ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM)
ฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM)
2
มาตรา 7 แห่ง พรบ.โรคระบาดสัตว์พ.ศ.2558
From Farms to Table Improvement GAP ภาพรวม GFMs Markets 5 Backyard and small holder farm GFM 2 3 1 management Breed feeding 4 มาตรา 7 แห่ง พรบ.โรคระบาดสัตว์พ.ศ.2558 Impact from many diseases sustainable GFM = Good Farming Pratice = Minimum Biosecurity requirements for farm animals
3
GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM
หลักการ ระบบการป้องกันโรค (Biosecurity) การจัดการสุขภาพสัตว์ การเฝ้าระวังโรค การสร้างภูมิคุ้มกันโรค การถ่ายพยาธิ ฯลฯ ผลผลิต ตรวจสอบย้อนกลับ ป้องกันโรค สวัสดิภาพสัตว์ อาหารสัตว์ สุขอนามัยการจัดการผลผลิต ปริมาณและคุณภาพผลผลิต ทะเบียนฟาร์ม ข้อมูลสัตว์และสุขภาพสัตว์ บุคคลและยานพาหนะ เข้า-ออกสถานที่ GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM
4
ความเชื่อมั่นในความปลอดภัยทางอาหาร GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM
ผลที่ได้ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีอาชีพที่มีความมั่นคง ยั่งยืน ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีความปลอดภัย ผลผลิต ตรวจสอบย้อนกลับ ป้องกันโรค ลดปัญหาโรคระบาด ลดปัญหาเชื้อดื้อยา ปริมาณและคุณภาพเพิ่มขึ้น ความเชื่อมั่นในความปลอดภัยทางอาหาร GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM
5
ยกระดับ ฟาร์มปศุสัตว์ ให้มีระบบป้องกันโรค และการเลี้ยงปศุสัตว์ที่เหมาะสม
เพื่อลดความสูญเสียของเกษตรกรจากปัญหาโรคระบาด ผลผลิตดี มีคุณภาพ เตรียมความพร้อมในการพัฒนาเป็นมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตร ที่ดีสำหรับปศุสัตว์ (GAP) วัตถุประสงค์
6
หลักเกณฑ์การกำหนดขนาดฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กลุ่มเป้าหมาย หลักเกณฑ์การกำหนดขนาดฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ลำดับ ชนิดสัตว์ GFM รายย่อย ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 1 สัตว์ปีกพื้นเมือง <3,000 ตัว < 100 > 200 2 โคนม <50 ตัว < 20 > 100 3 แพะเนื้อ <100 ตัว ,000 > 1,000 4 โคเนื้อ/กระบือ < 30 5 สุกร <500 ตัว < 50 ,000 > 5,000 6 แกะเนื้อ 7 แพะนม 8 ไก่เนื้อ* <3000 ตัว < 3,000 3, ,000 10, ,000 > 50,000 9 ไก่ไข่* <1000 ตัว 10 เป็ดเนื้อ 3, ,000 GAP 11 เป็ดไข่ 12 นกกระทา <10000 ตัว < 10,000 50, ,000 > 100,000 หมายเหตุ:: *มาตรฐานบังคับ
7
กลุ่มเป้าหมาย โครงการ 9101 โครงการทฤษฎีใหม่
ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าเกษตร (ศพก.) แปลงใหญ่ โคบาลบูรพา ฟาร์มโคนม โครงการประชารัฐยกระดับมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก ฟาร์มเครือข่ายของ สพพ. /กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์กสส. กลุ่มเป้าหมาย
8
เป้าหมาย โครงการ 2561 2562 2563 2564 2565 9101 10% ทฤษฎีใหม่ 50%
10% ทฤษฎีใหม่ 50% 100% ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าเกษตร (ศพก.) +ศูนย์ขยาย (882 แห่ง) 100% แปลงใหญ่ 100% โคบาลบูรพา (6,000 ราย) ฟาร์มโคนม 20% ของฟาร์มที่ไม่ได้ GAP 40% ของฟาร์มที่ไม่ได้ GAP 100% ของฟาร์มที่ไม่ได้ GAP GAP โครงการประชารัฐยกระดับมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก 100%ของโครงการ ฟาร์มเครือข่ายของ สพพ. 20%ของฟาร์ม 40%ของฟาร์ม 60%ของฟาร์ม 80%ของฟาร์ม 100%ของฟาร์ม กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ กสส. 20% ของกลุ่ม 40% ของกลุ่ม 60% ของกลุ่ม 80% ของกลุ่ม
9
ประโยชน์และแรงจูงใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
เกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ ลดรายจ่าย จากการรักษาสัตว์ป่วย กรณีเกิดโรคระบาด สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม ในขั้นตอนต่อไป โคนม ฟาร์มปลอดโรค นมโรงเรียน GMP ศูนย์รับนม โคเนื้อ ปศุสัตว์ OK แพะ/แกะ สุกร ไก่ การเคลื่อนย้าย ได้รับการพิจารณารับซื้อเข้าโครงการของกรมปศุสัตว์เป็นลำดับต้น สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคผ่านกลุ่มเกษตรกรภายใต้ตราสินค้าท้องถิ่น
10
เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่
ขั้นตอนการดำเนินงาน เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ ประชาสัมพันธ์และเตรียมความพร้อมเกษตรกร กระบวนการรับรอง การตรวจติดตามและประเมินผล องค์ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์และการตลาด
11
ที่ปรึกษาของเกษตรกร คุณสมบัติ
เจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ หรือบุคคลที่กรมปศุสัตว์มอบหมาย ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่ปรึกษา หรือหลักสูตรผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หน้าที่ ประชาสัมพันธ์ อบรมและให้คำแนะนำ ขึ้นทะเบียนเกษตรกรที่ผ่านการอบรมหลักสูตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือ หลักสูตรฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม หรือ ผู้ที่ได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาของเกษตรกร ติดตามให้คำปรึกษาและประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้น เตรียมความพร้อม กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ฝึกอบรม
12
คณะผู้ตรวจประเมิน คุณสมบัติ
หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน : หัวหน้ากลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ หรือหัวหน้ากลุ่มพัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ หรือหัวหน้ากลุ่มพัฒนาเทคโนยีการปศุสัตว์ หรือหัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ผู้ตรวจประเมิน :: เจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอย่างน้อย 2 คน โดยให้เจ้าหน้าที่ของกลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ทำหน้าที่เป็นเลขานุการ จบการศึกษาขั้นต่ำระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาสัตวแพทย์ หรือสัตวบาล หรือสัตวศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมินฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม จากกรมปศุสัตว์ หน้าที่ ดำเนินการตรวจประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ เดือน สอบสวนข้อเท็จจริง อบรมที่ปรึกษาของเกษตรกร เตรียมความพร้อม กรมปศุสัตว์แต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมิน กรมปศุสัตว์อบรมหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน หัวหน้ากลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์อบรมผู้ตรวจประเมิน
13
ผู้ขอรับการรับรอง คุณสมบัติ
เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์รายครัวเรือน จากกรมปศุสัตว์ ไม่อยู่ระหว่างการเพิกถอนการรับรอง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือหลักสูตรฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมจากกรมปศุสัตว์ หรือได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาของเกษตรกร การเตรียมความพร้อม ที่ปรึกษาของเกษตรกรประชาสัมพันธ์ ที่ปรึกษาของเกษตรกรอบรมหริอให้คำแนะนำระบบการป้องกันโรค การจัดการเลี้ยงสัตว์ ที่ปรึกษาของเกษตรกรขึ้นทะเบียนเกษตรกรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือหลักสูตรฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม หรือผู้ที่ได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาของเกษตรกร ที่ปรึกษาของเกษตรให้คำปรึกษาและตรวจประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้น
14
ขั้นตอนการขอรับรอง เจ้าหน้าที่ปศอ.
1 ที่ปรึกษาของเกษตรกร ให้คำปรึกษาและประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้น เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารคัดกรอง ขึ้นทะเบียน และส่งให้คณะผู้ตรวจประเมินของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด คณะผู้ตรวจประเมินของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ตรวจประเมินสถานที่เลี้ยง สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด พิจารณาให้การรับรอง .ใบรับรองมีอายุ 2 ปี 2 3 4 สำนักงานปศุสัตว์เขตตรวจติดตามระบบการประเมินสถานที่เลี้ยง ทุกจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เจ้าหน้าที่ปศอ. ประชาสัมพันธ์ อบรม และให้คำแนะนำ เกษตรกร ในการ เตรียมการด้านต่างๆ เจ้าของสัตว์ ยื่นแบบฟอร์มและ หลักฐานที่สำนักงานปศุ สัตว์อำเภอ ณ ท้องที่ที่ สถานที่เลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่ 5
15
GFM การขอรับการรับรอง การขอต่ออายุ การตรวจติดตาม การพักใช้/อุทธรณ์
เพิกถอน
16
เงื่อนไขการตรวจรับรอง
พื้นที่เลี้ยงและโครงสร้าง การจัดการโรงเรือน การจัดการยานพาหนะ การจัดการบุคคล การจัดการด้านสุขภาพ การจัดการอาหาร น้ำและยาสัตว์ การจัดการข้อมูล สุขศาสตร์การรีดนมและการจัดการเครื่องรีด คุณภาพน้ำนม
17
การจัดทำและเก็บข้อมูล
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด จัดทำข้อมูลผู้ขอรับการรับรองที่ได้รับการรับรองใหม่ คงไว้ซึ่งการรับรอง ต่ออายุการรับรอง พักใช้การรับรอง เพิกถอนการรับรอง ยกเลิกการรับรอง หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลใดๆ ส่งให้สำนักควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ทราบ ตามรูปแบบที่กำหนด
18
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.