ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCollin Caldwell ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ
เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ
2
สภาพปัญหาปัจจุบัน : รพ.พุทธชินราช แม่ข่าย รพ.มน.
ด้านภาระงาน รับผิดชอบให้บริการผู้ป่วยทั้งใน เขต 2 และเขต 3 ในด้านการทำหัตถการตรวจสวนหัวใจและการผ่าตัดเปิดหัวใจ รพ.อุตรดิตถ์ รพ.เพชรบูรณ์ รพ.ตาก รพ.แม่สอด รพ.สุโขทัย รพ.ศรีสังวร รพ.พุทธชินราช แม่ข่าย รพ.มน. รพ.สวรรค์ประชารักษ์ รพ. พิจิตร รพท. อุทัยธานี รพท.ชัยนาท รพท. กำแพงเพชร
3
ตัวชี้วัด Service plan สาขาหัวใจ
อัตราตายใน รพ.ของผู้ป่วย STEMI อัตราการได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion) โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Streptokinase) หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Primary PCI) ระยะเวลาการรอคอยผ่าตัดเปิดหัวใจ ร้อยละของโรงพยาบาล A-F2 ที่มี warfarin clinic อัตราผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR<65% ร้อยละของโรงพยาบาล A-S ที่มี heart failure clinic
4
เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network)
5
การพัฒนาเครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
(STEMI network) รพ.สต. รพช. (M2-F2) รพศ. (A) 1.สามารถคัดกรองผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันและผู้ป่วยเจ็บหน้าอกจากภาวะอื่น ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 1.เหมือน รพ.สต. 1. สามารถตรวจ coronary angiogram และให้การรักษาด้วยการทำ PCI ได้ 2. สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นจากอาการและอาการแสดง เพื่อส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถให้การวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันจากอาการและคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้ 2. สามารถรักษาแบบ primary PCI ได้ตลอด 24 ชม. 3.สามารถให้ Aspirin ในภาวะที่สงสัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้ 3. มีระบบการปรึกษากับ รพ.แม่ข่าย ในรายที่สงสัยหรือการวินิจฉัยซับซ้อน 3. สามารถให้การรักษาด้วยการผ่าตัดทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ (CABG) ในกรณีฉุกเฉินได้ 4.สามารถให้ความรู้ประชาชน ในการดูแลตนเอง และการสังเกตอาการในผู้ป่วยกลุ่มเสียงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 4. สามารถให้การรักษาเบื้องต้นด้วย dual anti-platelet และ fibrinolytic therapy ได้อย่างเหมาะสม 5.มีระบบส่งต่อผู้ป่วยหลังจากให้การรักษาด้วย fibrinolytic therapy
6
STEMI Network การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย STEMI
พัฒนาโรงพยาบาล M2-F2 สามารถให้ละลายลิ่มเลือดได้ พัฒนาระบบการสื่อสารและระบบการส่งต่อการรักษา พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วย STEMI
7
ตัวชี้วัด : STEMI Network
อัตราการได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion) โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Streptokinase) หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Primary PCI) > 75 %
8
เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network)
ผลการดำเนินงาน เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network)
9
สรุปผลการพัฒนาการให้ยาละลายลิ่มเลือด (STEMI Network)
จังหวัด สถานการณ์ ปี 56 ปี 57 เป้าหมาย ปี 58 ปี 59 ปี 60 พิษณุโลก (9 ) 22.2% (2/9) 100% (9/9 ) (9/9) ติดตามและประเมินผลระบบทั้งเขตบริการสุขภาพ อุตรดิตถ์ 11.1% (1/9) 33.3 % (3/9) สุโขทัย (9) 33.3% 55.5% (5/9) ตาก (8) 50% (4/8) 75% (6/8) (8/8) เพชรบูรณ์ (10) (10/10) ภาพรวม 43.1% 93.48%
10
KPI : Reperfusion > 75%
11
KPI : อัตราตายใน STEMI < 10%
12
จำนวน STEMI ไตรมาสแรกปี 59
13
KPI STEMI ปี 59(ไตรมาสแรก)
14
KPI STEMI เขตสุขภาพที่ 2
15
เครือข่าย warfarin clinic (warfarin clinic network)
16
การพัฒนาระบบการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด (warfarin clinic)
รพ.สต. รพช. (M2-F2) รพศ. (A) 1.สามารถคัดกรองผู้ป่วยที่สมควรได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด 1.สามารถให้การรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดทั้งการให้ยา, การตรวจวัดค่าการแข็งตัวของเลือด 1.สามารถรักษาผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้อย่างเหมาะสม 2.มีระบบส่งต่อผู้ป่วยที่สมควรได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด 2 .มีระบบส่งต่อผู้ป่วยในรายที่ซับซ้อนหรือมีภาวะแทรกซ้อนได้อย่างเหมาะสม 2.สามารถให้การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านลิ่มเลือด ในกรณีที่ซับซ้อนได้ 3.สามารถให้คำแนะนำ การปฏิบัติตัวผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด 3.มีระบบส่งต่อข้อมูลระหว่างแม่ข่ายและลูกข่าย 4.สามารถให้การรักษาเบื้องต้นและส่งต่อผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านการแข็งตัวของเลือด
17
Warfarin clinic การพัฒนาระบบการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด
จัดตั้ง Warfarin clinic ในโรงพยาบาล M2-F2 กำหนดแนวทางการรักษา การส่งต่อข้อมูลในเครือข่าย พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยา Wafarin วางระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ได้รับยา Warfarin
18
ตัวชี้วัด (KPI) ร้อยละของ รพ. ระดับ A-F2 ที่มีวาร์ฟารินคลินิก = 100%
ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR > 65%
19
เครือข่าย warfarin clinic (warfarin clinic network)
ผลการดำเนินงาน เครือข่าย warfarin clinic (warfarin clinic network)
20
ภาพรวม warfarin clinic เขต 2 ภาพรวม warfarin clinic เขต 2
8/9 9/9 6/8 9/9 11/11 *ข้อมูล ก.พ.58
21
KPI: ผู้ป่วยที่ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR > 65% ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 2
22
เครือข่ายผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Open Heart Surgery Network)
23
Open Heart Surgery ตัวชี้วัด
ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (3-6เดือน) อัตราการส่งต่อไปผ่าตัดหัวใจแบบเปิดนอกพวงบริการลดลง
24
กราฟแสดงผลการดำเนินงาน Open Heart surgery
25
Open Heart Surgery ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดหัวใจจาก 1 ปีเป็น 6 เดือน
ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดหัวใจจาก 1 ปีเป็น 6 เดือน (202 ราย: CABG 102, Valve 68, อื่นๆ 32) อัตราการส่งต่อไปผ่าตัดหัวใจแบบเปิดนอกเขต ลดลง
26
แผนการดำเนินงานในช่วงปี 2561-2565
พิษณุโลก พัฒนาการตรวจสวนหัวใจที่ซับซ้อนรวมทั้งหัตถการในการรักษา Structural heart disease พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจให้สามารถทำ Primary PCI ได้ 24 ชั่วโมง พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจเพื่อรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ พัฒนาการผ่าตัดหัวใจเด็กเพื่อลดการส่งต่อออกนอกเขต พัฒนาระบบการดำเนินงาน Warfarin clinic ให้ครอบคลุมทั้งเขต และพัฒนาคุณภาพในการรักษา
27
แผนการดำเนินงานในช่วงปี 2561-2565
อุตรดิตถ์ พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจให้สามารถเป็นศูนย์รับการส่งต่อที่แห่งที่ 2 ของเขต พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจเพื่อรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ( RF ablation ) พัฒนาศักยภาพการผ่าตัดหัวใจ
28
แผนการดำเนินงานในช่วงปี 2561-2565
เพชรบูรณ์ พัฒนา รพช. ในโซนเหนือ ( รพ. หล่มสัก ) และโซนใต้ ( รพ. วิเชียรบุรี ) ให้เป็น node ที่สามารถให้การวินิจฉัยโรคหัวใจเบื้องต้นได้ด้วยการทำ echocardiography พัฒนาหน่วย CCU เพื่อรองรับผู้ป่วยโรคหัวใจที่ไม่สามารถส่งต่อได้ พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจวิกฤติ เช่น การใส่ IABP และ Temporary transvenous pacemaker พัฒนา Heart failure clinic พัฒนาศักยภาพของ รพช. ชุมชน ขนาดกลาง เช่น รพ.หนองไผ่ รพร. หล่มเก่า ให้สามารถดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีอาการวิกฤติได้
29
Thank you
30
พิษณุโลก
31
สุโขทัย
32
อุตรดิตถ์
33
ตาก
34
เพชรบูรณ์
35
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2559
ประชุมชี้แจงแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านโรคหัวใจปี 2559 โครงการพัฒนาการศักยภาพดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ พัฒนาการเข้าถึงการบริการ การตรวจสวนหัวใจ 3.1 เพิ่มห้องตรวจสวนหัวใจอีก 2 ห้อง - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ 1 ห้อง (ดำเนินการเสร็จสิ้นงบบริจาค) - โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก (กำลังดำเนินการ งบเงินบำรุง) 3.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำระบบ เครือข่าย Fast Track CAG ใช้แนวคิด LEAN
36
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2559
4. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Warfarin) - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการนำโปรแกรมวาร์ฟารินคลินิกเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในเขต 2 และการจัดการฐานข้อมูลในการรายงานตัวชี้วัดของผลการดำเนินงานวาร์ฟารินคลินิก 5. พัฒนาระบบการดุแลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (CHF) - จัดตั้ง Clinic heart failure ในโรงพยาบาลระดับ A,S ทุกแห่ง - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว 6. นิเทศและติดตามเยี่ยมเครือข่าย รพ.เขตสุขภาพที่ 2 ตามแนว Service plan
37
แผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ ปีงบประมาณ 2559
38
แผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบ 2559 สาขาโรคหัวใจ
งบประมาณ (บาท) โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ เขตสุขภาพที่ 2 86,400 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง 10,700 โครงการการดูแลและติดตามผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินใน รพ.เขตสุขภาพที่ 2 85,640 กิจกรรมนิเทศ รพ.ลูกข่าย ในเขตสุขภาพที่ 2 11,200 รวมงบประมาณ 193,940
39
ตัวชี้วัด Service plan สาขาหัวใจ
เป้าหมาย 1. อัตราตายใน รพ.ของผู้ป่วย STEMI < 10% 2. อัตราการได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion)ในผู้ป่วย STEMI โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Streptokinase) หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Primary PCI) > 75% 3. ร้อยละของรพ.ระดับ M2-F2 สามารถให้ละลายลิ่มเลือดได้ 100% 4. ระยะเวลารอคอยการตรวจสวนหัวใจ < 3 เดือน 5. ระยะรอคอยการผ่าตัดเปิดหัวใจ < 6 เดือน 6. ร้อยละของ รพ.ระดับ A-F2 มี Warfarin clinic 7. ผู้ป่วยที่ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR > 65% 8. ร้อยละของ รพ.ระดับ A-S มี heart failure clinic
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.