งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัชพืชถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัชพืชถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัชพืชถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด
ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน

2 วัตถุประสงค์...การป้องกันกำจัดวัชพืช
เพื่อป้องกัน ยับยั้ง หรือชะลอการงอกของวัชพืช เพื่อทำลายต้นวัชพืช ทั้งส่วนที่อยู่เหนือดิน และส่วนที่อยู่ใต้ดิน ก่อนที่จะถึงช่วงวิกฤตของการแข่งขัน เพื่อลดการเจริญเติบโตของวัชพืช

3 การแข่งขันของวัชพืชกับพืชปลูก [การแก่งแย่ง]
1 ธาตุอาหาร 2 น้ำ 3 แสงแดด

4 การแข่งขันของวัชพืชอย่างรุนแรงและมีผลต่อการให้ผลผลิตของถั่วเขียวอยู่ในช่วง 2-4 สัปดาห์ ถ้าไม่กำจัดวัชพืชในช่วงนี้อาจมีผลทำให้ผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เปอร์เซ็นต์ หรืออาจเก็บผลผลิตไม่ได้เลย

5 ชนิดวัชพืช แบ่งประเภทดังนี้ ทางพฤกษศาสตร์ (ใบแคบ ใบกว้าง กก)
แบ่งประเภทดังนี้ ทางพฤกษศาสตร์ (ใบแคบ ใบกว้าง กก) ชีพจักร (อายุ)

6 วัชพืชฤดูเดียว ประเภทใบแคบ ได้แก่ หญ้านกสีชมพู หญ้าตีนนก หญ้าตีนกา และหญ้าดอกขาว เป็นต้น ประเภทใบกว้าง ได้แก่ ผักยาง ผักโขม ปอวัชพืช ผักเบี้ยหิน เทียนนา และกะเม็ง เป็นต้น ประเภทกก กกทราย หนวดปลาดุก เป็นต้น

7 หญ้าตีนนก หญ้านกสีชมพู

8 หญ้าปากควาย หญ้าตีนกา

9 หญ้าบุ้ง หญ้ารังนก

10 ผักเสี้ยนผี ลูกใต้ใบ

11 หญ้ายาง ปอวัชพืช

12 ผักโขม ผักโขมหิน

13 ผักเบี้ยใหญ่ หญ้ากำมะหยี่

14 ผักปลาบ ตีนตุ๊กแก

15 ผักโขมหนาม บานไม่รู้โรยป่า

16 เทียนนา โคกกระสุน

17 น้ำนมราชสีห์ ผักเบี้ยหิน

18 กกขนาก กกทราย

19 ประเภทใบแคบ เช่น หญ้าแพรก หญ้าตีนติด และหญ้าชันกาด เป็นต้น
วัชพืชข้ามปี ประเภทใบแคบ เช่น หญ้าแพรก หญ้าตีนติด และหญ้าชันกาด เป็นต้น ประเภทใบกว้าง เช่น ไมยราบเครือ สาบเสือ และตดหมูตดหมา เป็นต้น ประเภทกก เช่น แห้วหมู

20 หญ้าตีนติด ขยุ้มตีนหมา

21 แห้วหมู

22 วิธีการควบคุมวัชพืช วิธีการควบคุม
การควบคุมวัชพืชโดย ไม่ใช้สารกำจัดวัชพืช วิธีการควบคุม การควบคุมวัชพืชโดย ใช้สารกำจัดวัชพืช การกำจัดวัชพืชแบบผสมผสาน

23 การป้องกันและกำจัดวัชพืชโดย ไม่ใช้สารกำจัดวัชพืช
1 วิธีการป้องกัน 2 การทำลายทางกายภาพ 3 การจัดการ

24 การป้องกัน เป็นการสกัดกั้นเพื่อไม่ให้เมล็ด หรือส่วนขยายพันธุ์ได้ของวัชพืชกระจายเข้าไปในพื้นที่เพาะปลูก เช่น เลือกใช้เมล็ดพันธุ์ที่ไม่มีเมล็ดวัชพืชปะปน การทำอาหารสัตว์ ให้ทำลายการงอกเสียก่อน การใช้ปุ๋ยคอก ควรมีการหมักเสียก่อน การเคลื่อนย้ายสัตว์ การเคลื่อนย้ายเครื่องมือการเกษตร

25 การทำลายทางกายภาพ การทำลายวัชพืชที่งอกขึ้นมาแล้ว อาจด้วยแรงงานคน หรือเครื่องจักรกล ควรทำลายเมื่อวัชพืชยังไม่ออกดอก

26 วิธีการทำลายทางกายภาพ
การไถพรวนและการคราด การไถ มีการทำลายคล้ายการขุด ทำประมาณ 2 ครั้ง ห่างกัน 2-3 สัปดาห์ การพรวนหรือการคราด เครื่องมือลงไปในดินไม่ลึก เหมาะสำหรับวัชพืชฤดูเดียว

27

28 การทำลายทางกายภาพ การทำรุ่น เป็นการกำจัดวัชพืชในระยะก่อนที่ พืชปลูกออกดอก การถอนด้วยมือ เหมาะสำหรับพื้นที่ขนาดเล็ก การใช้จอบถาก การขุดด้วยจอบหรือเสียม ใช้กับวัชพืชข้ามปี

29

30 การจัดการวัชพืช การใช้วัสดุคลุมดิน จากการทดลองที่ผ่านมา พบว่าการใช้ฟางข้าวหรือต้นข้าวโพดคลุมแปลงปลูก ช่วยลดปริมาณและการเจริญเติบโตของวัชพืชได้ การใช้ระบบการปลูกพืช โดยปลูกเป็นพืชแซม ปลูกพืชหมุนเวียน หรือปลูกพืชร่วมกับพืชอื่น

31

32 การควบคุมวัชพืชโดยใช้สารกำจัดวัชพืช
หมายถึง การใช้สารเคมีชนิดใดก็ตาม เพื่อทำลายหรือยับยั้งการเจริญของวัชพืชขณะที่ยังเป็นเมล็ดอยู่ในดิน หรืองอกมาแล้วก็ตาม

33 การควบคุมวัชพืชโดยใช้สารกำจัดวัชพืช
ก่อนปลูกพืช ลักษณะการใช้สารกำจัดวัชพืช ก่อนงอก หลังงอก

34

35 ใช้สารก่อนปลูกพืช เมื่อ
ต้องการกำจัดวัชพืชที่ค้างอยู่ในแปลง โดยเฉพาะวัชพืชข้ามปี ต้องการรีบปลูกพืช และไม่มีเวลาไถ ตากดิน ทิ้งไว้ได้นานพอ หลังจากเตรียมดินแล้ว ไม่สามารถปลูกพืชได้ แต่อาจมีวัชพืชต้นเล็กๆ ขึ้น

36 สารกำจัดวัชพืชก่อนปลูกพืช
paraquat อัตรา กรัม(ai)/ไร่ กำจัดวัชพืชปีเดียวทั้งใบแคบ ใบกว้าง และกก glyphosate อัตรา กรัม(ai)/ไร่ กำจัดวัชพืชข้ามปีทั้งใบแคบ ใบกว้าง และกก

37 ใช้สารเคมีประเภทไม่เลือกทำลายพ่นคลุมไปบนต้นวัชพืชให้ทั่ว ก่อนการเตรียมดิน..เช่น - พาราควอท (paraquat) พ่นก่อน เตรียมดินหรือปลูกอย่างน้อย 3 วัน - ไกลโฟเสท (glyphosate) พ่นก่อน เตรียมดินหรือปลูกอย่างน้อย 10 วัน (เมื่อเป็นวัชพืชข้ามปี)

38 การใช้สารเคมีก่อนงอก (pre-emergenc)
เป็นสารเคมีประเภทเลือกทำลายวัชพืช พ่นคลุมดินก่อนวัชพืชและพืชงอก (หลังปลูก) => ยับยั้งการเจริญเติบโต หรือ ทำลายต้นกล้าวัชพืชที่งอกแล้วแต่ยังอยู่ใต้ดิน

39

40

41 สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก
อะลาคลอร์ (alachlor) อัตรา กรัม(ai)/ไร่ เมโทลาคลอร์ (metolachlor) อัตรา กรัม(ai)/ไร่ อ๊อกซาไดอาซอน (oxadiazon) อัตรา กรัม(ai)/ไร่ อิมาเซ็ทธาเพอร์ (imazethapyr) อัตรา กรัม(ai)/ไร่

42 การใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชหลังงอก (post-emergence)
หมายถึง... การใช้สารเคมีหลังจากที่พืชปลูกและวัชพืชงอกขึ้นมาแล้ว แต่ยังอยู่ในระยะเจริญเติบโตด้านลำต้น ก่อนออกดอก (ประมาณ วัน วัชพืชขนาด 3-5 ใบ)

43 ข้อควรระวังการใช้สารแบบหลังงอก
พ่นตามระยะเวลา อัตราต่อพื้นที่ที่กำหนด พ่นช่วง ลมสงบ ปลอดฝน ระวังพืชใกล้เคียง ควรมีระยะปลอดฝนอย่างน้อย 4 ชั่วโมง อาจมากหรือน้อยกว่านี้ ขึ้นกับชนิดของสารเคมีนั้นๆ วัชพืชได้รับสารเคมีไม่ทั่วถึง อาจเนื่องมาจาก การพ่นไม่ดีพอ สารเคมีไม่จับใบพืช

44 สารกำจัดวัชพืชหลังงอกหรือหลังปลูก
สารที่ใช้กำจัดวัชพืชใบแคบ เช่น ฟลูอะซิฟอบ-พี-บิวทิล (fluazifop-P-butyl) อัตรา 24 กรัม(ai)/ไร่ ฮาโลซีฟอบ-อาร์-เมธิล (haloxyfop-R-methyl) อัตรา กรัม(ai)/ไร่ ฟีโนซาพรอพ-พี-เอธิล (fenoxaprop-P-ethyl) อัตรา 12 กรัม(ai)/ไร่ โพรพาควิซาฟอป (propaquizafop) อัตรา 10 กรัม(ai)/ไร่

45 สารกำจัดวัชพืชหลังงอกหรือหลังปลูก
ถั่วเขียว สารที่ใช้กำจัดวัชพืชใบกว้าง เช่น โฟมิซาเฟน (fomesafen) อัตรา 40 กรัม(ai)/ไร่ สารที่ใช้กำจัดวัชพืชทั้งใบแคบและใบกว้าง ใช้สารที่กำจัดวัชพืชใบแคบ ผสมกับ สารกำจัดวัชพืชใบกว้าง โดยใช้อัตราตามคำแนะนำของสารแต่ละชนิด

46

47

48

49 วิธีการใช้สารเคมีให้มีประสิทธิภาพ
การใช้ให้ถูกต้อง การใช้ให้ถูกอัตรา การใช้ให้ถูกเวลา

50 1 การใช้ให้ถูกต้อง การพิจารณาการใช้สารให้ถูกต้อง
การพิจารณาการใช้สารให้ถูกต้อง จะใช้กำจัดวัชพืชในพืชปลูกอะไร จะใช้กำจัดวัชพืชอะไร จะใช้สารเสริมประสิทธิภาพ ประเภทไหน

51 2 การใช้ให้ถูกอัตรา ผลของการพ่นสารผิดอัตราที่กำหนด พ่นต่ำกว่าอัตรา - พืชไม่เป็นพิษ ไม่ควบคุมวัชพืช พ่นสูงกว่าอัตรา - ควบคุมวัชพืชได้ พืชอาจเป็นพิษ - สิ้นเปลือง - มีผลตกค้าง - พืชเกิดความต้านทาน

52 หัวพ่นสารกำจัดวัชพืช
ให้ใช้แบบที่พ่นละอองออกมาเป็น “รูปพัด” หรือ “แบบปะทะ”

53 ถังพ่นสารกำจัดศัตรูพืช

54 ถังพ่นสารวัชพืช

55 วิธีการพ่นสารกำจัดวัชพืช

56 Thank You


ดาวน์โหลด ppt วัชพืชถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google