ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น
เจเทปปา (JTEPA) การพัฒนาหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น โดย นางสาวพริ้วแพร ชุมรุม ผู้อำนวยการสำนักการค้าบริการ และการลงทุน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
2
หัวข้อ ในการสัมมนา 1. ภาพรวมความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น
2. ศักยภาพของญี่ปุ่น 3. นโยบายด้านเศรษฐกิจของไทยและญี่ปุ่น 4. สถิติการค้า สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า 5. สาระสำคัญของ JTEPA 6. การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ JTEPA 7. ปัญหาและอุปสรรค 8. สินค้าส่งออกสำคัญทีมีการใช้สิทธิ JTEPA 9. แนวทางการเจรจาต่อ
3
ภาพรวมความสัมพันธ์ไทย - ญี่ปุ่น
ปัจจุบัน ญี่ปุ่น เป็นประเทศยุทธศาสตร์เศรษฐกิจที่สำคัญอันดับต้นของไทย โดยเป็นคู่ค้าอันดับ 2 และนักลงทุนอันดับ 1 วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมระดับสูงระหว่างไทย-ญี่ปุ่น (HLJC) จัดต่อเนื่องทุกปี วันที่ 1 มิถุนายน 2552 ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP) มีผลบังคับใช้ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ลงนามความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) มีผลบังคับใช้ วันที่ 26 กันยายน 2430 สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต สมัยอยุธยา เริ่มต้นความสัมพันธ์ทางด้านการค้า
4
รัชกาลที่ 9 เยือนญี่ปุ่น ปี 2506
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ เยี่ยมชมองค์การวิจัยด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์ฯ ของประเทศญี่ปุ่น ปี 2558 การเดินทางเยือนญี่ปุ่นของบุคคลสำคัญ สมเด็จพระจักรพรรดิฯ และสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น ถวายราชสักการะพระบรมศพ รัชกาลที่ 9 ที่ปรึกษาพิเศษนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (นายฮิโระโตะ อิสุมิ ) เดินทางเข้าร่วมการประชุม HLJC ครั้งที่ 2 ปี 2559 สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เสด็จเยือนไทย ปี 2534 นายกรัฐมนตรีไทย (พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา) เดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่น ปี 2558
5
130 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย - ญี่ปุ่น
มวยไทยชิ=มะม่วง ปลานิล มวยไทย "มวย ไทยชิ (Muay Thaishi)" ตัวมาสคอต หรือ สัญลักษณ์ที่จะใช้ในการประชาสัมพันธ์ เนื่องในวาระที่ครบรอบ 130 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูต ไทย-ญี่ปุ่น ปี 2560
6
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม ของศักยภาพญี่ปุ่นต่อไป
ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านเนื่องจากมีแรงงานราคาถูกกว่า อาทิ เวียดนาม กัมพูชา คู่ค้าอันดับ 2 ของไทย โดยเป็น ตลาดส่งออก อันดับ 3 และเป็นแหล่งนำเข้า อันดับ 2 นักลงทุนอันดับ 1 ของไทย โดยมีมูลค่าการลงทุน 57,898 ล้านบาท (2559) ฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น เผชิญภาวะเงินฝืดเป็นเวลาหลายปี และการเติบโตทางเศรษฐกิจชะลอตัว ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ประมาณ 23% ของจำนวนประชากรญี่ปุ่น 127 ล้านคนในปัจจุบัน มีอายุมากกว่า 65 ปี มหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลกอันดับต้น ๆ GDP อันดับ 3 ของโลก (ปี 2559 มูลค่า 4.96 พันล้านเหรียญสหรัฐ) มีเทคโนโลยีและนวัตกรรม ขั้นสูง Strengths Weakness Threats Opportunities
7
นโยบายและแนวคิดด้านเศรษฐกิจของไทยและญี่ปุ่น
นำเอาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตสินค้า และบริการมีคุณภาพมากขึ้น ทั้งยังช่วยลดต้นทุน การผลิต ทำ ให้ผู้บริโภคพึงพอใจ ได้ใช้สินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ตรงตามต้องการ สร้างสังคมดิจิทัลแบบใหม่ที่คน กับเครื่องจักร / ระบบร่วมมือกัน ไม่เป็นศัตรูกัน การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ผ่านความร่วมมือและร่วมกันทำงาน สนับสนุนการสร้างบุคลากรที่เหมาะสม กับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล Regional and ASEAN’s hub การเป็น ASEAN’s Logistic hub เชื่อมโยงในภูมิภาคและทั่วโลก พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อรองรับการเชื่อมโยงภาคพื้น เช่น ระบบราง ทางรถไฟ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ อาทิ EEC EWEC Thailand Plus one CLMVT การพัฒนาเศรษฐกิจของ CLMVT ให้มีการเติบโตไปด้วยกัน การยกระดับห่วงโซ่อุปทานและพัฒนาเป็นตลาดเดียวกัน โดยเน้นใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ ความเชื่อมโยง (กายภาพและดิจิทัล) การตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ขยายธุรกิจที่มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศไทย ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อกระจายภาคส่วนการทำงาน เช่น กำหนดการผลิตต้นน้ำอยู่ในไทย กลางน้ำที่ลาว และปลายน้ำที่เวียดนาม เป็นต้น
8
สถิติการค้าไทย - ญี่ปุ่น
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 การค้ารวม 46501 53628 40747 58,164 66,076 72,204 63,318 57,247 51,296 51,154 54,347 ส่งออก 18119 20094 15724 20,308 23,870 23,466 22,235 21,741 20,060 20,481 22,310 นำเข้า 28381 33534 25023 37,856 42,205 48,738 41,083 35,507 31,236 30,673 32,037 ดุลการค้า -10262 -13441 -9299 -17,547 -18,335 -25,272 -18,848 -13,766 -11,176 -10,192 -9,728 ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
9
สินค้าส่งออกของไทย 10 อันดับแรกปี 2560
10
สินค้านำเข้าของไทย 10 อันดับแรกปี 2560
11
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย – ญี่ปุ่น (Japan – Thailand Economic Partnership Agreement: JTEPA)
12
ความเป็นมาความตกลง JTEPA
11 ธ.ค. 2546 เริ่มการเจรจา อย่างเป็นทางการ 3 เม.ย. 2550 ลงนามความตกลงฯ 1 พ.ย. 2550 ความตกลงฯ มีผลบังคับใช้
13
ประโยชน์ของ ความตกลง JTEPA
มูลค่าการส่งออกภายใต้ JTEPA 6, ล้านUSD (2559) ความร่วมมือ การอำนวยความสะดวกทางการค้า การเปิดตลาด
14
การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา
การเปิดตลาด การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา การค้าสินค้า
15
ความร่วมมือ เกษตร ป่าไม้ และประมง การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การสร้างเสริมสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว การส่งเสริมการค้าและการลงทุน (โครงการ 7 สาขา) การบริการการเงิน
16
การอำนวยความสะดวกทางการค้า
พิธีการศุลกากร การค้าไร้กระดาษ การยอมรับร่วมกัน ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
17
รูปแบบการลดภาษีภายใต้ JTEPA
สินค้านำร่อง (Fast Track) สินค้าที่ลดภาษีเป็น 0% ทันที สินค้าลดปรกติ (Normal Track) สินค้าที่ลดภาษีเป็น 0% แล้ว ตั้งแต่ปี สินค้าอ่อนไหว(Sensitive Track) สินค้าที่จะทยอยลดภาษีภายในเดือนเมษายน 2565 สินค้าอ่อนไหวสูง (High Sensitive Track) สินค้าที่ลดไม่เป็น 0 หรือกำหนดโควตาและสินค้าผูกพันการเจรจาใหม่ และสินค้าที่ยกออกจาก การเจรจา
18
สินค้านำร่อง (Fast Track) ต้องลดภาษีเป็น 0% ทันที
จำนวน 7,244 รายการ กุ้งสด กุ้งแช่แข็ง ผลไม้เมืองร้อน อาทิ ทุเรียน มะละกอ มังคุด ผลไม้แปรรูป จํานวน 3,292 รายการ เครื่องจักรไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้า ยางสังเคราะห์ คอนเทนเนอร์
19
สินค้าลดปรกติ (Normal Track)
สินค้าที่ลดภาษีเป็น 0% แล้วตั้งแต่ปี จำนวน 89 รายการ อาหารสุนัขและแมว เนื้อปลาแช่แข็ง พืชผักแช่แข็ง จํานวน 5,534 รายการ อาทิ อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น สวิทซ์ ฟิวส์ เครื่องพิมพ์ เหล็กท่อน และเหล็กเส้น
20
สินค้าอ่อนไหว (Sensitive Track)
สินค้าที่จะทยอยลดภาษีภายในเดือนเมษายน 2565 จำนวน 633 รายการ ขนมปังกรอบ แป้งที่ทำจากมันฝรั่ง มะเขือแปรรูป จํานวน 0 รายการ
21
สินค้าอ่อนไหวสูง (High Sensitive Track) ลดไม่เป็น 0 หรือกำหนดโควตา
และสินค้าผูกพันการเจรจาใหม่ และสินค้าที่ยกออกจากการเจรจา จำนวน 1,083 รายการ น้ำตาลจากอ้อย ที่อยู่ในรูปของแข็ง แป้งมันสำปะหลัง (เดกทรินซ์และโมดิไฟด์สตาร์ช) ข้าวที่สีบ้าง หรือสีทั้งหมด จํานวน 555 รายการ แผ่นเหล็กรีดร้อน เครื่องยนต์ ส่วนประกอบยานยนต์
22
ปัญหาและอุปสรรคจากความตกลง JTEPA
กฎถิ่นกำเนิดสินค้ายากเกินไป โดยเฉพาะ ทูน่ากระป๋อง ปลาหมึกกล้วยแช่แข็ง เงื่อนไขที่ทำให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ อาทิ ขนาดของสับปะรดที่กำหนดให้มีขนาดไม่เกิน 900 กรัมต่อผล ขณะที่สับปะรดที่ไทยผลิตเพื่อส่งออกส่วนใหญ่มีขนาด 1,200 กรัม/ผล สัดส่วนมูลค่าภาษีที่ประหยัดได้ไม่จูงใจมากพอที่จะตัดสินใจใช้สิทธิประโยชน์ สินค้าอ่อนไหวญี่ปุ่น: ข้าว/ผลิตภัณฑ์จากข้าว สินค้าที่มีส่วนผสมแป้ง/ น้ำตาลในอัตราสูง ข้อกำหนดสูง ด้านภาษาในการประกอบอาชีพในญี่ปุ่น ปริมาณโควตาจำกัด: สุกรแปรรูป มันสำปะหลัง
23
การเปิดเสรี ด้านการบริการของไทย
ไทยเปิดให้บริษัทญี่ปุ่นเข้ามาจัดตั้งกิจการ/ให้บริการ เพิ่มเติมที่ผูกพันไว้ที่ WTO ทั้งหมด 14 สาขาย่อย (โดยมีเงื่อนไข) เช่น บริการที่ปรึกษาด้านการจัดการทั่วไป (100%) บริการที่ปรึกษาการจัดการด้านการตลาด (49%) บริการที่ปรึกษาการจัดการด้านผลิต (49%) บริการที่ปรึกษาการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล (49%)
24
การเปิดเสรีด้านการบริการ ของญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นเปิดให้บริษัทไทยเข้าไปจัดตั้งกิจการ/ให้บริการ และ/หรือให้คนไทยทำงาน/ให้บริการในญี่ปุ่นได้ เพิ่มเติมจากที่ผูกพันไว้ที่ WTO ในบริการทั้งหมดประมาณ 65 สาขาย่อย และปรับปรุงข้อผูกพันที่ WTO อีกประมาณ 70 สาขาย่อย เช่น สาขา บริการโฆษณา บริการร้านอาหาร บริการจัดประชุม บริการจัดงานแสดงสินค้าและนิทรรศการ บริการออกแบบพิเศษ บริการจัดเลี้ยง บริการโรงแรม บริการสปา บริการทัวร์และไกด์
25
การเปิดเสรี ด้านการลงทุนของไทย
สาขาการผลิตรถยนต์ให้บริษัทญี่ปุ่น/คนญี่ปุ่นถือหุ้นได้น้อยกว่า 50% (หุ้นที่เหลือต้องถือโดยผู้ลงทุนไทย) การเปิดเสรี ด้านการลงทุนของไทย
26
การเปิดเสรี ด้านการลงทุนของญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นเปิดตลาดลงทุนให้ไทยในทุกสาขา ยกเว้น อุตสาหกรรมผลิตยา อุตสาหกรรมอวกาศและ ยานอวกาศ อุตสาหกรรมผลิตน้ำมัน อุตสาหกรรมพลังงาน อุตสาหกรรมการกระจายเสียง การทำเหมืองแร่ การประมง การเกษตร ป่าไม้ และอุตสาหกรรมพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง การเปิดเสรี ด้านการลงทุนของญี่ปุ่น
27
การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา
ไทยเปิดให้ญี่ปุ่น 5 ประเภท ดังนี้ 1) ผู้มาติดต่อธุรกิจระยะสั้น 2) ผู้ที่โอนย้ายไปทำงานกับบริษัทในเครือ 3) นักลงทุน 4) ผู้ให้บริการที่มีสัญญาจ้างที่เป็น specialist ในสาขาคอมพิวเตอร์ บริหารจัดการ วิศวกร (ยกเว้นวิศวกรโยธา) โรงแรม และร้านอาหาร 5) ผู้สอน (โรงเรียนนานาชาติ อาชีวศึกษา อุดมศึกษา วิชาชีพ หรือหลักสูตรระยะสั้น)
28
การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา
ญี่ปุ่นเปิดให้ไทย 6 ประเภท ดังนี้ 1) ผู้มาติดต่อธุรกิจระยะสั้น 2) ผู้ที่โอนย้ายไปทำงานกับบริษัทในเครือ 3) นักลงทุน 4) ผู้ให้บริการวิชาชีพ ในสาขากฎหมาย และบัญชี ที่มีคุณสมบัติตามกฎหมายญี่ปุ่น 5) ผู้ให้บริการที่มีสัญญาจ้างที่เป็น specialist ผู้เชี่ยวชาญในบริการด้านมนุษยศาสตร์ พ่อครัวแม่ครัวไทย ที่มีปสก. ไม่ต่ำกว่า 5 ปี 6) ผู้สอน (นาฏศิลป์ ดนตรีไทย อาหารไทย มวยไทย สปาไทย)
29
สถิติการใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ JTEPA
ที่มา : สำนักสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ
30
สินค้าส่งออกสำคัญที่มีการใช้สิทธิ JTEPA
เนื้อไก่และเครืองในไก่ที่ปรุงแต่งหรือทำไว้ไม่ให้เสีย(HS ) เนื้อสัตว์ปีก แช่แข็ง (HS ) กุ้งปรุงแต่งหรือทำไม่ให้เสีย (HS ) เดกซ์ทรินและโมดิไฟด์สตาร์ชอื่นๆ (HS ) แหนบรถยนต์ (HS )
31
ปี 2560 = ปีที่ความตกลง JTEPA มีผลบังคับใช้ ครบ10 ปี
ข้อบทการค้าสินค้า ข้อบทการค้าบริการ กฎถิ่นกำเนิดสินค้า พิธีการศุลกากร การค้าไร้กระดาษ การยอมรับมาตรฐานร่วมกัน การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายของบุคคลธรรมดา ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ การแข่งขันทางการค้า ความร่วมมือ
32
แนวทางการทบทวนความตกลงเจเทปปา
กระทรวงการต่างประเทศเตรียมการสำหรับเจรจาต่อ (ส.ค 2560 – ส.ค ) AJCEP RCEP JTEPA
33
1. กลุ่มรายการสินค้าที่ต้องทบทวนในปีที่ 5 ของความตกลง ได้แก่ น้ำตาลทรายดิบ อาหารปรุงแต่ง ปลากระป๋อง ไก่ปรุงสุก และไม้อัดพลายวูด เป็นต้น 2. รายการสินค้าโควตาภาษี (Quota: Q) ได้แก่ เนื้อสุกรแปรรูป และแป้งมันสำปะหลัง (โมดิฟรายด์สตาร์ช) 3. กลุ่มสินค้าที่ไม่นำมาเจรจา (Exclusion: X) ได้แก่ พาสต้า สวีทบิสกิต และเวเฟอร์ เป็นต้น 4. กลุ่มสินค้าอัตราคงที่ตามที่ตกลงกัน (Provided for: P) ได้แก่ ชา ข้าว เมล็ดหอมใหญ่ น้ำมันดิบ แผ่นเหล็ก และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เป็นต้น 5. กลุ่มสินค้า GSP ได้แก่ ซอร์บิทอล กาแฟคั่วที่แยกคาเฟอีนออกแล้ว เอทิลแอลกอฮอล์ที่ไม่ได้แปลงสภาพอื่นๆ ไม้อัดพลายวูดอื่นๆ ไม้ลามิเนต และไม้บล็อคบอร์ด
34
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หากมีข้อคิดเห็น คำถาม และข้อเสนอแนะ ติดต่อ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 563 ถ. นนทบุรี ต.บางกระสอ อ. เมือง จ. นนทบุรี Call Center
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.