งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคไข้เลือดออกเขต 12.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคไข้เลือดออกเขต 12."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคไข้เลือดออกเขต 12

2 แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขต 12 พ.ศ.2530 – 2559
แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขต 12 พ.ศ.2530 – 2559 ป่วย 12,870 ราย ตาย 24 ราย แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา 13 ม.ค. 60

3 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
1 ตุลาคม 2559 – 13 มกราคม 2560 (ปีงบฯ 60) พื้นที่ ป่วย ตาย อัตราป่วย (ต่อแสน ปชก.) อัตราตาย (ต่อแสน ปชก.) อัตราป่วยตาย (ร้อยละ) ลำดับประเทศ ประเทศ 15,400 19 23.54 0.03 0.12 ภาคใต้ 7,949 13 85.94 0.14 0.16 1 เขต 12 6,580 135.23 0.27 0.20 ปัตตานี 1,447 209.68 0.00 สงขลา 2,871 6 204.21 0.43 0.21 2 พัทลุง 705 135.17 0.19 3 นราธิวาส 915 117.47 0.26 0.22 4 ยะลา 446 86.60 0.39 0.45 5 ตรัง 141 22.04 0.71 15 สตูล 55 17.50 0.32 1.82 21

4 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกพื้นที่เขต 12 พ. ศ
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกพื้นที่เขต 12 พ.ศ เปรียบเทียบ Median FY 55-59 อัตรา : แสนประชากร แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา 13 ม.ค. 60

5 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก รายจังหวัด 1 ตุลาคม 2559 – 13 มกราคม 2560
รายจังหวัด 1 ตุลาคม 2559 – 13 มกราคม 2560 (ปีงบฯ 60)

6

7 10 อำเภอ FOCUS (ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 ถึงวันที่ 13 มกราคม 2560)
อัตราป่วยสูงสุด (ทั้งปี) จำนวนป่วยสูงสุด รวมทั้งปี 3 สัปดาห์หลังสุด อำเภอ อัตราป่วย จำนวนป่วย 1 มายอ 378.01 หาดใหญ่ 818 119 2 คลองหอยโข่ง 376.11 เมืองสงขลา 495 40 3 จะนะ 329.29 343 เมืองนราธิวาส 38 4 โคกโพธิ์ 324.66 ยะหริ่ง 243 31 5 303.07 ยะรัง 235 เมืองพัทลุง 30 6 287.05 สะเดา 228 ระแงะ 24 7 ยี่งอ 286.59 225 20 8 นาหม่อม 265.26 220 9 260.76 217 17 10 กงหรา 253.96 196 สิงหนคร

8 หมู่บ้านที่เกิด ผู้ป่วย 2nd Generation *
หมู่บ้านที่เกิด 2nd Generation และ หมู่บ้านที่มีแนวโน้มที่จะเกิด 2nd Generation 7 สัปดาห์ล่าสุด (Week 47/2559 – 1/2560) จังหวัด หมู่บ้านที่เกิด ผู้ป่วย 2nd Generation * หมู่บ้านที่มีแนวโน้มที่จะควบคุมโรคไม่ได้ ** รวม สงขลา 53 8 61 ปัตตานี 18 13 31 พัทลุง 11 6 17 นราธิวาส 12 5 ยะลา 2 ตรัง สตูล 96 32 128 * หมู่บ้านที่เกิด ผู้ป่วย 2nd Generation ไม่สามารถควบคุมไข้เลือดออกให้สงบได้ภายใน 28 วัน ** หมู่บ้านที่มีแนวโน้มที่จะควบคุมโรคไม่ได้ โดยพบผู้ป่วยใหม่ในสัปดาห์ที่ 5 หรือสัปดาห์อื่นๆ เป็นต้นไปในหมู่บ้าน/ชุมชนเดียวกัน

9 จำนวนหมู่บ้าน /ชุมชน ที่พบ Index Case
จังหวัด สัปดาห์ที่ 51 สัปดาห์ที่ 52 สัปดาห์ที่ 1/60 รวม สงขลา 64 45 - 109 ปัตตานี 31 21 11 63 พัทลุง 29 26 76 นราธิวาส 25 22 73 ยะลา 9 1 39 ตรัง 4 สตูล 175 129 60 364

10 ข้อเสนอแนะ จังหวัดระบาดมาก ควรเปิด EOC ระดับจังหวัดและ อำเภอ เพื่อสั่งการ ติดตาม ควบคุมกำกับ บริหารจัดการ สนับสนุน และเร่งรัด การดำเนินงานควบคุมโรคในระดับพื้นที่ ให้ดำเนินการอย่างถูกต้อง ครอบคลุม และ ทันเวลา ควรเฝ้าระวังการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ที่มี น้ำท่วมขัง และมีการเปิด ศูนย์พักพิงชั่วคราว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วหลังน้ำลด 14 วัน หลังจากมีการปิด ศูนย์พักพิงชั่วคราว ควรประสานงานให้ อปท. เร่งดำเนินการ Big Cleaning กำจัดขยะ ซึ่งสามารถป้องกันทั้งโรคไข้เลือดออก และโรคอื่นๆ KPI อำเภอ 1 อัตราป่วย ต้องไม่ติด 1 ใน 5 2จำนวนผู้ป่วยไม่เกินกว่า ปี 56 3 ไม่เกิด 2gen HI CI ไม่เกินเกณฑ์ ประเมินการควบคุม


ดาวน์โหลด ppt โรคไข้เลือดออกเขต 12.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google