ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยFredrik Eriksson ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
โดย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม 22 ธันวาคม น. ณ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
2
“การคมนาคม เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง
ในการสร้างสรรค์ความเจริญของประเทศ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอด 100 ปี ที่ผ่านมา กระทรวงคมนาคมได้ปรับปรุงพัฒนากิจการคมนาคมของไทย ให้มีประสิทธิภาพและก้าวหน้าขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงขอให้ทุกคน ทุกฝ่าย ทุกหน่วยงานในกระทรวงนี้ ได้ภูมิใจในงานที่ทำพร้อมทั้งร่วมมือร่วมงานกันให้ยิ่งสอดคล้องแน่นแฟ้นขึ้น เพื่อให้ผลแห่งการปฏิบัติงานของท่านอำนวยประโยชน์อันกว้างขวางยั่งยืนให้แก่ประชาชน และเป็นปัจจัยเสริมสร้างความเจริญมั่นคงให้แก่ประเทศชาติตลอดไปไม่มีที่สิ้นสุด” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงคมนาคม ครบรอบ 100 ปี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 58
3
ประเด็นนำเสนอ Thailand 4.0 Thailand Transport 4.0 for Next 20 Years
Transport Action Plan 2017
4
Thailand 3.0 …to…Thailand 4.0
ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ กระทรวงพาณิชย์
5
Thailand 4.0 การเปลี่ยนผ่านทั้งระบบใน 4 องค์ประกอบสำคัญ
การเปลี่ยนผ่านทั้งระบบใน 4 องค์ประกอบสำคัญ Traditional Farming สู่ Smart Farming Traditional SMEs สู่ Smart Enterprises และ Startups ที่มี ศักยภาพสูง Traditional Services สู่ High Value Services แรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และ ทักษะสูง
6
Thailand Transport Strategy for Next 20 Years
7
วิสัยทัศน์คมนาคมขนส่งในอนาคต : มุ่งสู่การขนส่งที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ 20 ปี วิสัยทัศน์คมนาคมขนส่งในอนาคต : มุ่งสู่การขนส่งที่ยั่งยืน Green & Safe Transport การขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัย พลังงานทางเลือกใหม่/พลังงานประหยัด Innovation & Management Inclusive Transport Transport Efficiency การขนส่งที่มีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการขนส่ง/โลจิสติกส์ สร้างโครงข่ายการเชื่อมโยงระบบคมนาคมภายในประเทศและระหว่างประเทศ การเข้าถึงระบบขนส่งอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม การออกแบบสำหรับคนทุกคน (Universal Design) 3
8
แนวคิดในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งในอนาคต
ยุทธศาสตร์ 20 ปี แนวคิดในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งในอนาคต Green & Safe Transport ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการ/นวัตกรรม Transport Efficiency ประสิทธิภาพ บริหารจัดการ/นวัตกรรม เสมอภาคและเท่าเทียม บริหารจัดการ/นวัตกรรม Inclusive Transport
9
“มุ่งสู่การขนส่งที่ยั่งยืน”
ยุทธศาสตร์ 20 ปี วิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ “มุ่งสู่การขนส่งที่ยั่งยืน” 2 1 ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ด้านการขนส่งและการเดินทาง 5
10
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย
ยุทธศาสตร์ 20 ปี ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบูรณาการ ระบบคมนาคมขนส่ง (Integrated Transport Systems) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ ตัวอย่าง การพัฒนาระบบรางเชื่อมต่อ ท่าอากาศยาน และท่าเรือ การบริหารจัดการเส้นทางเดินรถประจำทาง การบริการของ ภาคคมนาคมขนส่ง (Transport Services) ความสะดวกในการขนส่งสินค้า ความสะดวกในการเดินทาง สิ่งอำนวยความสะดวก ตัวอย่าง ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า/จุดพักรถบรรทุก/สถานีขนส่งผู้โดยสาร การปรับปรุงพัฒนาโครงข่ายและ สิ่งอำนวยความสะดวกในการเดินเท้า/การขี่จักรยาน การพัฒนา ปรับปรุงกฎหมายและปฏิรูปองค์กร (Regulations and Institution) การปรับโครงสร้างองค์กร การบังคับใช้กฎหมาย การให้เอกชนมีส่วนร่วม ตัวอย่าง การจัดตั้งกรมราง การปรับปรุงกฎหมายด้านการเดินอากาศ การแยกบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานนโยบาย และกำกับดูแล การพัฒนาบุคลากร (Human Resource Development) การผลิตและพัฒนาบุคลากร การจัดตั้งสถาบันการพัฒนา/ฝึกอบรม ตัวอย่าง การพัฒนาบุคลากรด้านการบิน/พาณิชย์นาวี การฝึกอบรมบุคลากรด้านขนส่ง การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง (Technology and Innovation) การส่งเสริมวิจัยและพัฒนา การนำเทคโนโลยี นวัตกรรม ประยุกต์ใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตัวอย่าง การใช้ระบบ ITS/MIS/GIS การบริหารการจราจรทางอากาศ
11
ระยะเวลาการพัฒนา (แบ่งเป็น 4 ระยะ 5-5-5-5)
ยุทธศาสตร์ 20 ปี ระยะเวลาการพัฒนา (แบ่งเป็น 4 ระยะ ) แผนงาน ระยะที่ 1 (พ.ศ ) ระยะที่ 2 (พ.ศ ) ระยะที่ 3 (พ.ศ ระยะที่ 4 (พ.ศ ) 1. แก้ไขปัญหาจราจร กทม./ปริมณฑล และเมืองหลักในภูมิภาค 2. แก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนและพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน 3. พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งเพื่อส่งเสริมระบบโลจิสติกส์และพื้นที่เฉพาะ 4. พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ กทม./ปริมณฑล และเมืองหลักในภูมิภาค 5. พัฒนาระบบรางระหว่างเมืองเพื่อขนส่งสินค้า/ผู้โดยสาร 6. พัฒนาพื้นที่ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า/รถไฟ 7. พัฒนาระบบขนส่งที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 8. พัฒนาการเข้าถึงระบบขนส่งของคนทุกกลุ่ม 9. พัฒนาและส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพการให้บริการขนส่งทุกรูปแบบ 10. พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการคมนาคมขนส่ง/ ปฏิรูปปรับปรุงบทบาทองค์กร และกฎหมาย หมายเหตุ – แต่ละแผนงานได้จัดทำโครงการ/กิจกรรม ในแต่ละระยะ ภายใต้แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคม ระยะ 20 ปี
12
ยุทธศาสตร์ 20 ปี ความเชื่อมโยงของแผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน พ.ศ (Action Plan)
13
แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง 2560
มุ่งสู่การขนส่งที่ยั่งยืน
14
ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนปฏิบัติการ 2560 รายงานผลการดำเนินงาน 20 โครงการ ใน Action Plan 2559 (ข้อมูล ณ พฤศจิกายน 2559) โครงการ หน่วยงาน FS EIA เสนอ ครม. ประกวดราคา ก่อสร้าง 1. ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายพัทยา – มาบตาพุด ทล. 2. พัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง A ที่ท่าเรือแหลมฉบัง กทท. 3. พัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟที่ท่าเรือแหลมฉบัง (ระยะที่ 1) 4. ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น รฟท. 5. พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ทอท. 6. ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างสายบางปะอิน – นครราชสีมา 7. ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างสายบางใหญ่ – กาญจนบุรี 8. รถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ – มีนบุรี รฟม. 9. รถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย – มีนบุรี 10. รถไฟฟ้าสายเหลือง ช่วงลาดพร้าว – สำโรง 11. ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ 12. ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงประจวบคีรีขันธ์ - ชุมพร 13. ระบบรถไฟชานเมือง สายสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ– พญาไท – มักกะสัน -หัวหมาก และสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ – หัวลำโพง 14. ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงนครปฐม – หัวหิน 15. ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ 16. รถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ 17. ก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ – หัวหิน สนข./รฟท. 18. ก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ – ระยอง 19. ความร่วมมือก่อสร้างทางรถไฟ ไทย – จีน 20. ความร่วมมือก่อสร้างทางรถไฟ ไทย – ญี่ปุ่น 10
15
แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ. ศ
แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ (Action Plan) จำนวน 36 โครงการ ทางหลวงพิเศษ และทางพิเศษ 5 เส้นทาง 167, ลบ. (ร้อยละ 18.67) ทล.พิเศษฯ สายนครปฐม-ชะอำ , ล.บ. ทล.พิเศษฯ สายหาดใหญ่-ชายแดนไทย/มาเลเซีย , ล.บ. ทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง , ล.บ. วงแหวนรอบนอก กทม. ด้านตะวันตก 4. ทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 และ , ล.บ. E-W Corridor 5. โครงการทางพิเศษ สายกระทู้-ป่าตอง , ล.บ. รถไฟทางคู่ 10 เส้นทาง 408, ลบ. (ร้อยละ 45.62) ช่วงหัวหิน – ประจวบคีรีขันธ์ , ล.บ.* ช่วงชุมพร – สุราษฎร์ธานี , ล.บ. ช่วงสุราษฎร์ธานี – สงขลา , ล.บ. ช่วงหาดใหญ่ – ปาดังเบซาร์ , ล.บ. ช่วงปากน้ำโพ – เด่นชัย , ล.บ. ช่วงเด่นชัย – เชียงใหม่ , ล.บ. ช่วงเด่นชัย – เชียงราย-เชียงของ , ล.บ. ช่วงขอนแก่น – หนองคาย , ล.บ. ช่วงชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี , ล.บ. ช่วงบ้านไผ่ – นครพนม , ล.บ. ร้อยละ 24.69 ร้อยละ 45.62 สิ่งอำนวยความสะดวกทางถนน 5 โครงการ 21, ล.บ. (ร้อยละ 2.40) พัฒนาจุดพักรถบรรทุกตามเส้นทางหลัก ล.บ. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ , ล.บ. ศูนย์การขนส่งชายแดน จ.นครพนม , ล.บ. พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค (ชายแดน 9 จังหวัด) , ล.บ. พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค (เมืองหลัก 8 จังหวัด) , ล.บ. รถไฟชานเมือง 2 เส้นทาง 26, ลบ. (ร้อยละ 2.97) สายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มธ. รังสิต , ล.บ. สายสีแดงอ่อน ส่วนต่อขยาย ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช 19, ล.บ. และตลิ่งชัน-ศาลายา ร้อยละ 18.67 รถโดยสารสาธารณะ 1 โครงการ 2, ล.บ. (ร้อยละ 0.25) จัดซื้อรถโดยสารรถไฟฟ้า จำนวน 200 คัน , ล.บ. พร้อมก่อสร้างสถานีประจุไฟฟ้า แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ (Action Plan) จำนวน 36 โครงการ วงเงินลงทุน 895, ล้านบาท รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 6 เส้นทาง 221, ลบ. (ร้อยละ 24.69) สายสีน้ำเงิน บางแค-พุทธมณฑลสาย , ล.บ. สายสีส้ม ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรมฯ , ล.บ. สายสีเขียวเข้ม สมุทรปราการ-บางปู , ล.บ. สายสีเขียวเข้ม คูคต-ลำลูกกา , ล.บ. ระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อม ทสภ , ล.บ. ส่วนต่อขยาย (ช่วงดอนเมือง-บางซื่อ-พญาไท) ARL ระบบขนส่งมวลชน จังหวัดภูเก็ต , ล.บ. ระบบบริหารจัดการการขนส่งสาธารณะ 1 โครงการ 1, ลบ. (ร้อยละ 0.15) การบริหารจัดการระบบตั๋วร่วม , ล.บ. ทางน้ำ 3 โครงการ 36, ลบ. (ร้อยละ 4.03) การเดินเรือ Ferry เชื่อมอ่าวไทยตอนบน ล.บ. การพัฒนาท่าเรือเฟอร์รี่เชื่อมอ่าวไทยตอนบน ล.บ. ท่าเรือแหลมฉบัง ขั้นที่ , ล.บ. หมายเหตุ : (*) ครม. อนุมัติแล้ว ทางอากาศ 3 โครงการ 10, ลบ. (ร้อยละ 1.22) การพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาค , ล.บ. ปรับปรุงระบบลำเลียงกระเป๋าสัมภาระ ทสภ , ล.บ. MRO ณ ท่าอากาศยานอู่ตะเภา ล.บ. 15
16
เป้าหมายการดำเนินงานของแผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ. 2560
โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด จำนวน 7 โครงการ วงเงินลงทุน 874, ล้านบาท 1. เริ่มก่อสร้าง กลุ่มโครงการที่เริ่มก่อสร้างได้ จำนวน 4 โครงการ 402, ล.บ. รถไฟทางคู่ ช่วงนครปฐม – หัวหิน (ครม. อนุมัติ เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 59) รถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ (ครม. อนุมัติ เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 59 สายสีม่วง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ (งานโยธา) โครงการฯ ไทย – จีน (ช่วงกรุงเทพฯ-โคราช) 2. ประกวดราคา 3.เสนอ ครม./คกก. PPP กลุ่มโครงการที่ประกวดราคาได้ จำนวน 2 โครงการ 247, ลบ. โครงการฯ ช่วงกรุงเทพฯ – หัวหิน โครงการฯ ช่วงกรุงเทพฯ – ระยอง กลุ่มโครงการที่เสนอ ครม./คกก. PPP พิจารณา จำนวน 1 โครงการ 224, ลบ. โครงการฯ ไทย – ญี่ปุ่น (ช่วงกรุงเทพฯ-พิษณุโลก) แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ จำนวน 36 โครงการ วงเงินลงทุน 895, ล้านบาท 1. พร้อมให้บริการ 3. ประกวดราคา 4. เสนอ ครม./คกก. PPP กลุ่มโครงการที่ประกวดราคาได้ จำนวน 15 โครงการ 468, ล.บ. จัดซื้อรถโดยสารรถไฟฟ้า จำนวน 200 คัน และสถานีประจุไฟฟ้า สายสีน้ำเงิน บางแค-พุทธมณฑลสาย 4 สายสีเขียวเข้ม สมุทรปราการ-บางปู สายสีเขียวเข้ม คูคต-ลำลูกกา สายสีส้ม ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรมฯ ระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อม ทสภ. ส่วนต่อขยาย (ช่วงดอนเมือง-บางซื่อ-พญาไท) ARL สายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มธ. รังสิต รถไฟทางคู่ ช่วงปากน้ำโพ – เด่นชัย รถไฟทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี รถไฟทางคู่ ช่วงขอนแก่น – หนองคาย รถไฟทางคู่ ช่วงชุมพร – สุราษฎร์ธานี รถไฟทางคู่ ช่วงสุราษฎร์ธานี – สงขลา รถไฟทางคู่ ช่วงหาดใหญ่ – ปาดังเบซาร์ รถไฟทางคู่ ช่วงเด่นชัย – เชียงใหม่ MRO ณ ท่าอากาศยานอู่ตะเภา กลุ่มโครงการที่เสนอ ครม./คกก. PPP พิจารณา จำนวน 8 โครงการ 298, ล.บ. ช่วงเด่นชัย – เชียงราย-เชียงของ ช่วงบ้านไผ่ – นครพนม สายสีแดงอ่อน ส่วนต่อขยาย ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช และตลิ่งชัน-ศาลายา ท่าเรือแหลมฉบัง ขั้นที่ 3 ทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 และ E-W Corridor ทางพิเศษ สายกระทู้-ป่าตอง ทล.พิเศษฯ สายนครปฐม-ชะอำ ศูนย์การขนส่งชายแดน จ.นครพนม กลุ่มโครงการที่พร้อมให้บริการได้ จำนวน 2 โครงการ 1, ล.บ. การเดินเรือ Ferry เชื่อมอ่าวไทยตอนบน การบริหารจัดการระบบตั๋วร่วม 2. เริ่มก่อสร้าง กลุ่มโครงการที่เริ่มก่อสร้างได้ จำนวน 5 โครงการ 54, ล.บ. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ การพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาค ทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวน รอบนอก กทม. ด้านตะวันตก รถไฟทางคู่ ช่วงหัวหิน – ประจวบคีรีขันธ์ (ครม. อนุมัติ เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 59) ปรับปรุงระบบลำเลียงกระเป๋าสัมภาระ ทสภ. 5. เตรียมข้อเสนอโครงการ/6. โครงการสำคัญที่ต้องการผลักดัน กลุ่มโครงการที่เตรียมข้อเสนอโครงการ จำนวน 4 โครงการ 48, ล.บ. การพัฒนาท่าเรือเฟอร์รี่เชื่อมอ่าวไทยตอนบน (ระยะยาว) ทล.พิเศษฯ สายหาดใหญ่-ชายแดนไทย/มาเลเซีย พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค (ชายแดน 9 จังหวัด) พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค (เมืองหลัก 8 จังหวัด) กลุ่มโครงการสำคัญที่ต้องการผลักดัน จำนวน 2 โครงการ 24, ล.บ. พัฒนาจุดพักรถบรรทุกตามเส้นทางหลัก ระบบขนส่งมวลชน จังหวัดภูเก็ต 16
17
ภาพรวมแผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน ปี พ. ศ
ภาพรวมแผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน ปี พ.ศ และ 2560 56 โครงการ วงเงินลงทุน 2,295, ล้านบาท แผนปฏิบัติการฯ ปี 2559 โดยมีโครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติดำเนินโครงการแล้ว จำนวน 13 โครงการ วงเงินลงทุน 525, ล้านบาท โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด จำนวน 7 โครงการ วงเงินลงทุน 874, ล้านบาท (โดยมีโครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติดำเนินโครงการแล้ว จำนวน 2 โครงการ) แผนปฏิบัติการฯ ปี 2560 จำนวน 36 โครงการ วงเงินลงทุน 895, ล้านบาท (โดยมีโครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติดำเนินโครงการแล้ว จำนวน 1 โครงการ) รถไฟทางคู่ 15 เส้นทาง วงเงิน 523, ล.บ. (ร้อยละ 22.82) รถไฟฟ้าชานเมือง 3 เส้นทาง วงเงิน 70, ล.บ. (ร้อยละ 3.08) รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 10 เส้นทาง วงเงิน 568, ล.บ. (ร้อยละ 24.77) รถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง วงเงิน 701, ล.บ. (ร้อยละ 30.55) ระบบบริหารจัดการการขนส่งสาธารณะ 1 โครงการ วงเงิน 1, ล.บ. (ร้อยละ 0.06) ทางหลวงพิเศษ และ ทางพิเศษ 8 เส้นทาง วงเงิน 305, ล.บ. (ร้อยละ 13.29) สิ่งอำนวยความสะดวกทางถนน 5 โครงการ วงเงิน 21, ล.บ. (ร้อยละ 0.94) ทางน้ำ 5 โครงการ วงเงิน 39, ล.บ. (ร้อยละ 1.73) ทางอากาศ 4 โครงการ วงเงิน 61, ล.บ. (ร้อยละ 2.67) รถโดยสารสาธารณะ 1 โครงการ วงเงิน 2, ล.บ. (ร้อยละ 0.10) 17
18
ความก้าวหน้าแผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน พ. ศ
ความก้าวหน้าแผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน พ.ศ (Action Plan) จำนวน 20 โครงการ แผนปฏิบัติการฯ ภายหลังปรับวงเงินแล้ว รวม 20 โครงการ วงเงินลงทุน 1,399, ล้านบาท (เดิม 1,796, ล.บ. มติ ครม. วันที่ 1 ธ.ค. 2558) กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 โครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติดำเนินโครงการแล้ว จำนวน 13 โครงการ วงเงินลงทุน 525, ล้านบาท (ร้อยละ 37.55) โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด จำนวน 7 โครงการ วงเงินลงทุน 874, ล้านบาท (ร้อยละ 62.45) 3. โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 จำนวน 50, ล.บ. (รัฐบาลปัจจุบันเร่งรัดดำเนินการ ตามข้อสั่งการ นรม. วันที่ 26 พ.ค. 2558) 12. โครงการระบบรถไฟชานเมือง สายสีแดงอ่อน และสายสีแดงเข้ม จำนวน 44, ล.บ. โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ จำนวน 3 โครงการ : 4. ระหว่างเมืองสายพัทยา – มาบตาพุด จำนวน 17, ล.บ. 5. ระหว่างสายบางปะอิน – นครราชสีมา จำนวน 73, ล.บ. 6. ระหว่างสายบางใหญ่ – กาญจนบุรี จำนวน 46, ล.บ. 1. โครงการฯ ทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น จำนวน 23,802 ล.บ. 13. โครงการฯ ทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ จำนวน 29, ล.บ. อยู่ระหว่างการนำเสนอ ครม./คกก.PPP พิจารณา หรือ อยู่ระหว่างการศึกษา จัดเตรียม และเจรจา มติ ครม. 7 พ.ค. 58 26 พ.ค. 58 23 มิ.ย. 58 14 ก.ค. 58 22 ก.ย. 58 29 มี.ค. 59 19 เม.ย. 59 26 เม.ย. 59 26 ก.ค. 59 27 ก.ย. 59 2. โครงการพัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง A ที่ท่าเรือแหลมฉบัง จำนวน 1, ล.บ. 11. โครงการฯ ทางคู่ ช่วงประจวบคีรีขันธ์ – ชุมพร จำนวน 17, ล.บ. 14. โครงการฯ ทางคู่ ช่วงนครปฐม – หัวหิน (มติ ครม. 1 พ.ย. 59) 15. โครงการฯ ทางคู่ ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ (มติ ครม. 1 พ.ย. 59) 16. สายสีม่วง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ (งานโยธา) 17. โครงการฯ ช่วงกรุงเทพฯ – หัวหิน 18. โครงการฯ ช่วงกรุงเทพฯ – ระยอง 19. โครงการฯ ไทย – จีน (ช่วงกรุงเทพฯ-โคราช) 20. โครงการฯ ไทย – ญี่ปุ่น (ช่วงกรุงเทพฯ-พิษณุโลก) 7. โครงการพัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ ที่ท่าเรือแหลมฉบัง (ระยะที่ 1) จำนวน 1, ล.บ. 10. สายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ – มีนบุรี (งานโยธา) จำนวน 114, ล.บ. 8. สายสีชมพู ช่วงแคราย – มีนบุรี จำนวน 53, ล.บ. 9. สายเหลือง ช่วงลาดพร้าว – สำโรง จำนวน 51, ล.บ. 18 ที่มา : กระทรวงคมนาคม ณ วันที่ 12 ธ.ค. 2559
19
โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด และแผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ (Action Plan) จำนวน 43 โครงการ ร้อยละ 9.45 ทางหลวงพิเศษ และทางพิเศษ 5 เส้นทาง 167, ลบ. ทล.พิเศษฯ สายนครปฐม-ชะอำ , ล.บ. ทล.พิเศษฯ สายหาดใหญ่-ชายแดนไทย/มาเลเซีย 30, ล.บ. ทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง , ล.บ. วงแหวนรอบนอก กทม. ด้านตะวันตก 4. ทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 และ , ล.บ. E-W Corridor 5. โครงการทางพิเศษ สายกระทู้-ป่าตอง 10, ล.บ. รถไฟทางคู่ 12 เส้นทาง 453, ลบ. ช่วงนครปฐม – หัวหิน , ล.บ.*/** ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ , ล.บ.*/** ช่วงหัวหิน – ประจวบคีรีขันธ์ , ล.บ.** ช่วงชุมพร – สุราษฎร์ธานี , ล.บ. ช่วงสุราษฎร์ธานี – สงขลา , ล.บ. ช่วงหาดใหญ่ – ปาดังเบซาร์ , ล.บ. ช่วงปากน้ำโพ – เด่นชัย , ล.บ. ช่วงเด่นชัย – เชียงใหม่ , ล.บ. ช่วงเด่นชัย – เชียงราย-เชียงของ , ล.บ. ช่วงขอนแก่น – หนองคาย , ล.บ. ช่วงชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี , ล.บ. ช่วงบ้านไผ่ – นครพนม , ล.บ. ร้อยละ 25.62 43 โครงการ 1,769, ล้านบาท สิ่งอำนวยความสะดวกทางถนน 5 โครงการ 21, ลบ. พัฒนาจุดพักรถบรรทุกตามเส้นทางหลัก ล.บ. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ 2, ล.บ. ศูนย์การขนส่งชายแดน จ.นครพนม , ล.บ. พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค , ล.บ. (ชายแดน 9 จังหวัด) พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค , ล.บ. (เมืองหลัก 8 จังหวัด) ร้อยละ 39.62 ร้อยละ 19.74 รถไฟชานเมือง 2 เส้นทาง 26, ลบ. สายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มธ. รังสิต , ล.บ. สายสีแดงอ่อน ส่วนต่อขยาย ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช 19, ล.บ. และตลิ่งชัน-ศาลายา *โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด จำนวน 7 โครงการ วงเงินลงทุน 874, ล้านบาท รถโดยสารสาธารณะ 1 โครงการ 2, ลบ. จัดซื้อรถโดยสารรถไฟฟ้า จำนวน 200 คัน , ล.บ. พร้อมก่อสร้างสถานีประจุไฟฟ้า รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 7 เส้นทาง 349, ลบ. สายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (งานโยธา) 128, ล.บ.* สายสีน้ำเงิน บางแค-พุทธมณฑลสาย , ล.บ. สายสีส้ม ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรมฯ , ล.บ. สายสีเขียวเข้ม สมุทรปราการ-บางปู , ล.บ. สายสีเขียวเข้ม คูคต-ลำลูกกา , ล.บ. ระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อม ทสภ , ล.บ. ส่วนต่อขยาย (ช่วงดอนเมือง-บางซื่อ-พญาไท) ARL ระบบขนส่งมวลชน จังหวัดภูเก็ต , ล.บ. ระบบบริหารจัดการการขนส่งสาธารณะ 1 โครงการ 1, ลบ. การบริหารจัดการระบบตั๋วร่วม , ล.บ. ทางน้ำ 3 โครงการ 36, ลบ. การเดินเรือ Ferry เชื่อมอ่าวไทยตอนบน ล.บ. การพัฒนาท่าเรือเฟอร์รี่เชื่อมอ่าวไทยตอนบน ล.บ. ท่าเรือแหลมฉบัง ขั้นที่ , ล.บ. แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ (Action Plan) จำนวน 36 โครงการ วงเงินลงทุน 895, ล้านบาท รถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง 701, ลบ. โครงการฯ ช่วงกรุงเทพฯ – หัวหิน , ล.บ.* โครงการฯ ช่วงกรุงเทพฯ – ระยอง , ล.บ.* โครงการฯ ไทย – จีน (ช่วงกรุงเทพฯ-โคราช) , ล.บ.* โครงการฯ ไทย – ญี่ปุ่น (ช่วงกรุงเทพฯ-พิษณุโลก) 224, ล.บ.* ทางอากาศ 3 โครงการ 10, ลบ. การพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาค , ล.บ. ปรับปรุงระบบลำเลียงกระเป๋าสัมภาระ ทสภ , ล.บ. MRO ณ ท่าอากาศยานอู่ตะเภา ล.บ. หมายเหตุ ** ครม. อนุมัติแล้ว 19
20
แหล่งเงินลงทุนโครงการของ แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ. ศ
แหล่งเงินลงทุนโครงการของ แผนปฏิบัติการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ (Action Plan) โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด จำนวน 7 โครงการ วงเงินลงทุน 874, ล้านบาท และ แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่ง พ.ศ (Action Plan) จำนวน 36 โครงการ วงเงินลงทุน 897, ล้านบาท รวม 43 โครงการ 1,769, ล้านบาท แผนการเบิกจ่ายปีงบประมาณ 2560 ของโครงการลงทุนที่สำคัญ 149, ล้านบาท เงินกองทุน TFF จำนวน 44, ล.บ. ร้อยละ 2.53 เงินรายได้ จำนวน 3, ล.บ. ร้อยละ 0.19 งบประมาณ จำนวน 107, ล.บ. ร้อยละ 6.08 แผนปฏิบัติการฯ พ.ศ จำนวน 13 โครงการ 73, ล.บ. 1. PPP จำนวน 461, ล.บ. ร้อยละ 26.06 โครงการที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเพื่อประโยชน์สูงสุด จำนวน 7 โครงการ 68, ล.บ. 2. แผนบริหารหนี้ฯ จำนวน 1,152, ล.บ. ร้อยละ 65.14 3. แผนปฏิบัติการฯ พ.ศ จำนวน 36 โครงการ 7, ล.บ. 20
21
ขอขอบคุณ กระทรวงคมนาคม 18
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.