ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAri-Matti Markus Hukkanen ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
Advanced Topics on Total Quality Management
เพื่อนำเสนอในงาน The 11th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand 13:30-14:15 น. วันพุธที่ 26 พฤษภาคม 2553 โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค ถ.ราชปรารภ กรุงเทพฯ โดย ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล บริษัท ทีคิวเอ็มเบสท์ จำกัด โทรศัพท์ ~3, 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
2
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
หัวข้อสนทนา ทบทวน TQM ขั้นพื้นฐาน (Kano’s Model, Veerapot’s Definition) วิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงคุณภาพ ระหว่าง ISO, TQA, TQM Respect Humanity มีความหมายว่าอย่างไร Process Orientation Concept ก็คือ อริยสัจสี่ TQM สอน Why อย่างไร ประโยชน์ที่แท้จริงของ TQM มี 5 ระดับ เครื่องมือคุณภาพเพิ่มความสามารถในการบริหารได้อย่างไร การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูงมีความสำคัญอย่างไร คุณภาพ ตรงกันข้ามกับ มาตรฐาน โลกทัศน์ใหม่ในการบริหาร 12 ข้อตามหลักการของ TQM 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
3
ทบทวน TQM ขั้นพื้นฐาน (Kano’s Model)
Customer Satisfaction Company Goals and Strategies Concepts Vehicles Techniques Market-In Next Processes are Customer Process Orientation Standardization Prevention P-D-C-A Management by Fact Policy Management Cross-Functional Management Daily Management Bottom-Up Activities (QCC, 5-S, Kaizen) The 7 QC Tools The 7 New QC Tools Statistical Techniques Numerical Analysis Motivational Approaches Intrinsic Technology 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
4
ทบทวน TQM ขั้นพื้นฐาน (My Definition)
TQM คือ การปรับปรุงกระบวนการและวิธีปฏิบัติงานทั้งระบบ ผ่านวงจรแห่ง การเรียนรู้ หรือ PDCA อย่างต่อเนื่อง โดยพนักงานทั่วทั้งองค์กร เพื่อทำให้สินค้าและบริการมีสภาพที่เป็นคุณหรือมีคุณค่าต่อผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
5
วิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงคุณภาพ ระหว่าง ISO, TQA, TQM
16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
6
วิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงคุณภาพ ระหว่าง ISO, TQA, TQM
16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
7
วิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงคุณภาพ ระหว่าง ISO, TQA, TQM
16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
8
Respect Humanity มีความหมายว่าอย่างไร
1) การเคารพในความเป็นอิสระชน และ อนุญาตให้เขาทำงานอย่างเป็นอิสระ ด้วยความคิดริเริ่มของเขาเอง การคอยแต่ทำตามคำสั่งและคำชี้แนะจากเบื้องบน ย่อมไม่ต่างจากการทำงานของเครื่องจักร ซึ่งมิใช่วิสัยของมนุษย์ 2) ส่งเสริมให้คนมีความสามารถในการคิดและฝึกฝนการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการทำงานของเขา ถ้าคนใช้สมองอยู่ตลอดเวลาในขณะทำงาน เขาจะคิดหาหนทางปรับปรุงงานของเขา พร้อมกับพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของเขาเด้วย จุดมุ่งหมายที่สำคัญประการหนึ่งของ TQM ก็คือ มุ่งสร้างระบบบริหารที่ช่วยให้ทุกๆคนสามารถทำงานได้อย่างมีคุณภาพ และ แสดงออกซึ่งคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ของพวกเขาตลอดเวลา From : Hitoshi KUME, TQM Promotion Guide Book, Japanese Standards Association, 1996. 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
9
แทนที่ แรงจูงใจภายนอก (ผล) ด้วย แรงจูงใจภายใน (เหตุ)
แทนที่ แรงจูงใจภายนอก (ผล) ด้วย แรงจูงใจภายใน (เหตุ) แรงจูงใจภายใน (ความอยากทำที่เกิดขึ้นภายในใจของตนเอง) ความนับถือตนเอง ความรักในสิ่งที่จะทำ ความภูมิใจในฝีมือของตนเอง ความเป็นมืออาชีพ ความสนุกสนานในการทำ การเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ความเมตตา กรุณา ต่อผู้อื่น ฯลฯ แรงจูงใจภายนอก (ความจำใจต้องทำที่เกิดจากแรงกดดันจากภายนอก อาทิ) กลัวถูกตำหนิ กลัวแพ้ อยากได้ชัยชนะเหนือผู้อื่น อยากได้รับคำชมเชยจากหัวหน้า อยากได้รับการประเมินผลดีกว่าผู้อื่น อยากได้เงินเดือน-โบนัส มากๆ อยากได้รางวัล ฯลฯ 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
10
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
แรงจูงใจภายนอก หนักขึ้นเท่าใด จะยิ่งกดทับให้ แรงจูงใจภายใน อ่อนแอลงเท่านั้น บริษัทที่ส่งเสริมแรงจูงใจภายใน QC Story, Kaizen, DM มีการทำงานเป็นทีม->Process มีภาวะผู้นำ->Diagnosis มีระบบบริหารแผนการปรับปรุงงาน บริษัทที่พึ่งพา ระบบการประเมินผลเพื่อจูงใจพนักงาน เช่น จัดลำดับความดีความชอบตาม KPI ประเมินผล-ประเมินพฤติกรรม ประเมินด้วยเกณฑ์ต่างๆ ฯลฯ พฤติกรรมของพนักงาน ใส่ใจต่อการปรับปรุงกระบวนการทำงานทั้งของตนเองและของผู้อื่น สนุกสนานเบิกบานใจตลอดเวลา ทำงานได้ทุกอย่างตามที่ผู้บริหารมอบหมาย ยินดีให้ความร่วมมือกับทุกคน พฤติกรรมของพนักงาน ใส่ใจแต่ประเด็นที่ตนเองจะถูกประเมิน ขยันเฉพาะเวลาที่หัวหน้ามองเห็น ปรับปรุงแต่เรื่องที่ทำให้ KPI ของตนเองสูงขึ้น ไม่ให้ความร่วมมือกับฝ่ายอื่น 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
11
Process Orientation Concept ก็คือ อริยสัจสี่
16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
12
TQM สอน Why อย่างไร (QC Story)
2.กำหนดดัชนีวัดและเป้าหมาย 3.สืบสภาพปัจจุบัน และ ทบทวนเป้าหมาย 1.หาหัวข้อ ที่จะปรับปรุง แผนภูมิควบคุม ใบรายการตรวจสอบ รายการ ความถี่ รวม ก ข ค ง จ ฉ 8.ระบุปัญหา ที่ยังหลงเหลือ หรือ หัวข้อ ปรับปรุงต่อไป ตารางกระจายเข็มมุ่ง TQM Living Handbook ภาคหก ระบบแห่งดัชนีวัดคุณภาพ ผังพาเรโต เป้าหมาย benchmark) การแบ่งกลุ่มข้อมูล ฮิสโตแกรม แผนภูมิควบคุม ผังพาเรโต ผังความสัมพันธ์ กราฟเส้น 4.วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 7.สร้างมาตรฐาน การปฏิบัติงานใหม่ สาเหตุ ปัญหา ตารางแมทริกซ์ ปัญหา\สาเหตุ A B C D E F ก ข ค ง จ ฉ ฝีกอบรม ป้าย/โปสเตอร์ วิธีการปฏิบัติงาน ผังก้างปลา 5.คิดค้นมาตรการแก้ปัญหาและวางแผนปฏิบัติการ 6.ดำเนินการตามแผนและตรวจสอบประสิทธิผล ไอเดีย เทคนิคบัตรความคิด ตารางแมทริกซ์ Action ใคร อะไร ที่ไหน อย่าไร เท่าใด เมื่อไร วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3 วิธีที่ 4 วิธีที่ 5 วิธีที่ 6 ก่อน แนวทาง เป้าหมาย หลัง ผังต้้นไม้ 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
13
TQM สอน Why อย่างไร (KAIZEN)
16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
14
ประโยชน์ที่แท้จริงของ TQM มี 5 ระดับ (จากน้อยไปมาก)
ลดปัญหาที่เกิดขึ้น/เพิ่มคุณภาพของงาน ได้ ด้วยข้อ 4 ข้อข้างล่าง ได้วิธีการปฏิบัติงานใหม่ที่เมื่อนำมาใช้แล้วสามารถป้องกันปัญหามิให้เกิดขึ้นได้ (QC Story ขั้นตอน 7 แก้ไข WP/WI/WS ในระบบ ISO9000) ได้ความรู้ใหม่ๆเกี่ยวกับวิธีการทำงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของพนักงาน ได้ฝึกฝนทักษะใน การคิด การวิเคราะห์ และการสื่อสาร อย่างมีเหตุมีผล สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาต่างๆในการดำรงชีวิตประจำวันและการทำงานในอนาคตได้ตลอดไป เปลี่ยนวิธีคิด/โลกทัศน์ ในการดำรงชีวิตและการทำงาน (ชีวิตคุณจะเปลี่ยนไปตลอดกาล) 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
15
เครื่องมือคุณภาพเพิ่มความสามารถในการบริหารได้อย่างไร
5 W H QBP Quality Business Process กระบวนการปฏิบัติงาน Company / Business Process Key Quality Indicators KQI Competitive Benchmarking Customer Needs and Requirements Research Result KQI BP-KQI QDM Quality Deployment Matrix Cross Functional Management VOC Voice of Customer HOQ House of Quality BP-KQI WP-kQI Cross Functional (Process) Management ส่งมอบทันเวลา เป็นความรับผิดชอบของใคร? สินค้าขายได้ (มีคุณภาพ) เป็นความรับผิดชอบของใคร? 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
16
เครื่องมือคุณภาพเพิ่มความสามารถในการบริหารได้อย่างไร
Cross Functional Management Daily Management 5 W H QBP Quality Business Process กระบวนการปฏิบัติงาน Daily (Work Process) Management BP-KQI QDM Quality Deployment Matrix kQI QWA Quality Work Assignment QWP #1 QWP #2 QWP #3 5 W 2H กระบวนการปฏิบัติงาน QWI QWI Quality Work Instruction ABC 1…… 2…… QWP Quality Work Procedure QPM Top Management Diagnosis QWForm ABC csn ad tel fax Quality Planning Matrix SQA Statistical Quality Analysis kQI 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
17
เครื่องมือคุณภาพเพิ่มความสามารถในการบริหารได้อย่างไร
Cross Functional Management Daily Management 5 W H QBP Quality Business Process กระบวนการปฏิบัติงาน Company / Business Process Key Quality Indicators KQI Competitive Benchmarking Customer Needs and Requirements Research Result KQI BP-KQI QDM Quality Deployment Matrix VOC Voice of Customer HOQ House of Quality BP-KQI WP-kQI kQI QWA Quality Work Assignment QWP #1 QWP #2 QWP #3 5 W 2H กระบวนการปฏิบัติงาน QWI QWI Quality Work Instruction ABC 1…… 2…… QWP Quality Work Procedure QPM Top Management Diagnosis QWForm ABC csn ad tel fax Quality Planning Matrix SQA Statistical Quality Analysis kQI 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล C:\1\dam\writing\book\tqm51\fig_h.ppt
18
การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง มีความสำคัญอย่างไร
การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) หมายถึง การตรวจสอบอาการของปัญหาและสืบค้นหาสาเหตุของปัญหาพร้อมทั้งให้คำแนะนำวิธีการป้องกัน/แก้ไขปัญหา ดังเช่น แพทย์ตรวจวินิจฉัยเพื่อรักษาโรคให้ผู้ป่วย การตรวจติดตาม (Audit) หมายถึง การติดตามไปตรวจดูว่าได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ การตรวจประเมิน (Assessment) หมายถึง การตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดมูลค่าของสิ่งที่เป็นเป้าหมายของการตรวจประเมินนั้น การตรวจสอบ (Check) และ การตรวจตรา (Inspection) หมายถึง การตรวจดูผลสัมฤทธิ์ (results) ของการทำงานว่าบรรลุเป้าหมายหรืออยู่ในขอบเขตค่ามาตรฐานที่ต้องการหรือไม่ การสอบ (Examination) หมายถึง การทดสอบเพื่อวัดผลของการทำงาน (หรือผลของการเรียนรู้) ว่ามีระดับสูงต่ำหรือมีค่ามากน้อยเพียงไร Why What ทั้งหมดนี้ ล้วนเป็น Final Inspection ไม่ใช่ Process Orientation How much 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
19
การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง มีความสำคัญอย่างไร
เป็นการฝึกอบรมแบบ On the Job ที่มีประสิทธิผลสูงมาก เพื่อ 1) พัฒนาผู้บริหารระดับกลาง-ต้น-ผู้ปฏิบัติงานใน 4 มิติต่อไปนี้ บ่มเพาะ แนวคิดหรือค่านิยมของทีคิวเอ็ม ให้เป็นเรื่องที่ปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวัน และฝังรากลึกจนกลายเป็น วัฒนธรรมองค์กรที่มีคุณภาพ ให้คำแนะนำ วิธีการวิเคราะห์และการใช้เครื่องมือคุณภาพของทีคิวเอ็ม ในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงคุณภาพงาน เพิ่มเติม ความรู้ทางวิชาการและการรับรู้สารสนเทศ เกี่ยวกับงานที่หน่วยปฏิบัติงานนั้นรับผิดชอบ แนะนำ เทคนิควิธีการนำเสนอ-ถ่ายทอดความคิด-สื่อสาร เพื่อให้บรรลุผลในการปรับปรุงคุณภาพงานตามเข็มมุ่งของหน่วยงานนั้นๆได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ฝึกฝนผู้บริหารระดับสูงเอง ให้มีทักษะในการเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม การวิเคราะห์และบริหารด้วยข้อมูลจริง การสอนงาน และ การสื่อสาร 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
20
การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง มีความสำคัญอย่างไร
การสร้างคนที่มีคุณค่า โดยผ่าน~และเพื่อ~ การปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการปฏิบัติงาน คือ ต้นธารของการเจริญเติบโตอย่างไม่รู้จบขององค์กร ระบบบริหารแบบทีคิวเอ็มในบริษัทของท่าน จะเดินหน้าไปได้เร็วและไปได้ไกลแค่ไหน ขึ้นอยู่กับ คุณภาพและความขยันในการตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
21
การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง มีความสำคัญอย่างไร
Non-TQM companies ประสิทธิผลของการประชุม < 20% TQM companies ประสิทธิผลของการประชุม > 100% % ของเวลาทำงานทั้งหมดโดยประมาณ Diagnosis/ประชุมตามปกติ % ของเวลาทำงานทั้งหมดโดยประมาณ ผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต้น ประชุมตามปกติ 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
22
การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง มีความสำคัญอย่างไร
การตรวจวินิจฉัย (คุณภาพของ QC Story) โดยผู้บริหารระดับสูง การตรวจวินิจฉัย (คุณภาพของกระบวนการปฏิบัติงาน) โดยผู้บริหารระดับสูง โปรดอ่านเพิ่มเติมใน 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
23
คุณภาพ ตรงกันข้ามกับ มาตรฐาน
คุณภาพ คือ สภาพที่เป็นคุณ (ดี) ต่อผู้ใช้ มาตรฐาน คือ ฐานของมาตร (ข้อตกลงขั้นต่ำสุดที่จะยอมรับได้) จำนวนคน ไม่ผ่าน ทดลองงาน คุณภาพดี คุณภาพ เกิดจาก กระบวนการ เป็นไปตามกฎเกณฑ์ทางธรรมะชาติ มาตรฐาน เกิดจาก สมมติของมนุษย์ เป็นสิ่งที่ไร้สาระเหมือนสมมติอื่นๆของมนุษย์ 60 90 100 คะแนนระดับคุณภาพของพนักงานใหม่ Variation ของผลการทำงานเกิดขึ้นเสมอและเป็นเรื่องของธรรมะชาติ (Zero) Defects เป็นสิ่ง สมมติของมนุษย์ เป็นเรื่อง ไร้สาระ คุณภาพ เป็น จุดมุ่งหมาย ของการทำงาน มาตรฐาน เป็น เครื่องมือ ในการทำงาน 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
24
โลกทัศน์ใหม่ในการบริหาร 12 ข้อตามหลักการของ TQM
แบบปัจจุบัน (MBA) ตามทฤษฎีใหม่ (TQM) ยืนอยู่บนตรรกะอย่างง่ายๆ ในทำนองเดียวกันกับที่คนสมัยโบราณเชื่อว่า โลกแบน เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ดวงอาทิตย์หมุนรอบโลก ตามการมองเห็นด้วยตาเปล่าที่ระยะของการมองเห็นจำกัด โดยปราศจากความรู้ที่ลึกซึ้ง ยืนอยู่บนหลักการทางวิทยาศาสตร์และหลักอริยะสัจจ์ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ Statistical Process Control ของ เดมิ่ง ผสมผสานกับ หลักแห่งสังคมมนุษยธรรมตามอารยะธรรมตะวันออก (เช่น ญี่ปุ่น) วัตถุประสงค์ของการทำธุรกิจคือแสวงหากำไร วัตถุประสงค์ของการทำธุรกิจคือสร้างคุณค่าให้แก่มนุษยชาติ (ลูกค้า ตลาด และ สังคม) ด้วยการผลิตสินค้าหรือบริการที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย์ กำไรมาจากยอดขายลบด้วยต้นทุน กำไรมาจากคุณค่าที่บริษัทสร้างขึ้นและส่งมอบให้แก่ลูกค้า นิยามของคุณภาพคือทำได้ตามมาตรฐานหรือข้อกำหนดของลูกค้า นิยามของคุณภาพคือสภาพที่เป็นคุณต่อผู้ใช้สินค้าซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามลูกค้าแต่ละราย ตามเวลา ตามมุมมองจากอนาคต ไม่เกี่ยวกับมาตรฐานที่กำหนด มาตรฐานคือเป้าหมายของการทำงานที่ต้องบรรลุ มาตรฐานมิใช่เป้าหมายหากแต่เป็นเครื่องมือในการทำงาน มาตรฐานสูงคุณภาพก็จะสูงตามไปด้วย คุณภาพคือเรื่องที่ตรงกันข้ามกับมาตรฐาน ผลประกอบการที่ดี เกิดจากการบริหารโดยวัตถุประสงค์ หรือ การบริหารโดยตั้งเป้าหมายให้สูงๆ โดยเฉพาะเป้าหมายทางการเงินที่เป็นตัวเลขล้วนๆ (Management By Objectives, or By Results & KPIs, Balanced Scorecard) ผลประกอบการที่ดี เกิดจาก การบริหารกระบวนการ (วิธีการปฏิบัติงานที่ต่อเชื่อมโยงกันทั้งระบบ) อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ต้องใช้ ความรู้ ภาวะผู้นำ และทีมงาน 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
25
โลกทัศน์ใหม่ในการบริหาร 12 ข้อตามหลักการของ TQM
แบบปัจจุบัน (MBA) ตามทฤษฎีใหม่ (TQM) ประกันคุณภาพของสินค้าโดยการพึ่งพาการตรวจสอบในขั้นสุดท้าย ประกันคุณภาพของสินค้าโดยการปรับปรุงกระบวนการทำงานให้ถูกต้องตั้งแต่แรกด้วยหลักการ Statistical Quality Control ของเดมิ่ง (หรือ Six Sigma) พึ่งพาการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี (บริหารอดีต) ทำนองเดียวกับ พึ่งพาการตรวจสอบในขั้นสุดท้าย ยกเลิกการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี ใช้ระบบบริหารแผนปรับปรุงงาน (บริหารอนาคต) ที่ต้องใช้ ความรู้ ภาวะผู้นำ และทีมงาน ใช้เกณฑ์/หัวข้อ/แบบฟอร์มประเมินผลการปฏิบัติงาน เหมือนๆกันสำหรับพนักงานหลายคน แล้วตีค่าของผลการปฏิบัติงานออกมาเป็นคะแนน (ตามอัตตาที่ลางเลือนของหัวหน้า และหาความหมายของคะแนนไม่ได้) ใช้เกณฑ์/หัวข้อ/แบบฟอร์มประเมินคุณค่าของงาน ที่จำเพาะเจาะจงตามหน้าที่ ความรับผิดชอบ และ แผนปรับปรุงงานของพนักงานแต่ละคน (แต่ละคนไม่เหมือนกัน) ตามคุณประโยชน์ ที่มีต่อเพื่อนร่วมงานที่อยู่ในกระบวนงานถัดไป ต่อลูกค้า และต่อบริษัท ใช้ระบบบังคับให้พนักงาน แข่งขันซึ่งกันและกัน (Forced Ranking) หรือ ระบบการจัดลำดับความดีความชอบ (Merit Rating) ยกเลิกการจัดลำดับความดีความชอบ ใช้ระบบบริหารค่าตอบแทนโดยอิงตามคุณค่างานของแต่ละคน ที่จูงใจให้พนักงานแข่งขันกับตนเอง แทนที่ แข่งขันกับเพื่อนร่วมงาน 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
26
โลกทัศน์ใหม่ในการบริหาร 12 ข้อตามหลักการของ TQM
แบบปัจจุบัน (MBA) ตามทฤษฎีใหม่ (TQM) เน้นใช้ แรงจูงใจภายนอก (อาทิ อัตราการขึ้นเงินเดือน เลื่อนตำแหน่ง โบนัส รางวัล การชนะผู้อื่น ฯลฯ) เป็นกลไกผลักดันให้พนักงานขยัน/ตั้งหน้าตั้งตาทำงาน ใช้ แรงจูงใจภายใน ที่มีอยู่ตามธรรมชาติของมนุษย์ เป็นแรงผลักดันให้พนักงานเกิดความรู้สึกอยากทำงานด้วยความสนุกสนานและความท้าทายของตนเอง ค่าจ้างของพนักงานถือเป็นต้นทุน (ตามหลักการบัญชี) บริษัทจะได้กำไรเพิ่มขึ้นหากจ่ายค่าตอบแทนพนักงานน้อยลง (กำไร=ยอดขาย-ค่าตอบแทนพนักงาน-ต้นทุนและค่าใช้จ่ายอื่นๆ) ค่าจ้างของพนักงานถือเป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าเพิ่มที่บริษัทสร้างขึ้นได้ (มูลค่าเพิ่ม=เงินเดือน+ภาษี+ปันผลและสำรอง) บริษัทจะได้กำไรเพิ่มขึ้นหากจ่ายค่าตอบแทนพนักงานสูงขึ้น พนักงานเป็นผู้รับจ้างชั่วคราว บริษัทซื้อ เวลา แรงงาน และความรู้ความสามารถของพนักงาน โดยแลกเปลี่ยนกับค่าจ้างและผลตอบแทนต่างๆ ในเวลาที่บริษัทต้องการ พนักงานเป็นหุ้นส่วนในความสำเร็จระยะยาวของบริษัท กล่าวคือ ใช้ระบบการจ้างงานตลอดชีพ พนักงานเติบโต (ทั้งความรู้ความสามารถและรายได้) ไปพร้อมกับบริษัท จัดหา/จัดซื้อจากผู้ส่งมอบหลายๆราย โดยใช้ราคาเป็นเกณฑ์ตัดสิน จัดหา/จัดซื้อจากผู้ส่งมอบเพียงรายเดียว มุ่งสร้างสัมพันธภาพและความร่วมมือในระยะยาวที่จะปรับปรุงกระบวนการทำงานร่วมกัน โดยมีเป้าหมายที่จะลดต้นทุนรวม (ราคา, ค่าดำเนินการ, ค่านำไปใช้, ฯลฯ) คู่แข่งคือผู้ที่เราจะต้องเอาชนะให้ได้ ต้องทำให้เขาพ่ายแพ้ หรือ ล้มลงให้ได้ คู่แข่งเป็นศัตรูของเรา การเพิ่มส่วนแบ่งตลาดของเขา ทำให้ส่วนแบ่งตลาดของเราลดลง คู่แข่งคือผู้ร่วมงานของเราในธุรกิจเดียวกัน ต้องหาโอกาสที่จะทำงานร่วมกันกับคู่แข่ง อาทิ วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าให้มีคุณประโยชน์มากขึ้น ลดต้นทุน พัฒนาบุคลากร สั่งซื้อวัตถุดิบ กระจายสินค้า 16 มกราคม 2562 ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.