจเยี่ยมถนนอาหารที่กำลังพัฒนา
วันที่ 3 กพ 2559 เวลา – 23.00 8 จังหวัด Food Safety มิติสิ่งแวดล้อม มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม ตรวจเยี่ยมถนนอาหารครั้งที่1 *การมอบป้ายรับรองถนนอาหาร *การติดป้ายรับรองจะทำอาหารให้ปลอดภัย *เสนอข่าวและพิธีมอบป้าย ครั้งที่2
5
เยี่ยม รพ สามชุก เยี่ยมการดำเนินงาน อวล และมูลฝอยติดเชื้อ
วันที่ 4 กพ 2559 เวลา – 15.00 *รพ มีระบบสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลดีมาก ผ่าน HA *มีการจัดการขยะติดเชื้อครบระบบใน Cup ที่รับผิดชอบและชุมชน(ติดเตียง) ตามระบบ รพสต มี 3 Focal point ส่งขยะติดเชื้อมาเก็บที่ รพ ให้บริษัท มาเก็บขนและน้ำไปกำจัดต่อ 44 Kg/วัน พร้อมมีระบบควบคุมคุณภาพ และบันทึกระบบโปรแกรม แต่ให้เพิ่มรายละเอียดปริมาณขยะด้วย
6
เยี่ยม ตลาดสามชุก 100ปี และตลาดสด ดูการจัดการ อวล
วันที่ 4 กพ 2559 เวลา – 16.00 *พบภาคีตลาดสามชุก 100ปี มีปัญหาการจัดการขยะของเทศบาลทำให้ตกค้าง *ตลาดสด ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 5 ดาว และกำลังประเมิน ส้วม ได้ HAS ระดับประเทศ *ทุกแผงขายอาหารในตลาดมีบ่อดักไขมัน *อยากให้ท่านผู้ตรวจไปเยี่ยม
7
เยี่ยม รพสต หนองผักนาค สามชุก ดูการจัดการขยะติดเชื้อ
วันที่ 4 กพ 2559 เวลา – 17.00 * รวบรวมขยะติดเชื้อจากชุมชนตามการจัดการขยะติดเชื้อครบระบบใน Cup * นำขยะติดเชื้อส่ง รพ สามชุก พร้อมการบริหารจัดการค่าใช้จ่าย (การบริหารเงิน) * ที่พักขยะเสนอให้ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน เป็นสัดส่วน
8
ตัวอย่างศูนย์กำจัดขยะครบวงจร เทศบาลตำบลศรีประจันต์
9
ตัวอย่างการดำเนินงานเก็บขนขยะติดเชื้อตามนโยบาย
10
ตัวอย่างเตาเผาที่สามารถใช้การได้
หัวเผา หัวเผาที่ 1 หัวเผาที่ 2 760c+ 1000c+ ใส่ขยะ มิเตอร์บอกอุณหภูมิ หัว รพ ที่มีขยะติดเชื้อไม่เกิน 50Kg/day
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.