ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Vendor Managed Inventory
(VMI) By Chanida Kaewsansao Nalinee Tapthachang Panida Krowrum Sumintra Chaitar Sangdao Wongkaewmoon
2
What is Vendor Managed Inventory?
Vendor Managed Inventory – VMI Modern VMI enabled through EDI Wal-Mart’s EDLP initiative brought VMI resurgence into retail industry VMI programs have proliferated into various industries as : Quick Response ; QR Continuous Replenishment Planning ; CRP Every Day Low Price ; EDLP การบริหารสินค้าคงคลังโดยผู้ขาย (VMI) ในปัจจุบันใช้เทคโนโลยี EDI โดยมี วอลล์มาร์ท เป็นผู้ริเริ่มนำเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมค้าปลีก VMI Program ได้พัฒนา อย่างรวดเร็วในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น QR , CRP , EDLP
3
Vendor Managed Inventory คือ?
แนวคิดของ VMI เป็นแนวคิดหนึ่งในการบริหารสินค้าคงคลัง คือให้ผู้จัดจำหน่ายเป็นผู้บริหารสินค้าคงคลังแทนลูกค้า โดยที่ผู้ผลิตหรือ ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์จะเป็นผู้เข้ามาบริหารสต็อกในคลังสินค้า มีหน้าที่รับ ผิดชอบในการเติมสินค้าให้กับลูกค้า ในปัจจุบัน ระบบ VMI ได้นำมาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ที่สามารถตรวจนับด้วยบาร์โค้ดได้ คือเมื่อลูกค้าออกผลิตภัณฑ์ไป จะทำการสแกนบาร์โค้ดที่ติดอยู่กับผลิตภัณฑ์ ทำให้บริษัททราบถึงปริมาณผลิต ภัณฑ์ ที่ส่งออกไปและปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เหลืออยู่ในคลังสินค้า ซึ่งข้อมูลจะถูกส่งไปยังผู้ผลิต เมื่อผู้ผลิตทราบปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้ามี ก็สามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปวางแผนเพื่อทำการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้าต่อไป การให้ผู้ผลิตเป็นผู้ดำเนินการในการจัดเก็บและวางแผนในการส่งสินค้าทำให้ทราบยอดผลิตภัณฑ์คงเหลือของลูกค้า และเป็นผู้ตัด สินใจในการเติมผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า จะช่วยลดปัญหาการเก็บสะสมของสต็อกสินค้าทั้งในส่วนของผู้ผลิตและของผู้ค้าปลีกด้วย ที่มา: สำนักโลจิสติกส์ logistics.dpim.go.th
4
ประวัติของ Vendor Managed Inventory
บริษัท P&G(ProctorandGamble) ถือเป็นบริษัทแรกที่เริ่มมีการใช้การบริหารสินค้าคงคลังโดยผู้ขาย โดย P&G เริ่มใช้ในปีค.ศ.1985 โดยมุ่งใช้กับร้านค้าปลีกขนาดกลางที่ขายสินค้าอาหารและสินค้าอุปโภคบริโภคก่อนโดย P&G ได้ติดตั้งอุปกรณ์ที่ร้านเพื่อรับข้อมูลการขายผ่านทาง EDI และรับข้อมูลการสั่งซื้อสินค้าทุกวันทำให้ P&G รู้ปริมาณสินค้าคงเหลือในร้านค้าได้และรู้จำนวนข้อมูลของลูกค้าว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงแต่ก็ทำให้ P&G เสียค่าใช้จ่ายไปกับส่วนนี้ไปเป็นจำนวนมาก ต่อมาในปีค.ศ.1986 P&G ได้ทำข้อตกลงกับห้าง Wal–mart ซึ่งเป็น SuperStore ขนาดใหญ่และได้ทำกิจกรรมโดยเริ่มสินค้ากับประเภทผ้าอ้อมก่อนปีค.ศ.1988Wal–mart ได้เสนอโปรแกรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขายผ้าอ้อมให้ดียิ่งขึ้นไปอีกโดยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อและการจัดส่งให้น้อยที่สุดโดยมีข้อเสนอให้ P&G นำเสนอข้อมูลยอดขายจริงของร้านค้าที่ขายได้มาใช้ในการเติมเต็มสินค้าในร้านค้าให้เต็มและยังสามารถกระจายสินค้าไปส่งยังศูนย์กระจายสินค้าเพื่อจัดส่งไปยังร้านค้าปลีกได้อย่างพอเหมาะ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการลดจำนวนสินค้าคงคลังลงได้และยังทำให้การสั่งซื้อสินค้าสามารถทำได้รวดเร็วและสั้นลงอีกทั้งยังสามารถทำนายความต้องการของตลาดได้ด้วยโปรแกรมการค้าระหว่าง P&Gและ Wal–martประสบความสำเร็จอย่างมากในปีค.ศ.1990 โดย P&G ได้ขยายการใช้VMI ไปยังสินค้าทุกชนิดทำให้ปัจจุบันกิจกรรม VMI นั้นเป็นที่ยอมรับในหลายวงการและเป็นวิธีการตลาดอย่างหนึ่งของผู้ผลิตหลายราย ที่มา: ThailandIndustry.com
5
สาเหตุที่องค์กรธุรกิจหันมาใช้ระบบVMI
เนื่องจากธุรกิจค้าปลีกต้องบริหารให้มีสินค้าพร้อมที่จะขายเมื่อลูกค้าต้องการนั่นหมายถึงผู้ที่ทำการสั่งซื้อต้องมีความสามารถในการวางแผนการสั่งซื้อที่มีความแม่นยำสูงคือสั่งไปเท่าใดก็ได้ขณะเดียวกันผู้จัดจำหน่ายหรือผู้ผลิตก็ต้องการขายหรือส่งสินค้าตามจำนวนที่ได้รับคำสั่งซื้อโดยไม่มีสินค้าเหลือค้างในมือจนมากเกินไป ซึ่งในอดีตจากการทำงานแบบวิธีการที่ต่างคนต่างทำนี้จะเห็นได้ว่าผู้ค้าปลีกจะต้องประเมินการสั่งซื้อให้กับผู้จัดจำหน่ายจากยอดการเบิกของร้านค้าไปที่ศูนย์กระจายสินค้าเพื่อประเมินเป็นยอดสั่งซื้อกับผู้จัดจำหน่ายและต้องมีการสำรองสินค้าไว้ส่วนหนึ่งเพื่อกันความผิดพลาดส่วนผู้จัดจำหน่ายเองก็มีการสำรองสินค้าไว้อีกส่วนหนึ่งสำหรับบริการลูกค้าของตนและผู้ผลิตเองก็ต้องมีการสำรองสินค้าไว้ให้กับผู้จัดจำหน่ายเหมือนกัน ดังนั้นการคาดคะเนจากการสั่งสินค้าของทุกฝ่ายนั้นซึ่งจะใช้การประมาณการเป็นเกณฑ์แทนที่จะใช้ข้อมูลการขายและไม่มีการหารือระหว่างคู่ค้าทั้งในเรื่องการผลิตและการสำรองสินค้าซึ่งส่วนมากมักจะไม่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ปัจจัยเหล่านี้ได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอีกทั้งยังทำให้เกิดการบิดเบือนจากข้อเท็จจริงจนบางครั้งอาจจะทำให้เกิด BullWhip Effect ซึ่งมักจะเกิดกับร้านสั่งสินค้าแล้วไม่ได้ตามรอบที่สั่งทำให้มีการสั่งซ้ำเพราะกลัวจะไม่ได้สินค้านั้นอีกทำให้เกิดการสั่งซื้อมากเกินความเป็นจริงในทุกขั้นตอนจนส่งผลให้ทุกฝ่ายต้องแบกรับภาระสินค้าคงเหลือไว้มากมาย
6
รูปแบบจำลองการทำ VMI 1. DC (Distribution Center) ส่งข้อมูลการเบิกสินค้าของร้านและจำนวนสินค้าคงเหลือของDCของวันที่ผ่านมา 2. ผู้ผลิตทำใบเสนอให้สั่งสินค้ากลับมาที่ฝ่ายจัดซื้อของผู้ค้าปลีก 3. ฝ่ายจัดซื้อเห็นชอบและเปลี่ยนข้อมูลสินค้าที่ผู้ผลิตเสนอเป็นคำสั่งซื้อกลับไปที่ผู้ผลิต 4. ผู้ผลิตจัดส่งสินค้าให้กับDCของผู้ค้าปลีก
7
ประโยชน์ Vendor Managed Inventory
ประโยชน์หลักของระบบ VMI ลูกค้าจะมีผลิตภัณฑ์ป้อนเข้ามาอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยลดปัญหาการเก็บสะสมของสต็อกในคลังสินค้าทั้งในส่วนของผู้ผลิต รวมไปถึงศูนย์กระจายสินค้าของลูกค้าด้วย และสามารถลดจำนวนพนักงานลงได้ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตลดลง ถ้านำระบบ VMI ไปใช้ จะช่วยลดความผิดพลาดเกี่ยวกับข้อมูล เนื่องจากว่าระบบ VMI ใช้การสื่อสารแบบคอมพิวเตอร์ไปยังคอมพิวเตอร์รวมทั้งความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงขึ้น ประโยชน์ต่อผู้ค้าปลีก อัตราการเติมสินค้าจากผู้ผลิตไปยังศูนย์กระจายสินค้าสูงขึ้น จะช่วยลดในส่วนของการขาดแคลนสินค้าคงคลัง ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้าลดลง เนื่องจากความรับผิดชอบในการจัดการในการเติมสินค้าเป็นหน้าที่ของผู้ผลิต ระดับการให้บริการที่สูงขึ้นเกิดจากการที่ลูกค้าได้รับสินค้าในปริมาณที่ต้องการและในเวลาที่ต้องการ ประโยชน์ต่อผู้ผลิต - ข้อมูลที่ได้รับจากลูกค้าทำให้ง่ายต่อการพยากรณ์ความต้องการ สามารถทราบถึงความต้องการล่วงหน้าของลูกค้า ทำให้การวางแผนการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ความคลาดเคลื่อนของปริมาณสินค้าที่ส่งให้ลูกค้านั้นลดลง
8
Vendor Managed Inventory - VMI System
9
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
ข้อมูลเบื้องต้นของบริษัท TESCOLOTUSจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อปีพ.ศ.2537โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นในปัจจุบันกลุ่มเทสโก้อังกฤษจะถือหุ้นในสัดส่วนมากกว่า90%จากเดิมที่กลุ่มTESCOอังกฤษและเครือเจริญโภคภัณฑ์ถือหุ้นในสัดส่วนเท่ากันคือ50%ปัจจุบันTESCOLOTUSมีรูปแบบStoreทั้งหมด4รูปแบบคือ 1.HyperMarketปัจจุบันมีอยู่ทั้งหมด43Storeคาดว่าจะเปิดเพิ่มอีก6Store 2.SuperMarketปัจจุบันมีทั้งหมด1Storeที่สาขางามวงศ์วาน 3.Valueหรือคุ้มค่าปัจจุบันมีทั้งหมด2Storeคือร้อยเอ็ดและอุตรดิตถ์ 4.Expressปัจจุบันมีทั้งหมด9สาขาและจะเปิดเพิ่มอีก21สาขา ซึ่งStoreทั้ง4นั้นมีPositioningที่เหมือนกันมีสินค้าหลากหลายและราคาถูกอีกทั้งเป็นร้านค้าปลีกที่อยู่ใกล้บ้านคุณ TESCOLOTUSมีพนักงานกว่า16,000คนและคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็นกว่า21,000คนภายในปี2547เทสโก้โลตัสมีบริษัทSupplierที่เป็นคู่ค้าทั้งหมดกว่า2,499รายในจำนวนนี้เป็นบริษัทคู่ค้าของคนไทย97.9%ส่วนที่เหลือเป็นบริษัทคู่ค้าจากต่างประเทศโดยในปี2548นี้TESCOLOTUSได้ซื้อสินค้าและบริการจากคู่ค้าคิดเป็นเงินประมาณ45,000ล้านบาท โดยบริษัทคู่ค้า774รายหรือ31%เป็นธุรกิจขนาดย่อมโดยมีวงเงินสั่งซื้อน้อยกว่าหนึ่งล้านบาทต่อรายตั้งแต่ปี2541เทสโก้นำเงินเข้ามาลงทุนในประเทศไทยรวม45,400ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ5.5ของเงินลงทุนจากต่างประเทศซึ่งได้ช่วยเสริมสร้างกระแสเงินสดหมุนเวียนและช่วยเสริมสร้างรายได้ประชาชาติโดยรวมของประเทศไทยไม่ต่ำกว่า45,000ล้านบาท ที่มา: ThailandIndustry.com
10
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
SupplyChain ของ TESCOLOTUS ปัจจุบันมีสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้าของTESCOLOTUSจำนวน 934 รายการซึ่งพัฒนามาจากบริษัทคู่ค้าของไทยโดยมียอดขายรวม 1,500 ล้านบาทและTESCOLOTUSยังจัดกิจกรรมวันพบคู่ค้าเป็นประจำทุกปีและยังได้ขยายไปยังส่วนภูมิภาคซึ่งจัดเป็นครั้งแรกที่จังหวัดร้อยเอ็ดเมื่อเดือนตุลาคม 2545 และมีคู่ค้ารายใหม่ให้ความสนใจถึง 120 ราย ที่สำคัญ TESCOLOTUS ยังช่วยสนับสนุนการส่งออกสินค้าไทยไปยังสหราชอาณาจักรคิดเป็นมูลค่า 3,000ล้านบาทต่อปีซึ่งสินค้าที่ส่งออกได้แก่ผลิตภัณฑ์จากเนื้อไก่ทูน่าผลิตภัณฑ์พลาสติกเช่นฟิล์มห่ออาหารบรรจุภัณฑ์ใส่อาหารเครื่องครัวอาหารเลี้ยงสัตว์ผลิตภัณฑ์อาหารไทยจีนและอินเดียล่าสุดได้สนับสนุนการส่งออกข้าวหอมมะลิรวมทั้งเสื้อผ้าถุงเท้าและรองเท้าด้วย ประเทศไทยถือเป็น 1 ใน 6 ที่เป็นศูนย์กลางการหาสินค้าเพื่อส่งให้กับเครือข่ายของเทสโก้ทั่วโลกโดยในปี 2548 มียอดมูลค่าการส่งออกสินค้าอุปโภคจากบริษัทผู้ผลิตในประเทศไทยสูงถึง 700 ล้านบาทและได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าไทยจะสามารถเป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าประเภทอุปโภคให้กับเครือข่ายเทสโก้ทั่วโลกซึ่งในแต่ละเดือนนั้นจะมีลูกค้าเข้ามาจับจ่ายสูงถึง10.5 ล้านคนและลูกค้าที่เข้ามาซื้อในห้างได้ชำระสินค้าผ่านบัตรเครดิตของ TESCOLOTUS กว่า 350,000 ราย ศูนย์กระจายสินค้าของTESCOLOTUSในประเทศไทยตั้งอยู่ที่อ.วังน้อยจ.พระนครศรีอยุธยาสามารถบริหารการกระจายสินค้ากว่า800,000หน่วยบรรจุต่อวันโดยมีการพัฒนาต่อเนื่องล่าสุดได้ทำการก่อสร้างอาคารและติดตั้งสายสะพานลำเลียงอัตโนมัติ(CrossDock)เสร็จสมบูรณ์
11
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
ระบบVMIของTESCOLOTUS TESCOLOTUSได้ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่สำนักงานใหญ่เพื่อใช้ในงานทางด้านการจัดซื้อและบัญชีซึ่งจะเชื่อมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์“นอติลุส”ซึ่งจะติดตั้งไว้ที่ศูนย์กระจายสินค้าระบบจะเริ่มปฏิบัติการเมื่อฝ่ายจัดซื้อได้มีคำสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบแม่ข่ายข้อมูลคำสั่งซื้อจะถูกส่งตรงไปยังคู่ค้าพร้อมๆกับศูนย์กระจายสินค้า เมื่อคำสั่งซื้อมาถึงศูนย์กระจายสินค้าและสินค้าที่สั่งได้จัดส่งมาถึงศูนย์กระจายสินค้าสินค้าก็จะถูกบันทึกลงในรายการของคลังสินค้าและระบบซอฟต์แวร์นอติลุสก็จะสร้างระบบบาร์โค้ดและฉลากสินค้าขึ้นขณะที่สินค้าถูกบันทึกรายการ ระบบก็จะสามารถบอกรายละเอียดที่เกี่ยวเนื่องกับสินค้านั้นๆเช่นสินค้าเป็นสินค้ารายการครอสด็อกกิ้งหรือเป็นสินค้าที่จะต้องสต็อกอุปกรณ์ตรวจรับสินค้าด้วยคลื่นความถี่วิทยุก็จะบอกรายละเอียดของโซนและที่จะจัดวางสินค้านั้นๆในการรับสินค้าแต่ละครั้งระบบซอฟต์แวร์“นอติลุส”ก็จะส่งข้อมูลจำนวนสินค้าที่รับไปยังระบบแม่ข่ายอัตโนมัติ บัญชีเจ้าหนี้จะได้รับข้อมูลและลงรายการตามจำนวนที่ได้รับระบบแม่ข่ายและระบบซอฟต์แวร์“นอติลุส”จะให้ประโยชน์แก่คู่ค้าในด้านการลดลงจำนวนเอกสารที่เกี่ยวกับการสั่งซื้อ(ใช้ใบสั่งซื้อ1ใบแทนการสั่งซื้อจากสาขา)ความถูกต้องของข้อมูลรายการและจำนวนสินค้าที่ถูกจัดส่งทำให้ฝ่ายจัดซื้อสามารถประมาณการจำนวนสินค้าที่ต้องการจากคู่ค้าจำนวนยอดขายสินค้าได้จึงทำให้ต้องมีการสต็อกสินค้าไว้สำหรับTESCOLOTUSทุกสาขาซึ่งเป็นการเพิ่มจำนวนการสั่งซื้อให้กับลูกค้าและจะมีสินค้าอยู่บนชั้นวางสินค้าTESCOLOTUSทุกสาขาอยู่ตลอดเวลา
12
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
ระบบVMIของTESCOLOTUS การทำงาน VMI ของ TESCOLOTUS ถ้าเทสโก้โลตัสสั่งซื้อแชมพูรีจ๊อยซ์เพียงหนึ่งรายการจากP&Gแล้วให้เขาส่งมาให้ที่DCวังน้อยแล้วแชมพูถูกลำเลียงออกจากDCวังน้อยส่งให้เทสโก้โลตัสสาขาซีคอนสแควร์ การปฏิบัติงานของที่DCวังน้อยก็คงจะไม่มีความยุ่งยากอะไรแต่ในความเป็นจริงลองจินตนาการว่ามีสินค้าทั้งหมด30,000SKUsและมีสินค้าผ่านเข้ามาในDCวังน้อย(Casein)500,000เคสต่อวัน(เคสในที่นี้หมายถึงอะไรก็ตามที่เห็นด้วยตาว่าสามารถจะนับได้ว่าเป็นหีบห่อหลักๆเช่นเบียร์หนึ่งลังผ้าปูที่นอนหนึ่งกล่อง)และมีสินค้าออกจากDCวังน้อย(Caseout) 500,000เคสต่อวัน นั่นหมายถึงมีThroughputLevelสูงถึง1,000,000เคสต่อวันที่ผ่านเข้าออกที่DCวังน้อยบนพื้นที่ปฏิบัติงาน80,000ตารางเมตร(ประมาณ50ไร่)ไม่นับรวมพื้นที่โดยรอบระบบการปฏิบัติการอันเป็นเลิศที่สนับสนุนอยู่เบื้องหลังอันสร้างความสำเร็จในการกระจายสินค้าให้เกิดขึ้นกับเทสโก้โลตัสเป็นสิ่งที่น่าติดตามหาคำตอบอย่างยิ่ง
13
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
*ระบบVMIของTESCOLOTUS กระบวนการที่เราเห็นกันอยู่เป็นประจำในชีวิตคือเรานำสินค้าออกมาจากรถเข็นของแล้วกองไว้บนสายสะพานข้างแคชเชียร์พอแคชเชียร์หยิบสินค้ามาสแกนบาร์โค้ดพร้อมทยอยใส่ถุงพลาสติกจนครบทุกรายการแล้วก็แจ้งยอดรวมตามด้วยเราก็จ่ายเงินเราก็นำสินค้าออกไปเป็นอันเสร็จกระบวนการนั่นเป็นสิ่งที่เราได้เห็นแต่สิ่งที่เรามองไม่เห็นก็คือในทันทีที่แคชเชียร์หยิบสินค้ามาสแกนบาร์โค้ดที่หน้าร้าน(FrontOffice)สินค้ารายการนั้นก็จะถูกตัดสต็อกหลังร้าน(BackOffice) กระบวนการไม่จบแค่นั้นข้อมูลจะถูกอัพโหลดส่งจากสาขา(ที่ทางเทสโก้โลตัสเองเรียกว่า“สโตร์”ตอนนี้มีอยู่75แห่งตั้งแต่รูปแบบที่เป็นHyperMarket,SuperMarketร้านคุ้มค่าและLOTUSExpress)แบบเรียลไทม์ไปยังสำนักงานใหญ่แล้วสำนักงานใหญ่ก็จะรวบรวมคำสั่งซื้อของแต่ละสาขาเข้าด้วยกันแล้วส่งไปให้กับVendor(ซึ่งก็คือคู่ค้าที่เป็นSupplierจัดหาสินค้าให้กับเทสโก้โลตัสนั่นเอง)และส่งข้อมูลไปให้ที่DCวังน้อย
14
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
*ระบบVMIของTESCOLOTUS โดยมีโปรแกรมการทำงานที่เกี่ยวข้องดังนี้ *โปรแกรมSCS(StockControlSystem)เป็นระบบบริหารการขายของสโตร์ที่ทั้ง75สโตร์มีใช้งานอยู่จะทำหน้าที่รับสินค้าเข้าสโตร์และตัดยอดสินค้าออกจากสโตร์เมื่อขายสินค้าได้ซึ่งฟังก์ชั่นการทำงานหลักๆก็เหมือนกับโปรแกรมการขายสินค้าที่ใช้งานในซูเปอร์มาเก็ตหรือมินิมาร์ททั่วๆไป *โปรแกรมRAMS(RichterAutomatedMerchandisingSystem)เป็นระบบที่เป็นทั้งมันสมองของการปฏิบัติการและเป็นประตูควบคุมการไหลของรายการสินค้าและข้อมูลข่าวสารทั้งหมด หลังจากที่SCSแต่ละสาขาอัพโหลดข้อมูลในทันทีที่ขายได้มาให้RAMPSแล้วRAMPSก็จะรวบรวมข้อมูลจากทุกสาขาเข้าด้วยกันแล้วส่งข้อมูลไปให้Vendorที่เป็นคู่ค้าทราบเพื่อเป็นสัญญาณให้เกิดกระบวนการเติมสินค้า(Replenishment)ให้กับDCวังน้อยรูปแบบในการส่งข้อมูลจะเป็นแบบEDIให้กับVendorหลักๆ30กว่ารายส่วนVendorที่เหลือก็จะเป็นการส่งแฟกซ์แบบอัตโนมัติและในขณะเดียวกันRAMPSจะส่งข้อมูลทั้งหมดให้กับDCวังน้อยเพื่อให้เป็นการเตรียมตัวรับสินค้าที่จะส่งเข้าไปที่DistributionCenter *โปรแกรมPCS(ProductControllingSystem)เป็นระบบที่ใช้ในการบริหารDistributionCenterแบบเรียลไทม์ทำหน้าที่ให้กับDCให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดโดยระบบการติดต่อสื่อสารทั้งหมดในDCจะใช้คลื่นสัญญาณความถี่วิทยุ(RadioFrequency:RF)ผ่านสถานีฐานรับส่งสัญญาณ(BaseStation)ที่ติดตั้งห่างเป็นระยะๆอยู่รอบDistributionCenterวังน้อย
15
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
*ระบบVMIของTESCOLOTUS โดยในระบบVMIของเทสโก้โลตัสนี้เราสามารถจำแนกสินค้าได้เป็น2ประเภท ดังต่อไปนี้ 1) สินค้าประเภท DistributionCenterItem คือสินค้าที่คู่ค้าไม่สามารถที่จะส่งมอบให้กับเทสโก้โลตัสได้ตามเวลาที่กำหนดไว้(เรียกได้ว่ามีVendorServiceLevelต่ำ)ดังนั้นเทสโก้โลตัสจึงมีความจำเป็นที่จะต้องสั่งสินค้าเข้ามาตุนไว้เองเพื่อยังคงที่จะสามารถกระจายสินค้าไปยังสโตร์ทั้ง75แห่งได้อันจะช่วยป้องกันไม่ให้สินค้าในสโตร์ขาดสต็อกที่เป็นการเสียโอกาสในการขายสินค้ารายการนั้นๆและสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าที่เทสโก้โลตัสมีสินค้าพร้อมขายตลอดเวลาลูกค้าสามารถที่จะมาเลือกจับจ่ายใช้สอยได้ในทุกเวลาที่ต้องการ 2) สินค้าประเภท CrossdockItem (หรือเรียกว่าเป็นประเภทส่งผ่าน)คือสินค้าที่คู่ค้ามีความสามารถที่จะส่งมอบให้กับเทสโก้โลตัสได้ตามเวลาที่กำหนดไว้(เรียกได้ว่ามีVendorServiceLevelสูง)ดังนั้นเทสโก้โลตัสจึงสามารถที่จะวางใจได้ว่าไม่มีความจำเป็นที่จะต้องสั่งสินค้าเข้ามาตุนไว้เลย
16
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
*ระบบVMIของTESCOLOTUS ในทันทีที่สินค้าถูกลำเลียงเข้ามาส่งที่DCวังน้อยสินค้าก็จะถูกแกะหีบห่อออกมาเพื่อนำมาติดสติ๊กเกอร์บาร์โค้ดทุกกล่องแล้วส่งขึ้นสายพานลำเลียง(BeltConveyor)ส่งไปผ่านเครื่องVisualizedScannerที่มีความสามารถสแกนบาร์โค้ดด้วยระดับความเร็ว1ใน2000วินาทีในทันทีที่เครื่องอ่านสติกเกอร์บนกล่องแต่ละกล่อง เครื่องจะสามารถแยกแยะได้ทันทีว่ากล่องที่กำลังวิ่งผ่านเครื่องจะต้องถูกส่งไปที่สโตร์ไหนพร้อมกับเครื่องสแกนเนอร์จะประสานงานกับระบบทำงานของสายพานลำเลียงให้รับทราบว่ากล่องนี้ที่วางอยู่บนสายพานลำเลียง(ที่กำลังวิ่งวนไปเรื่อยๆ)จะต้องถูกผลักออกไปจากสายพานที่ช่องไหนเพราะแต่ละช่องที่กล่องถูกผลักออกไป(ใช้แผ่นยางสีดำเรียกว่า“Shoe”ที่ติดเรียงอยู่บนสายพานช่วยผลักตัวกล่อง)จะหมายถึงสโตร์แต่ละสโตร์นั่นเอง นั่นแสดงว่าเครื่องสแกนเนอร์ที่อ่านบาร์โค้ดบนสติกเกอร์จะทำหน้าที่เป็นผู้คัดแยกสินค้าแต่ละกล่องว่าจะต้องถูกส่งไปที่ไหนแล้วสายพานลำเลียงจะเป็นผู้ช่วยในการผลักกล่องออกไปยังช่อง(หรือสโตร์)ที่ต้องการหลังจากที่กล่องไหลออกไปจากระบบสายพานแยกอยู่ตามช่อง(แยกสโตร์)แล้วก็จะมีพนักงานมาจัดเรียงกล่องซ้อนขึ้นพาเลตของแต่ละช่อง(หรือสโตร์)แล้วใช้แฮนด์ลิฟต์ลากพาเลตออกไปรอที่ท่าของ(Dock)เพื่อรอรถของแต่ละสโตร์วิ่งมารับออกไป
17
กรณีศึกษา บริษัท TESCOLOTUS
*ระบบVMIของTESCOLOTUS โดยทั่วไปแล้วสินค้าหมวดอาหารแห้งจะมีการส่งสินค้าผ่านเข้ามาที่DCวังน้อยประมาณ90%(เรียกว่าPercentageofCentralization=90%)ส่วนอีก10%ที่เหลือจะเป็นการส่งตรงไปยังสโตร์เลย(เรียกว่าDirecttoStore)ซึ่งเป็นสินค้าที่มีขนาดใหญ่เช่นรถจักรยานที่นอน6ฟุตเก้าอี้หวายเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ส่วนสินค้าหมวดอาหารสดเช่นผักผลไม้จะส่งผ่านเข้ามาที่DCวังน้อยเพียง80%เท่านั้นในStoreนั้นจะใช้ระบบSCSส่วนที่HeadOfficeหรือสำนักงานใหญ่จะเป็นโปรแกรมSCSและโปรแกรมRAMSซึ่งRAMSนั้นจะเป็นโปรแกรมใหญ่บริหารงานทั้งบริษัทขณะที่PCSนั้นเป็นโปรแกรมสำหรับคลังสินค้าโดยเฉพาะและมีหน้าที่บริหารคลังสินค้า ลักษณะการทำงานเมื่อโปรแกรมSCSทำการขายของก็จะOnlineไปยังRAMSที่สำนักงานใหญ่จากนั้นจะlinkมายังPCSนอกจากนี้RAMSยังมีหน้าที่อีกอย่างหนึ่งคือจะPressOrderไปยังVendorเพื่อให้Vendorมาส่งสินค้าในDC
18
สรุประบบ VMI ของ TescoLotus
ในส่วน VMI ของ TESCOLOTUS นั้นเป็นการลงทุนเพียงฝ่ายเดียวที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับภายนอกสาเหตุหนึ่งนั้นมาจากการที่ต่างประเทศลงทุนส่วนใหญ่ทำให้มีอำนาจและการจัดการด้วยตนเองทำให้มีอิสระและสามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆได้และTESCOLOTUSมีอำนาจเหนือการเจรจาต่อบริษัทคู่ค้าเองทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นกล่าวคือสามารถกำหนดให้คู่ค้าหรือ SupplyChainทำตามที่บริษัทกำหนดเองทำให้สอดคล้องกับเป้าหมายและระบบที่วางไว้อีกทั้งการวางระบบก็ย่อมเป็นไปได้โดยง่ายด้วย
19
การบันทึกข้อมูลผ่านระบบ VMI
ตัวอย่าง การเบิก-จ่ายวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในโปรแกรม VMI บน Website GPO วุฒิไกร แสนสีลา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
20
ลักษณะสำคัญ 1. ต้องมีการรับผ่านระบบ online ด้วย pin code ของ สปสช.
2. Username ของโครงการขึ้นต้นด้วยอักษร T(รายละเอียดเพิ่มเติมอยู่ ในเว็บไซด์ขององค์การเภสัชกรรม) 3.การส่งวัคซีนกระจายให้ทั่วประเทศตามที่ กรมควบคุมโรคและ สปสช.กำหนด *ขอความร่วมมือบันทึกยอดคงคลังวัคซีนทุกวันศุกร์จนกว่าวัคซีนจะหมด ขนาดบรรจุแบบsingle doseคือ 1 vial ต่อ 1 dose(0.5ซีซี) (แบบมีเข็มติดกับหลอดฉีดได้เลย) ขนาดบรรจุ แบบ multi dose คือ 1 vial ต่อ 4 dose (2ซีซี) (1 กล่องกระดาษมี 10 ขวด)
31
การบริหารคลังยาต้านไวรัสเอดส์ด้วยระบบ ผู้ขายเป็นผู้บริหารเวชภัณฑ์
Vendor Managed Inventory : VMI การบริหารคลังยาต้านไวรัสเอดส์ด้วยระบบ ผู้ขายเป็นผู้บริหารเวชภัณฑ์ อาทิตย์ จันทร์ตา กรกฎาคม 2548
32
การบริหารคลังยาต้านไวรัสเอดส์ด้วยระบบผู้ขายเป็นผู้บริหารเวชภัณฑ์
(Vendor Managed Inventory : VMI ) วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริหารสินค้าคงคลังและการกระจายยา เพื่อให้มียาหมุนเวียนและกระจายยาไปทั่วประเทศได้อย่างสม่ำเสมอ ทำให้สามารถบริการผู้ติดเชื้อHIVและผู้ป่วยโรคเอดส์ให้ได้รับยารักษาอย่างต่อเนื่อง
33
VMI เดิม โรงพยาบาล โรงพยาบาล สคร. สคร. สอวพ. สอวพ. GPO GPO
GPO
34
ประโยชน์ ต่อผู้ป่วย มียาใช้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ต่อผู้ป่วย มียาใช้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ต่อ สคร. และ รพ. ลดขนาด Stock ลด Inventory cost ลด Lead Time ในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง ลดเอกสารการจัดซื้อ ต่อ GPO รู้ความต้องการในการใช้ยาตลอดทั้งปี ผลิตยาและบริการได้ทันตามความ ต้องการInventory Turn Over Rate สูงขึ้น
35
ปัญหาที่พบ • รพ. ส่งข้อมูล และปริมาณผู้ป่วยมา
• รพ. ส่งข้อมูล และปริมาณผู้ป่วยมา ไม่ครบถ้วน หรือ ข้อมูลไม่ตรงกัน • บาง รพ. ไม่สะดวกในการใช้ Internet • ความล่าช้าในการขอแก้ไขแบบฟอร์ม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.