ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยLars-Göran Arvidsson ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของประชาชนและผู้ประกอบอาชีพฯ กรณีปัญหามลพิษจากบ่อขยะ กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
2
หัวข้อการนำเสนอ ที่มาและความสำคัญ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินงาน ปี 60
3
สถานการณ์ปัญหาขยะ ปี 2557 ประเทศไทยมีปริมาณขยะที่ เกิดขึ้นทั้งหมด ล้านตัน/ปี โดยมีปริมาณ ขยะสะสม จำนวน 71,778 ตัน/วัน จังหวัดที่มี ประมาณขยะสะสมสูงสุด 5 จังหวัดแรก ได้แก่ สมุทรปราการ นครศรีธรรมราช กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา และขอนแก่น พบว่ามี 3 จังหวัดที่มีชุมชนประกอบ อาชีพคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์สูงสุด ได้แก่ บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์และอุบลราชธานี ขยะสะสมสูงสุด ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่มา : สถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อม 2557,กรมควบคุมมลพิษ (
4
สภาพปัญหาขยะ ขยะสะสม ขยะอิเล็กทรอนิกส์
5
ความเป็นมา ประชาชนทุกคนมีสิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขจากภาครัฐ
บุคคลอีกจำนวนมากที่ไม่ได้รับบริการสาธารณสุขจากรัฐ เนื่องจากมีความเหลื่อมล้ำหรือความไม่เท่าเทียมกันของการใช้สิทธิดังกล่าว กลุ่มประชาชนรอบบ่อขยะ กลุ่มคนทำงานคัดแยกและรีไซเคิลขยะ
6
นโยบายการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำของกระทรวงสาธารณสุข
สร้างความเป็นธรรม และ ลดความ “เหลื่อมล้ำ” และแก้ไขความยากจน โดยการใช้กฎหมายและให้ความเป็นธรรม (สอดคล้องนโยบายรัฐบาล) 2. การจัดการโรคและภัยคุกคาม ด้านสุขภาพ “เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม ลงทุนน้อยกว่า การเฝ้าระวังในคน” 3. การบูรณาการภาคีเครือข่าย ในและนอกภาคสาธารณสุข
7
นโยบายและแนวทางการดำเนินงานแบบบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายของรัฐ นโยบาย รมว. แผนบูรณาการประเทศ 10 แผน แผนบูรณาการกระทรวง 1.ป้องกันและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ 1.โครงการพระราชดำริ 2.ความมั่นคง-ชายแดนภาคใต้ 8. สร้างความมั่นคง แก้ไขและพัฒนา จชต. ยาเสพติด 5.ยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข 5.1 ระบบหลักประกันสุขภาพ, ลดความเหลี่ยมล้ำ,บูรณาการข้อมูล 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง พัฒนาระบบประกันสุขภาพ 5.2 ระบบบริการ เน้นป้องกันการเจ็บป่วย กลไกระดับเขต ส่งเสริมภาครัฐและเอกชน 5.3 เฝ้าระวังโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และอุบัติซ้ำ 5.4 ป้องกันและลดอุบัติเหตุจราจร 5.6 ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2.เขตสุขภาพ 3.ส่งเสริม ป้องกันโรค 4.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกำลังคนและข้อมูล 5.พัฒนากำลังคน พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ขยะและสิ่งแวดล้อม เขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ แรงงานต่างด้าวและค้ามนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศฯ -พัฒนาระบบประกันสุขภาพ พัฒนาระบบบริการ พัฒนาด้านสาธารณสุข ควบคุมป้องกันโรค คุ้มครองผู้บริโภค พัฒนากำลังคน 5.7 ส่งเสริมการวิจัย 6. วิจัยและพัฒนาส่งเสริมภูมิปัญญาและสมุนไพรไทย วิจัยและพัฒนา 5.6 กฎหมายดูแลเรื่องอุ้มบุญฯ 11. ปรับปรุงกฎหมาย 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย พัฒนา/บังคับใช้กฎหมาย 7.ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน 10. ธรรมาภิบาลและป้องกันปราบปรามการทุจริต ป้องกันปราบปรามการทุจริต ที่มา: นโยบายและแนวทางการดำเนินงานแบบบูรณาการกระทรวง สธ. ปีงบประมาณ 2559 โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 15 ตุลาคม 2558
8
แผนภาพการตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2560
ตรวจติดตามรอบที่ 1 และ 2 ปี 2560 ตรวจติดตาม รอบที่ 2 ปี 2560 และรอบที่ 1 ปี 2561 1. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 1. ความคืบหน้าการแก้ไขปัญหาเฉพาะพื้นที่ 18 แห่ง 2. โครงการถ่ายโอนฯ ระดับจังหวัดตามแผนบูรณาการการ ส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 3. โครงการถ่ายโอนฯ ระดับจังหวัด ตาม พ.ร.บ. โอน งบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 4. โครงการตามแผนบูรณการ งบประมาณ ปี 2560 5. แผนปฏิบัติการ “ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ปี พ.ศ 2. การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน 1) สถานการณ์อุบัติเหตุ 2) ความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ
9
เป้าหมายที่ 1 : การจัดการขยะ ของกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด หน่วยงาน โครงการ กิจกรรม 1. องค์กรปกครองท้องถิ่น/ศูนย์ อนามัย/ชุมชนต้นแบบไม่น้อย กว่า 100 แห่ง มีการลดและคัดแยกขยะ มูลฝอยและของ เสียอันตรายชุมชนที่ต้นทาง กรมอนามัย โครงการพัฒนากฎหมาย ระเบียบ มาตรการแนวทางปฏิบัติ และการกำกับดูแลบังคับใช้กฎหมายในการจัดการขยะอย่างเข้มงวด ส่งเสริม พัฒนาแนวทางการจัดการมูลฝอยและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (เป้าหมาย 1 โครงการ) 2. จัดการขยะมูลฝอยได้ 14.4 ล้านตัน/ปี ของเสียอันตราย ชุมชน ล้านตัน/ปี และ มูลฝอยติดเชื้อ ล้านตัน/ปี สบรส. โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข สนับสนุนการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขแบบบูรณาการ (เป้าหมาย 20,000 ตัน/ปี) 3. พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย 3 เรื่อง พัฒนากฎหมาย ระเบียบ มาตรการแนวทางปฏิบัติและการกำกับดูแล บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด (เป้าหมาย 1 โครงการ) 4. กลุ่มเป้าหมายมีการเฝ้าระวัง ป้องกันด้านสุขภาพของผู้ ประกอบอาชีพและประชาชนที่ สัมผัสขยะ 20 จังหวัด กรมควบคุมโรค โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน และผู้สัมผัสขยะ สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน และผู้สัมผัสขยะ (เป้าหมาย 7,000 ราย)
10
Mile Stone 58 59 60 -ประชุมเครือข่ายในการเฝ้าระวังฯ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ วันที่ มิย 58 -จัดกิจกรรม Kick off โครงการในพื้นที่ 8 จังหวัด -จัดทำและสนับสนุนคู่มือการทำงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ แผ่นพับสำหรับประชาชน / รายการบ่ายนี้มีคำตอบ ช่อง9 -ดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย 8 จังหวัด -จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ จำนวน 4 ครั้ง และประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่เสี่ยง 8 จังหวัดฯ วันที่ 4-5 ก.พ. 2559 -สนับสนุนคู่มือ/แนวทาง -พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน และลงพื้นที่นำร่องในพื้นที่ จ.นนทบุรีและกาฬสินธุ์ -ผลการดำเนินงานคัดกรองสุขภาพรวม เท่ากับ ร้อยละ 33.9 -ขยายการดำเนินงานในพื้นที่ 20 จังหวัด -เฝ้าระวังปัญหาสุขภาพต่อเนื่องในพื้นที่ดำเนินการปี 2559 -จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่เป้าหมาย 20 จังหวัด(ประมาณ ธค 59) -จัดทำและสนับสนุนคู่มือ/แผ่นพับ ฯ
11
ผลการดำเนินงานปี 2559
12
กิจกรรมการดำเนินงานที่ผ่านมา
จัดประชุมคณะทำงานฯ พัฒนาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันความคุมโรคโรคและภัยสุขภาพจากการคัดแยกและรีไซเคิลขยะในพื้นที่เสี่ยงสูง จำนวน 4 ครั้ง จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการคัดแยกและรีไซเคิลขยะในพื้นที่เสี่ยง 8 จังหวัดฯ วันที่ 4-5 ก.พ. 2559 ลงพื้นที่เพื่อหารือ/สนับสนุนการดำเนินงาน สนับสนุนองค์ความรู้และแนวทางการดูแลสุขภาพ
13
ติดตามผลการดำเนินงานผ่านแบบฟอร์ม
14
ติดตามผลการดำเนินงานผ่านแบบฟอร์ม
15
ผลการดำเนินงานรายจังหวัด
จำนวนบ่อขยะ (แห่ง) กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งหมด เป้าหมายอย่างน้อย ร้อยละ 30 จำนวนที่ คัดกรองได้ ประชาชน ผู้ประกอบอาชีพฯ อุบลราชธานี 2 1,701 530 2,231 670 590 กาฬสินธุ์ 1 2,755 340 3,095 929 938 บุรีรัมย์ 1,402 63 1,465 440 246 ขอนแก่น 1,925 382 2,307 692 กาญจนบุรี 5 1,810 24 1,834 551 759 สมุทรปราการ 100 50 150 45 146 นครศรีธรรมราช 300 400 120 455 พระนครศรีอยุธยา 20 40 12 84 รวม 14 10,013 1,509 11,522 3,459 3,610
16
ผลการดำเนินงานรายจังหวัด
พื้นที่ดำเนินการ ผู้ประกอบอาชีพฯ ประชาชน จำนวน ผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองฯ พระนครศรีฯ บ่อขยะ ทต.นครหลวง 20 32 52 กาญจนบุรี บ่อขยะทต.รางหวาย/อบตแก่งเสี้ยน/อบตหนองบัว/ทต.ปากแพรก/ทต.บ่อพลอย 24 (บ่อขยะ ต.ท่าไม้) 100 (บ่อขยะปัจจุบัน) 1,810 (บ่อ ต.ท่าไม้) 659 สมุทรปราการ บางปลาหรือแพรกษาใหม่ 50 106 40 ขอนแก่น บ่อขยะ บ.คำบอน ทน.(ขอนแก่น) 382 108 1,925 584 กาฬสินธุ์ บ่อขยะ ต.โคกสะอาด 340 300 2,755 638 บุรีรัมย์ บ่อขยะ ต.บ้านเป้า อ.พุทไธสง 53 370 193 บ่อขยะ ต.แดงใหญ่ อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ 10 * 1,032 อุบลราชธานี บ่อขยะ ทต.บ้านกอก 308 254 660 264 บ่อขยะ ท.เมืองวารินชำราบ 222 72 1,041 - นครศรีธรรมฯ บ่อขยะทุ่งท่าลาด 116 (ใช้ผลคัดกรองปี58) 339 รวมทั้งหมด (ราย) 1,509 1,141 (ร้อยละ 75.6) 10,013 2,769 (ร้อยละ 27.7)
17
สรุปผลการคัดกรองรวม เป้าหมายผู้ประกอบอาชีพฯและประชาชน รวม 11,522 ราย ได้รับการคัดกรองรวม 3,910 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.9
18
เป้าหมายร้อยละ 30 เทียบกับจำนวนที่มีการคัดกรองจริง (รายจังหวัด)
19
ผลการคัดกรองทางสุขภาพของประชาชน
จังหวัด จำนวนที่คัดกรอง ผลการคัดกรองทางสุขภาพตามแบบฟอร์ม ข-2 (ราย) หมายเหตุ เสี่ยงสูง เสี่ยงต่ำ ไม่เสี่ยง พระนครศรีอยุธยา 52 1 23 28 บุรีรัมย์ 193 7 57 129 เฉพาะบ่อขยะบ้านเป้า นครศรีธรรมราช 339 56 217 66 ขอนแก่น 584 159 425 - กาฬสินธุ์ 638 14 624 กาญจนบุรี 659 42 330 287 อุบลราชธานี 264 86 173 5 สมุทรปราการ 40 17 22 รวม 2,769 282 (ร้อยละ 13.8) 1,871 (ร้อยละ 67.6) 516 (ร้อยละ 18.6)
20
แนวทางการดำเนินการจากคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ของประชาชน
ไม่เสี่ยง เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง -จัดทำแนวทางสำหรับการรองรับ ส่งต่อ การเฝ้าระวังทางสุขภาพ -เตรียมความพร้อมในส่วนของยาและเวชภัณฑ์ -ให้สุขศึกษาในการป้องกันตนเองแก่ประชาชน -การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจิต,ความเครียด และหาแนวทางการจัดการความเสี่ยงดังกล่าว -ให้สุขศึกษาในการป้องกันตนเองแก่ประชาชน -การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจิต,ความเครียด และหาแนวทางการจัดการความเสี่ยงดังกล่าว -การตรวจสุขภาพและการรักษาเบื้องต้น การรองรับ/ส่งต่อผู้ป่วย
21
ผลการคัดกรองสุขภาพประชาชน
22
สรุปอาการป่วย/ผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงสูงตามแบบ ข-2
ที่ จังหวัด จำนวนที่คัดกรอง จำนวน กลุ่มเสี่ยงสูง อาการป่วย/ผลกระทบทางสุขภาพ (ราย) ผื่นคัน ท้องร่วง หายใจติดขัด แสบจมูก ปวดศีรษะ ตาแดง ภูมิแพ้ มีน้ำมูก จาม N/A 1 พระนครศรีอยุธฯ 52 2 บุรีรัมย์ 193 7 3 นครศรีธรรมราช 339 56 12 - 5 32 4 ขอนแก่น 584 159 กาฬสินธุ์ 638 14 6 กาญจนบุรี 659 42 30 อุบลราชธานี 264 86 8 สมุทรปราการ 40 17 รวม 2,769 282 18 62
23
ประเภทของผู้ประกอบอาชีพฯ ที่ได้รับการคัดกรองทางสุขภาพ
จังหวัด ประเภทของผู้ประกอบอาชีพคัดแยก และรีไซเคิลขยะ รวมทั้งหมด (ราย) พนง.เทศบาล แรงงานอิสระ/ ซาเล้ง พนง.เอกชน 1 พระนครศรีอยุธยา 11 18 3 32 2 บุรีรัมย์ - 53 นครศรีธรรมราช 116 4 ขอนแก่น 108 5 กาฬสินธุ์ 300 6 กาญจนบุรี 82 100 7 อุบลราชธานี 42 160 328 530 8 สมุทรปราการ 35 21 50 106 รวม 286(21.3) 678(50.4) 381(28.3) 1,345(100)
24
ผลการคัดกรองสุขภาพผู้ประกอบอาชีพฯ (ขยะทั่วไป)
การได้รับความเสี่ยง ระดับความรุนแรง เริ่มได้รับความเสี่ยง เริ่มมีอาการ อาการรุนแรง 1. ทำงานกลางแจ้ง/สัมผัสความร้อน 199 93 2.ทำงานในบริเวณที่มีเสียงดัง 141 53 4 3. ความสั่นสะเทือน 86 68 2 4.ได้รับสัมผัสสารเคมี 123 5.บริเวณที่ทำงานมีฝุ่นละออง หรือควัน 304 217 6. ได้รับเชื้อโรค/หรือสัมผัสกับขยะติดเชื้อ 111 58 1 7.ถูกสัตว์ทำร้าย /แมลงกัดต่อย 55 7 8. ยกของหนัก 278 243 22 9. อุบัติเหตุ/บาดเจ็บจากการทำงาน 156 140 20 10. ความเครียดจากการทำงาน 157 149 ส่วนใหญ่ผู้ประกอบอาชีพฯ เริ่มได้รับความเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ รองลงมาคือ เริ่มมีอาการ คิดเป็นร้อยละ และมีความรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 2.4 ตามลำดับ
25
ผลการคัดกรองสุขภาพผู้ประกอบอาชีพฯ (ขยะอิเล็กทรอนิกส์)
การได้รับความเสี่ยง ระดับความรุนแรง เริ่มได้รับความเสี่ยง เริ่มมีอาการ อาการรุนแรง 1. ทำงานกลางแจ้ง/สัมผัสความร้อน 132 57 1 2.ทำงานในบริเวณที่มีเสียงดัง 185 141 7 3. ความสั่นสะเทือน 219 188 3 4.ได้รับสัมผัสสารเคมี 206 170 5.บริเวณที่ทำงานมีฝุ่นละออง หรือควัน 417 161 4 6. ได้รับเชื้อโรค/หรือสัมผัสกับขยะติดเชื้อ 55 34 7.ถูกสัตว์ทำร้าย /แมลงกัดต่อย 28 26 8. ยกของหนัก 496 405 9. อุบัติเหตุ/บาดเจ็บจากการทำงาน 282 253 6 10. ความเครียดจากการทำงาน 272 241 ส่วนใหญ่ผู้ประกอบอาชีพฯ เริ่มได้รับความเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ รองลงมาคือ เริ่มมีอาการ คิดเป็นร้อยละ และมีความรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 0.8 ตามลำดับ
26
แนวทางการดำเนินการจากคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ของผู้ประกอบอาชีพฯ
ได้รับความ เสี่ยง มีอาการ รุนแรง -ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน -จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล -ให้สุขศึกษา สื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -ตรวจร่างการทั่วไป ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง -ป้องกันโรค รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ -ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน -จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล -ให้สุขศึกษา สื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -วิเคราะห์ข้อมูลการเจ็บป่วยเพื่อเฝ้าระวังทางสุขภาพ -ตรวจร่างการทั่วไป ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง -ป้องกันโรค รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ -ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน -จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล -ให้สุขศึกษา สื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -วิเคราะห์ข้อมูลการเจ็บป่วยเพื่อเฝ้าระวังทางสุขภาพ
27
ผลการคัดกรองสุขภาพผู้ประกอบอาชีพฯ (จ.นครศรีธรรมราช)
ที่ สิ่งที่ตรวจ ผลการตรวจ (ราย) ปกติ ผิดปกติ จำนวน (ราย) ร้อยละ 1 การตรวรจร่างกายทั่วไป (ค่า Bp > 140/90 ผิดปกติ ) 77 66.3 39 33.4 2 ระดับน้ำตาลในเลือด (ค่า FBS > 99 mg/dl ผิดปกติ) 70 60.3 46 39.7 3 ระดับโคเลสเตอรอล (ค่า CHO>200 mg/dl ผิดปกติ) 56 48.2 60 51.8 4 ระดับสารโลหะหนักในร่างกาย (สารตะกั่ว> 30 µg/dL ผิดปกติ) อ้างอิง ACGIH BEI 2012 42 100 5 ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (หาความผิดปกติของเม็ดเลือด) 66.4 33.6 6 ตรวจไต 111 95.7 4.3 7 ตรวจตับ 91 78.5 25 21.5 รวม 116 (ราย)
28
ปัญหาและอุปสรรคในการ ดำเนินงาน
-ความล่าช้าในการส่งคืนข้อมูลผลการดำเนินงาน -งบประมาณการดำเนินงานไม่ถูกโอนไปถึงระดับพื้นที่ปฏิบัติงานจริง -บ่อขยะเอกชน ต้องมีการทำหนังสือขออนุญาตเจ้าของบ่อฯ -ปัญหาภายในพื้นที่ เช่น การเมือง -อปท. ไม่มีการขึ้นทะเบียนแรงงานอิสระ -สิทธิประกันสังคม ไม่ครอบคลุมการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
29
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
แบบคัดกรองฯไม่ครอบคลุมข้อมูลในบางประเด็น ได้แก่ - แบบ อชก-2 (คัดกรองความเสี่ยงในผู้ประกอบอาชีพฯ) ควรระบุสิทธิในการรักษา ด้วย เพื่อจะได้จัดทำเป็นฐานข้อมูล และทราบข้อมูลเมื่อมีการส่งต่อไป รพศ/รพท. ใน กรณีที่ผู้ที่ได้รับการคัดกรองมีอาการสงสัย/อาการรุนแรง ที่เกินขีดความสามารถของ รพ. สต.จะทำการรักษาได้ - แบบ ข-2 (แบบสำรวจความเสี่ยงในประชาชน) ควรระบุ ชื่อหมู่บ้านด้วย เพื่อที่จะได้ ทราบพิกัด/ที่อยู่ที่ชัดเจนของประชาชน อีกทั้งการสรุปผลการสำรวจความเสี่ยงควร กำหนดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นในบางประเด็น
30
ปัจจัยความสำเร็จ -มีการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกันในรูปแบบ CUP อสธจ ก่อให้เกิดเครือข่าย การดำเนินงานร่วมกัน -ผู้บริหารให้ความสำคัญ -หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ความร่วมมือในการประสานงาน
31
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
- ควรโอนงบประมาณโดยตรงให้กับหน่วยงานที่ทำงานจริง โดยหน่วยงานนั้น ต้องมีแผนงานรองรับ -ควรมีการทบทวนแบบคัดกรอง เช่น เพิ่มคำถามเกี่ยวกับสิทธิของผู้ตอบแบบ สำรวจชื่อหมู่บ้าน การปรับแบบสรุปความเสี่ยงทางสุขภาพของประชาชน ฯลฯ -ควรมีช่องทางเพื่อผลักดันการดำเนินงานในประเด็นการตรวจสุขภาพ เช่น เอกซ์เรย์ปอด ฯลฯ
32
แนวทางการดำเนินงาน ปี 2560
-พื้นที่เป้าหมาย -ตัวชี้วัด -กิจกรรมดำเนินงาน -บทบาทของหน่วยงาน
33
พื้นที่เป้าหมาย ปี60 รวมทั้งสิ้น 20 จังหวัด สคร. จังหวัด 1 ลำพูน 2
พิษณุโลก 3 นครสวรรค์ 4 อยุธยา, สระบุรี 5 กาญจนบุรี, เพชรบุรี 6 สมุทรปราการ,ปราจีนบุรี สคร. จังหวัด 7 ขอนแก่น, กาฬสินธุ์,ร้อยเอ็ด 8 อุดรธานี 9 บุรีรัมย์,นครราชสีมา 10 อุบลราชธานี,มุกดาหาร 11 นครศรีธรรมราช,สุราษฎร์ฯ 12 สงขลา รวมทั้งสิ้น 20 จังหวัด
34
พื้นที่ 12 จังหวัด(ใหม่)
พื้นที่เป้าหมาย ปี60 พื้นที่ 8 จังหวัด ปี 59 พื้นที่ 12 จังหวัด(ใหม่)
35
แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย : ลดโรค/ลดเสี่ยง ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเด็น แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พรบ.งบประมาณ (ขาวคาดแดง) มาตรการแผนงานควบคุมโรค ตรวจบูรณาการกับสำนักนายกฯ ตัวชี้วัด 1.1 จำนวนจังหวัดจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน (ประเด็นที่ 6 สนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม) 46 จังหวัด ผลผลิตที่ 14 (ขยะ) 3.1 จำนวนจังหวัดจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงจาก สวล. เพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการฯ(ประเด็นที่ 6 สนับสนุนการจัดบริการฯ) 46 จังหวัด - ตรวจบูรณาการร่วมกับสำนักนายกฯ = ประเด็นขยะติดเชื้อ - จังหวัดจัดทำรายงาน PPR1 2.1 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 20 จว. ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 2.2 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะมีความพึงพอใจต่อบริการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 20 จว. 3.2 ร้อยละของการสนับสนุนให้ รพศ./รพท. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ 76 จังหวัด 1.2 ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด 2.3 โครงการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ ใน ปชช. สัมผัสขยะ แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.3 ระดับความสำเร็จของ อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผลผลิตที่ 15 (มลพิษอากาศ) 2.4 ร้อยละเครือข่ายเป้าหมายดำเนินการเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านมลพิษทางอากาศในพื้นที่เสี่ยงตามแนวทางมาตรฐานกรม คร. 2.5 จำนวนเครือข่ายเป้าหมายได้รับการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2.6 ร้อยละเครือข่ายเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2.7 ร้อยละของโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ แล้วเสร็จตามที่กำหนด
36
แนวทางการดำเนินงาน ปี 2560
ตัวชี้วัด - ร้อยละ 30 ของประชาชนและผู้ประกอบอาชีพฯ ในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ คัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อเนื่อง วินิจฉัย ส่งต่อ/รักษา ฟื้นฟู สื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการมลพิษในชุมชน เป้าหมายลดโรค - ร้อยละของประชาชนและผู้ประกอบอาชีพฯ ในพื้นที่เสี่ยงมีความพึงพอใจต่อการบริการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ
37
แนวทางการดำเนินงาน ปี 2560
ปี 60 พื้นที่เดิม พื้นที่ใหม่ E-waste (3 จังหวัด) ขยะทั่วไป (5 จังหวัด) ขยะทั่วไป (12 จังหวัด) บ่อใหม่ บ่อเดิม สำรวจข้อมูล คัดกรองเพิ่มเติม การเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพ คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ประชาชน คนทำงาน เชิงรับ เชิงรุก การพัฒนาหน่วยบริการ env-occ การสื่อสารความเสี่ยง
40
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำหรับหน่วยบริการสุขภาพ ได้แก่ -รพ.สต.(EnvOcc clinic) -โรงพยาบาลชุมชน (EnvOcc center) -โรงพยาบาลศูนย์,ทั่วไป(EnvOcc center) หน่วยบริการดูแลสุขภาพ เชิงรุก / เชิงรับ
41
แนวทางการดูแลสุขภาพ เชิงรับ
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น และการส่งต่อ ซักประวัติเพื่อคัดกรองการเจ็บป่วย/ลักษณะการทำงาน ตรวจร่างกายทั่วไป คัดกรองความเสี่ยง การวินิจฉัยโรคเบื้องต้นตามแนวทางการวินิจฉัยโรคและการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพเบื้องต้น การบันทึกและรายงานโรค การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มครอบครัว การให้สุขศึกษา/การสื่อสารความเสี่ยงหรือคำแนะนำก่อนกลับบ้าน
42
แนวทางการดูแลสุขภาพ เชิงรุก
ร่วมกับ อปท. ในการสำรวจสภาพการทำงานของผู้ประกอบอาชีพเก็บ คัดแยกและรีไซเคิลขยะ จัดทำ Mapping กลุ่มผู้ประกอบอาชีพฯ ลงในแผนที่ชุมชน การประเมินความเสี่ยงในการทำงานและการตรวจร่างกายทั่วไป กรณีพบอาการเจ็บป่วยจากการคัดกรอง ส่งต่อเพื่อการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง/การรักษา/ฟื้นฟู ให้คำปรึกษา/ข้อแนะนำ เพื่อการปรับปรุงสภาพการทำงานและพฤติกรรมที่ปลอดภัย
43
บทบาทของหน่วยงาน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
1.ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อสรุปผลการดำเนินงานปี 59 , พัฒนาแนวทางการดำเนินงานและเครื่องมือที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน 2.ประชุมถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงาน ปี 60 ให้แก่หน่วยงานเครือข่าย 20 จังหวัด ในวันที่ ธันวาคม 2560 3.สนับสนุนการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงานกับหน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่ 20 จังหวัด - แบบคัดกรองกลุ่มเสี่ยง - คู่มือ / แผ่นพับความรู้
44
บทบาทการดำเนินงาน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12
1. ติดตามการดำเนินงานปี 2560 2. ประสานงานเครือข่ายและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขภาพในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 3. ร่วมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานกับหน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่รับผิดชอบ และรายงานผลฯมายังส่วนกลาง 4. ประสานรายชื่อผู้รับผิดชอบงานฯปี 60 พร้อมรายละเอียดการติดต่อมายัง
45
สื่อและสิ่งสนับสนุนต่างๆ ในกิจกรรม
46
แนวทางการส่งต่อข้อมูล
47
แผนการดำเนินงานปี 2560 กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
ผู้รับผิดชอบ ต.ค. 59 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 60 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1.ปรับปรุงแนวทาง คู่มือ แบบคัดกรอง ฯลฯ สำนัก 2.ชี้แจงงานสคร. 2-3 3.เลือกพื้นที่ ส่งผล สคร./จ. 4.สำรวจข้อมูล สคร./จ. 5.ประชุมถอดบทเรียน/ชี้แจง 20-21 สำนัก 5.ดำเนินการตามกิจกรรม 6.ติดตาม (บันทึกติดตาม) 3 ด. 6 ด. 9 ด. 12 ด. 7.รายงานความก้าวหน้า 9 ด. 12 ด. สำนัก/สคร. 8. ลงพื้นที่ติดตาม 10.สรุปผลการดำเนินงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.