งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น
รหัสวิชา หน่วยที่ 1 เครื่องเลื่อยกล (SAWING MACHINE)

2 การเลื่อย คือ การตัดชิ้นงานออกด้วยใบเลื่อยที่มีคมเล็กๆ หลายๆคม
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 1/ 41 หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) การเลื่อย คือ การตัดชิ้นงานออกด้วยใบเลื่อยที่มีคมเล็กๆ หลายๆคม การเลื่อย จำแนกเป็นการเลื่อยด้วยมือ( Hand Sawing ) คือใช้สำหรับ การเลื่อยชิ้นงานที่มีจำนวนไม่มากนัก และเลื่อยด้วยไฟฟ้า หรือเครื่องเลื่อยกล ( Sawing Machine ) คือใช้สำหรับการ ตัดชิ้นงานจำนวนมาก

3 แผ่นใส 2 /41 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) เครื่องเลื่อยกลแบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ 1. เครื่องเลื่อยชัก ( Power Hack Saw ) 2. เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน ( Horizontal Band Saw ) 3. เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ( Vertical Band Saw ) 4. เครื่องเลื่อยวงเดือน ( Radius Saw or Circular Saw )

4 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine)
แผ่นใส 3 /41 เครื่องเลื่อยกลแบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ 1. เครื่องเลื่อยชัก ( Power Hack Saw ) 2. เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน ( Horizontal Band Saw ) 3. เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ( Vertical Band Saw ) 4. เครื่องเลื่อยวงเดือน ( Radius Saw or Circular Saw )

5 1. เครื่องเลื่อยชัก ( Power Hack Saw )
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 4/41 หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1. เครื่องเลื่อยชัก ( Power Hack Saw ) เครื่องเลื่อยชักเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในการตัดวัสดุงานให้ได้ขนาดและความยาวที่ต้องการ

6 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องเลื่อยชัก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 5/41 หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องเลื่อยชัก โครงเลื่อย ( Saw Frame ) ลักษณะเหมือนตัวยูคว่ำ โครงเลื่อย ส่วนใหญ่ทำจากเหล็กหล่อ

7 1.1.2 ปากกาจับงาน ( Vise ) ใช้จับยึดชิ้นงานเพื่อทำการเลื่อย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 6/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.1.2 ปากกาจับงาน ( Vise ) ใช้จับยึดชิ้นงานเพื่อทำการเลื่อย สามารถปรับมุมเอียงขวา-ซ้าย ได้ข้างละ 45 องศา

8 1.1.3 แขนตั้งระยะงาน ( Cut Off Gage ) มีหน้าที่ตั้งระยะของ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 7/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.1.3 แขนตั้งระยะงาน ( Cut Off Gage ) มีหน้าที่ตั้งระยะของ ชิ้นงานที่ต้องการตัดจำนวนมาก

9 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 8/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.1.4 ระบบป้อนตัด เครื่องเลื่อยชักมีระบบป้อนตัดอยู่ 2 ชนิด คือ ใช้ลูกถ่วงน้ำหนักและชนิดใช้น้ำมันไฮดรอลิค 1.1.5 ระบบหล่อเย็น เครื่องเลื่อยชักมีความจำเป็นต้องใช้ระบบ หล่อเย็นเพื่อช่วยระบายความร้อนเนื่องจากการเสียดสีระหว่างใบเลื่อย กับชิ้นงาน 1.1.6 ฐานเครื่องเลื่อยชัก ( Base ) ทำหน้าที่รองรับส่วนต่างๆ ของเครื่องเลื่อยชัก

10 1.1.7 มอเตอร์ ( Motor ) ทำหน้าที่เป็นต้นกำลังขับไปยังโครงเลื่อย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 9/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.1.7 มอเตอร์ ( Motor ) ทำหน้าที่เป็นต้นกำลังขับไปยังโครงเลื่อย 1.1.8 สวิตช์เปิด-ปิด เครื่องเลื่อยที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมส่วน ใหญ่จะเป็นแบบกึ่งอัตโนมัติ 1.1.9 ชุดเฟืองทด ( Gear ) ทำหน้าที่ทดส่งกำลังจากมอเตอร์ไปยัง โครงเลื่อย มู่เล่ ( Pulley ) ทำหน้าที่ส่งกำลังผ่านสายพานไปยังชุดเฟือง ทดใช้กับสายพานวี

11 1.2 กลไกการทำงานของเครื่องเลื่อยชัก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 10/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.2 กลไกการทำงานของเครื่องเลื่อยชัก กลไกการทำงานของเครื่องเลื่อยชัก ส่งกำลังด้วยมอเตอร์ผ่านเฟืองขับซึ่งเป็นเฟืองทดเพื่อทดความเร็วรอบของมอเตอร์ ที่ข้างเฟืองขับจะมีก้านหมุนอยู่คนละศูนย์ให้ชักโครงเลื่อยเดินหน้าและถอยหลัง

12 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 11/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.3 น้ำหนักกดโครงเลื่อย สำหรับน้ำหนักกดโครงเลื่อย ยิ่งห่างจากจุดหัวเครื่องมากเท่าใด จะกดให้ใบเลื่อยตัดเฉือนมากเท่านั้น น้ำหนักกดใกล้หัวเครื่อง = น้ำหนักกดโครงเลื่อยน้อย น้ำหนักกดห่างหัวเครื่อง = น้ำหนักกดโครงเลื่อยมาก

13 1.4 ใบเลื่อยเครื่อง ( Saw Blade )
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 12/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.4 ใบเลื่อยเครื่อง ( Saw Blade ) ทำหน้าที่ตัดเฉือนชิ้นงาน ใบเลื่อยทำจากเหล็กรอบสูง มีความแข็งแต่เปราะ ใบเลื่อยประกอบด้วย ความกว้าง ความยาว ความหนา ความโตของรูใบเลื่อย ซึ่งจำนวนฟันที่นิยมใช้งานทั่วๆไป คือ 10 ฟันต่อนิ้ว

14 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 13/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) ลักษณะของใบเลื่อย ความยาวของใบเลื่อย วัดจากจุดศูนย์กลางของรูยึดใบเลื่อยทั้งสอง ความกว้างของใบเลื่อย วัดจากขอบด้านบนถึงปลายของฟันเลื่อย ความหนาของใบเลื่อย วัดจากสันของใบเลื่อย 4. การวัดจำนวนฟันของใบเลื่อย ในระบบเมตริก เรียกว่า ระยะพิต (Pitch) ส่วนในระบบอังกฤษเรียกเป็นจำนวนฟันต่อนิ้ว

15 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 14/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) ระยะ Pitch

16 ตัวอย่างขนาดใบเลื่อยมาตรฐาน
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 15/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) ตัวอย่างขนาดใบเลื่อยมาตรฐาน

17 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 16/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine)

18 ฟันเลื่อยแต่ละฟันมีลักษณะคล้ายลิ่มทำหน้าที่จิกเข้าไปในเนื้อวัสดุ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 17/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.5 มุมฟันเลื่อย ฟันเลื่อยแต่ละฟันมีลักษณะคล้ายลิ่มทำหน้าที่จิกเข้าไปในเนื้อวัสดุ ฟันเลื่อยประกอบด้วยมุมที่สำคัญ 3 มุม คือ 1. มุมคมตัด (  ) เป็นมุมคมตัดของฟันเลื่อย 2. มุมคายเศษ (  ) เป็นมุมที่ใช้ดันเศษโลหะออกจากฟัน 3. มุมหลบ (  ) เป็นมุมที่ลดการเสียดสีระหว่างฟันเลื่อยกับ ชิ้นงาน

19 1.6 คลองเลื่อย (Free Cutting Action)
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 18/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.6 คลองเลื่อย (Free Cutting Action) คลองเลื่อย คือ ความกว้างของร่องบนวัสดุงาน หลังจากที่มีการตัด เฉือน ปกติคลองเลื่อยจะมีความหนามากกว่าใบเลื่อย ลักษณะของคลองเลื่อย 1. คลองเลื่อยฟันสลับ ลักษณะฟันเลื่อยจะสลับซ้ายกับขวาตลอดทั้งใบ

20 2. คลองเลื่อยแบบฟันคลื่น ลักษณะฟันจะเลื้อยเป็นคลื่น
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 19/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) ลักษณะของคลองเลื่อย 2. คลองเลื่อยแบบฟันคลื่น ลักษณะฟันจะเลื้อยเป็นคลื่น 3. คลองเลื่อยแบบตอก ลักษณะฟันเลื่อยจะเป็นมุมฟรีทั้งสองข้าง

21 ทิศทางการทำงานของคมตัดประกอบด้วยทิศทางที่สำคัญ 2 ทิศ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 20/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.7 ทิศทางการตัดเฉือน ทิศทางการทำงานของคมตัดประกอบด้วยทิศทางที่สำคัญ 2 ทิศ ได้แก่ ทิศทางการกดและทิศทางการดัน แรงที่กระทำการกดและแรงที่ กระทำการดันต้องสัมพันธ์กัน

22 1.8 การประกอบใบเลื่อยเข้าโครงเลื่อย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 21/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.8 การประกอบใบเลื่อยเข้าโครงเลื่อย การประกอบใบเลื่อยต้องระวังทิศทางของฟันเลื่อย ในการประกอบ ใบเลื่อยต้องผ่อนตัวดึงใบเลื่อยให้ยื่นออก แล้วใส่ใบเลื่อยเข้าไปให้รูของ ใบเลื่อยตรงกับสลักร้อยทั้ง 2 ข้างของโครงเลื่อย จากนั้นปรับตัวดึงใบ เลื่อยให้พอตึง แล้วปรับใบเลื่อยให้ตั้งฉาก แล้วจึงขันให้ตึงด้วยมือ

23 1.9 การจับยึดชิ้นงานสำหรับงานเลื่อย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 22/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.9 การจับยึดชิ้นงานสำหรับงานเลื่อย การจับชิ้นงานที่ผิดวิธีกรณีชิ้นงานสั้น ปากของปากกาไม่สามารถ จับชิ้นงานให้แน่นได้ การจับที่ถูกวิธีต้อง ใช้เหล็กหนุนช่วยในการจับ ดันปากของปากกาให้ขนานกัน

24 การจับชิ้นงานที่ถูกวิธี
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 23/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) การจับชิ้นงานที่ถูกวิธี

25 การเลื่อยชิ้นงานขนาดเดียวกันจำนวนมากถ้าตั้งวัดงานทุกครั้งที่ทำ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 24/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.10 การวัดตัดชิ้นงาน การเลื่อยชิ้นงานขนาดเดียวกันจำนวนมากถ้าตั้งวัดงานทุกครั้งที่ทำ การตัดจะใช้เวลามากและขนาดของชิ้นงานจะไม่เท่ากัน มีโอกาสคลาด เคลื่อนได้ วิธีการแก้ไขโดยใช้แขนตั้งระยะช่วยในการเลื่อยชิ้นงาน

26 แขนตั้งระยะช่วยในการวัดชิ้นงานที่ต้องการตัดจำนวนมาก ให้ได้
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 25/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.11 การใช้แขนตั้งระยะ แขนตั้งระยะช่วยในการวัดชิ้นงานที่ต้องการตัดจำนวนมาก ให้ได้ ขนาดเดียวกันทุกชิ้น แขนตั้งระยะสามารถปรับระยะได้ ข้อควรระวัง ไม่ดันชิ้นงานกระแทกแขนตั้งระยะแรงจนเกินไป จะ ทำให้ชิ้นงานที่ตัดความยาวคลาดเคลื่อน

27 1.12 ขั้นตอนการใช้เครื่องเลื่อยชัก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 26/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.12 ขั้นตอนการใช้เครื่องเลื่อยชัก 1. ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องเลื่อยชักและอุปกรณ์ 2. ตรวจความพร้อมของสภาพร่างกายของผู้ปฏิบัติงาน 3. เปิดสวิตช์เมนใหญ่ให้กระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องเลื่อยชัก 4. ยกโครงเลื่อยค้างไว้ก่อนตัด 5. บีบจับชิ้นงานด้วยปากกาจับงานไม่ต้องแน่น 6. ปรับโครงเลื่อยลงให้ฟันของใบเลื่อยห่างจากชิ้นงานประมาณ 10 มิลลิเมตร

28 1.12 ขั้นตอนการใช้เครื่องเลื่อยชัก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 27/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.12 ขั้นตอนการใช้เครื่องเลื่อยชัก 7. ตั้งระยะความยาวของชิ้นงานโดยใช้บรรทัดเหล็กวัดขนาด 8. บีบจับชิ้นงานด้วยปากกาจับงานให้แน่น 9. ปรับแขนตั้งระยะให้ยาวเท่ากับความยาวชิ้นงาน 10. เปิดสวิตช์เดินเครื่องเลื่อยสายพาน 11. ค่อยๆปรับระบบป้อนตัดให้โครงเลื่อยเลื่อนช้าๆ 12. ปรับท่อน้ำหล่อเย็นให้ฉีดตรงคลองเลื่อย 13. คอยจนกว่าเลื่อยตัดชิ้นงานขาด

29 1.13 การบำรุงรักษาเครื่องเลื่อยชัก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 28/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.13 การบำรุงรักษาเครื่องเลื่อยชัก 1. ก่อนใช้เครื่องเลื่อยให้หยอดน้ำมันตรงบริเวณจุดที่เคลื่อนที่ 2. หลังเลิกใช้งานควรทำความสะอาดและใช้ผ้าคลุมกันฝุ่น 3. ควรเปลี่ยนน้ำหล่อเย็นทุกสัปดาห์ 4. ตรวจสอบกระบอกสูบน้ำมันไฮดรอลิคว่ารั่วซึมหรือไม่ 5. ตรวจสอบ สายพาน มู่เล่ เฟืองทด ปั๊มน้ำหล่อเย็นเพื่อให้ใช้ งานได้ตลอด

30 1.14 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 29/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.14 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อย 1. ก่อนใช้เครื่องให้ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องเสมอ 2. บีบปากกาจับงานให้แน่นก่อนเปิดสวิตช์ 3. ห้ามตัดชิ้นงานที่มีความยาวน้อยกว่าปากของปากกาจับงาน 4. เมื่อต้องการตัดงานยาวๆ ควรมีฐานรองรับที่ปลายชิ้นงาน 5. ก่อนเปิดสวิตช์เดินเครื่องต้องยกใบเลื่อยให้ห่างจากชิ้นงาน ประมาณ 10 มิลลิเมตร

31 1.14 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 30/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 1.14 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อย 6. การป้อนตัดมากเกินไปจะทำให้ใบเลื่อยหัก 7. เหล็กหล่อ ทองเหลือง ทองแดง และอลูมิเนียมควรเลือกใช้ น้ำหล่อเย็นให้ถูกประเภท 8. ไม่ควรก้มหน้าใกล้โครงเลื่อยขณะเปิดสวิทช์ 9. ขณะเครื่องเลื่อยชักกำลังตัดชิ้นงานห้ามหมุนปากกาจับงาน 10. เพื่อความปลอดภัยให้คิดก่อนทำเสมอ

32 2. เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน ( Horizontal Band Saw )
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 31/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 2. เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน ( Horizontal Band Saw ) เป็นเครื่องเลื่อยที่มีใบเลื่อยติดกันเป็นวงกลม การเคลื่อนที่ของใบ เลื่อยมีลักษณะการส่งกำลังด้วยสายพาน คือมีล้อขับและล้อตาม ทำให้ คมตัดของใบเลื่อยสามารถเลื่อยตัดงานได้ตลอดทั้งใบ การป้อนตัดงาน ใช้ระบบไฮดรอลิค ควบคุมความตึงด้วยมือหรือใช้ไฮดรอลิคปรับระยะ ห่างของล้อ ใช้ตัดชิ้นงานให้ได้ความยาวตามต้องการ

33 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 32/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine)

34 3. เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ( Vertical Band Saw )
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 33/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 3. เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ( Vertical Band Saw ) เป็นเครื่องเลื่อยที่มีใบเลื่อยติดกันเป็นวงกลม มีใบเลื่อยเป็นสายพาน ในแนวตั้ง ซึ่งจะหมุนตัดชิ้นงานอย่างต่อเนื่อง ใช้ตัดงานเบาได้ทุกลักษณะ เช่น ตัดเหล็กแบน หรือเหล็กบาง หรือตัดเป็นรูปทรงต่างๆ

35 วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 34/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine)

36 เครื่องเลื่อยสายพานต่างจากเครื่องเลื่อยชัก คือสามารถตัดงาน
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 35/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) เครื่องเลื่อยสายพานต่างจากเครื่องเลื่อยชัก คือสามารถตัดงาน ได้อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่เครื่องเลื่อยชักทำหน้าที่ตัดงานเฉพาะช่วง เท่านั้น ใบเลื่อยสายพานจะมีความหนาน้อยกว่าใบเลื่อยชนิดอื่น ลักษณะเด่นของเครื่องเลื่อยชนิดนี้ทำงานคล้ายกับงานฉลุซึ่งจะ ไม่พบในเครื่องเลื่อยชนิดอื่น

37 4. เครื่องเลื่อยวงเดือน (Circular Saw Radius Saw)
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 36/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 4. เครื่องเลื่อยวงเดือน (Circular Saw Radius Saw) เป็นเครื่องเลื่อยที่มีใบเลื่อยเป็นวงกลม มีฟันรอบ ๆ สามารถตัดชิ้นงานได้อย่าง ต่อเนื่อง มักเป็นงานบางๆ

38 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อยวงเดือน 1. ใส่ฝาคลอบใบเลื่อยเสมอ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 37/41 หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อยวงเดือน 1. ใส่ฝาคลอบใบเลื่อยเสมอ 2. อย่าออกแรงควบคุมเกินพิกัด 3. ก่อนชิ้นงานขาดให้ออกแรงเพียงเล็กน้อย 4. หมั่นตรวจการร้าวของใบเลื่อย

39 การหล่อเย็นชิ้นงานขณะตัดเฉือน
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 38/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) การหล่อเย็นชิ้นงานขณะตัดเฉือน

40 หน้าที่ของน้ำหล่อเย็น น้ำมันหล่อเย็นมีหน้าที่หลัก 4 ประการ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 39/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) หน้าที่ของน้ำหล่อเย็น น้ำมันหล่อเย็นมีหน้าที่หลัก 4 ประการ 1. ระบายความร้อน 2. หล่อลื่นลดแรงเสียดทาน 3. ชะล้างและพาเศษโลหะ 4. ป้องกันสนิม

41 น้ำมันหล่อเย็น ( Water Emulsifiable Cutting Fluid ) จะผสมน้ำ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 40/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) น้ำมันหล่อเย็น น้ำมันหล่อเย็น ( Water Emulsifiable Cutting Fluid ) จะผสมน้ำ ใช้งานที่อัตราส่วนผสมแตกต่างกันไปตามคุณสมบัติของน้ำมันหล่อเย็น โดยปกติจะผสมใช้งานในช่วง 2% ถึง 10 % ซึ่งน้ำมันหล่อเย็นแบ่งออก เป็น 3 ประเภท คือ 1. น้ำมันสบู่ (Soluble Oil) มีองค์ประกอบที่สำคัญคือ น้ำมันหล่อ ลื่นขั้นพื้นฐานประเภทน้ำมันแร่ (Mineral Oil) กับสาร Emulsifier ซึ่งทำ หน้าที่ให้น้ำมันแร่สามารถกระจายและอยู่ตัวได้ในน้ำ

42 2. น้ำมันสังเคราะห์ (Synthetic Fluid) ผลิตจากน้ำมันพื้นฐาน
วิชา : งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ) แผ่นใส 41/ หน่วยการเรียนที่ 1 : เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) 2. น้ำมันสังเคราะห์ (Synthetic Fluid) ผลิตจากน้ำมันพื้นฐาน หรือสารเคมีที่มาจากการสังเคราะห์ทั้งหมด โดยไม่มีสัดส่วนของ น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานประเภทน้ำมันแร่ ใช้สำหรับงานเจียระไน คุณภาพสูง ข้อพึงระวัง จากการใช้น้ำมันหล่อเย็นชนิดสังเคราะห์ คือ ปัญหาสนิมที่มักเกิดขึ้นกับเครื่องจักร 3. น้ำมันกึ่งสังเคราะห์ ( Semi Synthetic Fluid ) จะมีน้ำมัน หล่อลื่นพื้นฐานผสมกัน ระหว่างน้ำมันสังเคราะห์และน้ำมันแร่ โดยมีส่วนผสมในช่วง 20 % ถึง 60 %


ดาวน์โหลด ppt วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google