ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAlejandra Miranda Sevilla ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ปีการศึกษา 2559
แนวทางการดำเนินการ นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ปีการศึกษา 2559
2
ลดเวลาเรียน ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพิ่มเวลารู้ วัดผล ตามตัวชี้วัด
แนวทางการพัฒนาการดำเนินงาน นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1-6 และ ม.1-3 ชั้น ตชว. ต้องรู้ % ตชว. ควรรู้ % ป.1 60 40 ป.2 62 38 ป.3 ป.4 68 32 ป.5 73 27 ป.6 75 25 ม.1 77 23 ม.2 76 24 ม.3 74 26 ลดเวลาเรียน ทฤษฎี ตชว. ต้องรู้ เนื้อหา หลัก สอบ O-NET ต้องเรียน ปฏิบัติ ตัดเนื้อหา ลดเวลาเรียน ทฤษฎี ตชว. ควรรู้ เนื้อหา ควรรู้ ไม่สอบ O-NET ควรเรียน ปฎิบัติ เพิ่มเวลารู้ 8 กลุ่มสาระฯ (ตัวชี้วัดต้องรู้ ควรรู้) Head คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษาและพลศึกษา Heart เพิ่มเวลารู้ วัดผล ตามตัวชี้วัด Hand Health
4
ลดเวลาเรียน ปรับโครงสร้าง เวลาเรียน ลดเวลา แต่เนื้อหาไม่ลด ลดเนื้อหา
กพฐ. เห็นชอบ (ส.ค. 59) ปรับโครงสร้าง เวลาเรียน รมว.ศธ. ประกาศ โครงสร้างเวลาเรียนใหม่ (ส.ค. 59) โรงเรียนในโครงการฯ ปรับเวลาเรียน ตามประกาศ (ต.ค. 59) ลดเวลา แต่เนื้อหาไม่ลด สพฐ. กำหนดตัวชี้วัด “ต้องรู้” และ ”ควรรู้” (ดำเนินการแล้ว) ลดเนื้อหา ตัด/ลดและกำหนดเนื้อหาหนังสือเรียน ตามตัวชี้วัด “ต้องรู้” และ “ควรรู้” (ก.ย. 59) ครูเครียด/ กังวล จะสอนไม่ครบเนื้อหา ลดเวลาเรียน ประกาศตัวชี้วัดและเนื้อหาหลักในหนังสือเรียน “ต้องรู้” และ “ควรรู้” (ต.ค. 59) ปรับปรุงการวัด และประเมินผล ระดับสถานศึกษา สพฐ.ชี้แจงโรงเรียน นักเรียนต้องสอบ ตามเนื้อหา ที่หลักสูตรกำหนด สพฐ.พัฒนาคลังข้อสอบบริการ สพฐ.คัดเลือกตัวชี้วัด“ต้องรู้”ให้ สทศ. สทศ. ออกข้อสอบตาม ตชว. “ต้องรู้” สพฐ.ชี้แจงโรงเรียน ไม่เข้าใจนโยบาย/เป้าหมายโครงการ ผู้ปกครอง กังวล นักเรียนจะสอบไม่ได้ โรงเรียนชี้แจงผู้ปกครอง - นโยบาย/เป้าหมายโครงการ - ผลการทดสอบ O-NET ของโรงเรียนเข้าร่วม โครงการสูงขึ้น - กิจกรรม 4H มีทักษะการคิดวิเคราะห์ เป็นคนดี มีคุณธรรม มีทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน มีสุขภาพที่ดี สร้างความรู้ความเข้าใจให้ชัดเจน
5
เพิ่มเวลารู้ ภาระงานของครู มีมาก
พัฒนาศักยภาพ Core Smart Trainer และSmart Trainer สร้างทีม Core Smart Trainer ประจำเขตพื้นที่ พัฒนาผู้ติดตามและประเมินผล สร้างความตระหนักรู้อย่างเข้มข้นแก่ผู้บริหารและครู สพฐ.ประกาศแต่งตั้ง ทีม Core Smart Trainer สพฐ.จัดทำและเผยแพร่คู่มือการบริหารและการดำเนินโครงการ ประชุมสัมมนา Core Smart Trainer (Face To Face) ประชุมสัมมนา Smart Trainer ผู้บริหาร ครู และ คณะติดตาม(การอบรมแบบทางไกล) ประชุมปฏิบัติการ Smart Trainer ผู้บริหาร ครู และคณะติดตาม(ตามภาระงานที่มอบหมาย) สนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนขนาดเล็ก จัดสรรงบประมาณแบบ TOP UP ตามจำนวนนักเรียน Smart Trainer ศักยภาพยังไม่เพียงพอ คณะผู้ติดตามและประเมินมีข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน ผู้บริหารและครูไม่ให้ความสำคัญ ผู้บริหารและครูมีความเข้าใจผิดว่าต้องใช้งบประมาณในการจัดกิจกรรม โรงเรียนขนาดเล็กงบประมาณไม่พอ ศึกษาดูงาน การดำเนินการ ยังไม่บรรลุ เจตนารมณ์ โครงการ Head ยังไม่พัฒนา การคิดขั้นสูง Hand ยังไม่ฝึกทักษะที่เชื่อมโยงอาชีพ Health ยังไม่ส่งเสริมการสร้าง สุขนิสัย Heart ยังไม่ปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ยั่งยืน เพิ่มเวลารู้ ยังไม่โยงเป้าหมายหลักสูตร ออกแบบกิจกรรมบูรณาการที่โยงกับหลักสูตร สพฐ. จัดทำและเผยแพร่ คู่มือการออกแบบกิจกรรม ยังไม่ตอบสนองการคิดวิเคราะห์ สพฐ. สร้างฐานการเรียนรู้ให้แก่ผู้บริหารและครู 1. สร้างฐานการเรียนรู้จำลอง 2. สร้างภาพยนตร์สั้นจากโรงเรียนตัวอย่าง 3. พัฒนาร.ร.ตัวอย่างความสำเร็จอย่างน้อย เขตละ 1 ร.ร. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ 4. รวบรวมกิจกรรมตัวอย่างเผยแพร่ ออกแบบกิจกรรม Head ขั้นสูง ยังมีกิจกรรม HEART ไม่หลากหลาย ออกแบบกิจกรรม Heart เชิงลึกและต่อเนื่อง ยังไม่ตอบสนองความต้องการ นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรม สพฐ.จัดทีมพี่เลี้ยงให้การช่วยเหลือ แนะนำการออกแบบกิจกรรม ร.ร.ต้นแบบความสำเร็จ ยังไม่ส่งเสริมความถนัดและอาชีพ ครูเปลี่ยนบทบาทเป็นCoach และ Mentor สพท.จัดทีม Smart Trainer ช่วยเหลือแนะนำการออกแบบกิจกรรม ร.ร.ในสังกัด เน้นเฉพาะเล่นกีฬา จัดกิจกรรมหลากหลายตามความสนใจ 1. จัดทำตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและผู้ปกครอง 2. จัดทำคู่มือการติดตามและประเมิน 3. จัดทำ VTR ตัวอย่างพฤติกรรมบ่งชี้ 4. ประชุมชี้แจงการติดตามและประเมิน 5. กำหนดการติดตามและประเมินผล ดังนี้ - สพฐ. ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง - กศจ. (โดยมี CEO เป็นหัวหน้าทีม) ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง - เขตพื้นที่ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง ภาระงานของครู มีมาก การรายงานโครงการ เน้นกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์ รายงานเฉพาะผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ครู และผู้ปกครอง
6
เพิ่มเวลารู้ โครงการ สพฐ.ประกาศแต่งตั้ง ทีม Core Smart Trainer
พัฒนาศักยภาพ Core Smart Trainer และSmart Trainer สร้างทีม Core Smart Trainer ประจำเขตพื้นที่ พัฒนาผู้ติดตามและประเมินผล สร้างความตระหนักรู้ อย่างเข้มข้น แก่ผู้บริหารและครู สพฐ.ประกาศแต่งตั้ง ทีม Core Smart Trainer สพฐ.จัดทำและเผยแพร่คู่มือการบริหารและการดำเนินโครงการ ประชุมสัมมนา Core Smart Trainer (Face To Face) ประชุมสัมมนา Smart Trainer ผู้บริหาร ครู และคณะติดตาม (การอบรมแบบทางไกล) ประชุมปฏิบัติการ Smart Trainer ผู้บริหาร ครู และคณะติดตาม (ตามภาระงานที่มอบหมาย) สนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนขนาดเล็ก จัดสรรงบประมาณแบบ TOP UP ตามจำนวนนักเรียน Smart Trainer ศักยภาพยังไม่เพียงพอ คณะผู้ติดตาม และประเมิน มีข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน ผู้บริหารและครู ไม่ให้ความสำคัญ มีความเข้าใจผิดว่าต้องใช้งบประมาณในการจัดกิจกรรม โรงเรียนขนาดเล็กงบประมาณไม่พอ ศึกษาดูงาน เพิ่มเวลารู้ การดำเนินการ ยังไม่บรรลุ เจตนารมณ์ โครงการ
7
เพิ่มเวลารู้ Head Heart Hand Health ยังไม่โยงเป้าหมายหลักสูตร
ยังไม่พัฒนาการคิดขั้นสูง ยังไม่โยงเป้าหมายหลักสูตร ออกแบบกิจกรรม บูรณาการที่โยง กับหลักสูตร สพฐ. จัดทำและเผยแพร่ คู่มือการออกแบบกิจกรรม ยังไม่ตอบสนอง การคิดวิเคราะห์ ออกแบบกิจกรรม Head ขั้นสูง สพฐ. สร้างฐานการเรียนรู้ ให้แก่ผู้บริหารและครู 1. สร้างฐานการเรียนรู้จำลอง 2. สร้างภาพยนตร์สั้นจากโรงเรียนตัวอย่าง 3. พัฒนาร.ร.ตัวอย่างความสำเร็จอย่างน้อย เขตละ1 ร.ร. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ 4. รวบรวมกิจกรรมตัวอย่างเผยแพร่ Heart ยังไม่ปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ยั่งยืน ยังมีกิจกรรม HEART ไม่หลากหลาย ออกแบบกิจกรรม Heart เชิงลึกและต่อเนื่อง เพิ่มเวลารู้ นักเรียนมีส่วนร่วม ในการกำหนดกิจกรรม ยังไม่ตอบสนอง ความต้องการ Hand ยังไม่ฝึกทักษะที่เชื่อมโยงอาชีพ ครูเปลี่ยนบทบาทเป็นCoach และ Mentor สพฐ.จัดทีมพี่เลี้ยงให้การช่วยเหลือ แนะนำการออกแบบกิจกรรม ร.ร.ต้นแบบความสำเร็จ ยังไม่ส่งเสริมความถนัดและอาชีพ Health ยังไม่ส่งเสริมการสร้าง สุขนิสัย เน้นเฉพาะเล่นกีฬา จัดกิจกรรมหลากหลายตามความสนใจ สพท.จัดทีม Smart Trainer ช่วยเหลือแนะนำการออกแบบกิจกรรม ร.ร.ในสังกัด
8
ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
1. จัดทำตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและ ผู้ปกครอง 2. จัดทำคู่มือการติดตามและประเมิน 3. จัดทำ VTR ตัวอย่างพฤติกรรมบ่งชี้ 4. ประชุมชี้แจงการติดตามและประเมิน 5. กำหนดการติดตามและประเมินผล ดังนี้ - สพฐ. ติดตามและประเมินโรงเรียนต้นแบบ ความสำเร็จของเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง - กศจ.ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนติดตามและประเมินโรงเรียนในจังหวัด (โดยมี CEO ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เป็นหัวหน้าทีม) ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง - เขตพื้นที่การศึกษาติดตามและประเมิน โรงเรียนในเขตพื้นที่ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง . การบันทึกข้อมูลการติดตามและประเมินกำหนดเป็นภาระงานของผู้ติดตามและประเมิน ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ภาระงานของครู มีมาก การรายงานโครงการ เน้นกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์ รายงานเฉพาะผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ครู และผู้ปกครอง
10
HEAD……………..Cognitive Domain
แบ่งการเรียนรู้เป็น ๖ ระดับ
11
การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
12
การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
แบ่งการเรียนรู้เป็น ๖ ระดับ
13
การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
แบ่งการเรียนรู้เป็น ๖ ระดับ
14
การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
แบ่งการเรียนรู้เป็น ๖ ระดับ Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การประยุกต์ ความเข้าใจ ความรู้ที่เกิดจากความจำ Cognitive Domain การเรียนรู้ ผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ จากการบรรยาย การท่องจำ
15
การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
การใช้คำถามกระตุ้นการคิด HEAD
16
การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
การใช้คำถามกระตุ้นการคิด HEAD
17
Heart……EffectiveDomain
18
Heart……EffectiveDomainด้านจิตพิสัย
19
การยกระดับคุณภาพด้านจิตพิสัย (Effective Domain)
Organization Valuing Responding Receiving Characterization By Value Set การเรียนรู้ ผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ จากการบรรยาย การท่องจำ
20
การยกระดับคุณภาพด้านจิตพิสัย (Effective Domain)
HEART
21
HAND…HEALTH ด้านทักษะพิสัย
22
การยกระดับคุณภาพด้านทักษะพิสัย
23
การยกระดับคุณภาพด้านทักษะพิสัย (Psychomotor)
Skilled Movements Physical Activities Perceptual Basic Fundamental Movement Reflex Movements Non-discursive Communication การเรียนรู้ ผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ จากการบรรยาย การท่องจำ
24
การยกระดับคุณภาพด้านทักษะพิสัย (Psychomotor)
HEALTH Psychomotor Domain HAND
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.