ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค นางสรีสอางค์ บุญพระ
2
หลักการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ครอบคลุมบริการ P&P รายบุคคลและ ครอบครัวสำหรับคนไทยทุกคน กรอบการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทั้งที่เป็นปัญหาความสำคัญในระดับ ประเทศ/เขต/จังหวัด/หน่วยบริการ/ชุมชน และนโยบายที่เน้นหนักของ รัฐบาล สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P ผู้ดำเนินการจัดบริการจะเป็นหน่วยบริการ สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์กรต่างๆ และชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีการ จัดบริการ P&P
3
วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดระดับประเทศ
การบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดระดับประเทศ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วยและอัตราตายที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ ยึดตัวชี้วัดและเป้าหมาย P&P ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเฉพาะ ที่เกี่ยวข้องกับบริการรายบุคคลและครอบครัวภายใต้ชุดสิทธิประ โยชน์ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
4
กรอบแนวทางการบริหารงบ P&P ปี 2558
( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) (ก) NPP & Central Procurement (27 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P basic services ( บาท/คน) บริหารแบบ global budget ระดับเขตสำหรับเขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนท้องถิ่นที่มีความพร้อม หากมีเงินเหลือให้ ปรับเกลี่ยเป็น P&P basic services โดยความเห็นชอบจาก อปสข. สำหรับ สปสช.เขต 13 ซึ่งยังไม่มีกองทุนฯท้องถิ่น ให้ สปสช.จัดสรรเป็น P&P basic services 1. บริหารแบบ global budget ระดับเขต โดยคำนวณ GB ระดับเขตตามจำนวนประชากรโครงสร้างกลุ่มอายุ ผลงานบริการ/อัตราความครอบคลุมบริการ 2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามกรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลาง และเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในระดับพื้นที่ได้โดยต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. 3.กรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่าย มีดังนี้ ไม่น้อยกว่า 20 บาทต่อคนจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ รวมกับเงินปฐมภูมิตามเกณฑ์ QOF โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ ไม่เกิน 8 บาทต่อคน สำหรับบริการที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการหรือแก้ปัญหาพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด ตามความจำเป็นทางสุขภาพ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน กรณีพื้นที่ สปสช.เขต 13 กทม. ให้สามารถปรับค่าใช้จ่ายได้มากกว่าที่กำหนด โดยความเห็นชอบของ อปสข. ไม่เกิน 5 บาทต่อคน สำหรับสนับสนุนและส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน ส่วนที่เหลือ (ประมาณ บาทต่อคน) จ่ายแบบเหมาจ่ายที่อาจปรับด้วยโครงสร้างอายุ/ผลงานบริการ และ/หรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับ ประเทศ : TSH / Thalassemia / Child development / Teenage pregnancy ไม่เกิน 1 บาทต่อคน เป็นค่าสนับสนุนส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล NPP : วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับ ประเทศ : TSH / Thalassemia / Child development / Teenage pregnancy ไม่เกิน 1 บาทต่อคน เป็นค่าสนับสนุนส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล PPA :
5
ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
1. การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ 2. การตรวจและการบริบาลสุขภาพ พัฒนาการ และภาวะโภชนาการของเด็กและเยาวชน ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ/หรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนชาวไทยซึ่งจัดทำโดยแพทยสภา 3. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามแผนงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศ รวมทั้งวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 4. การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่อการเสียสุขภาพและศักยภาพที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง ตามแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทย ซึ่งจัดทำโดยแพทยสภา/ราชวิทยาลัย
6
ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(ต่อ)
5. การวางแผนครอบครัว ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และหรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทยซึ่งจัดทำโดยแพทยสภา 6. การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ กรณีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจาก แม่สู่ลูก 7. การเยี่ยมบ้านและการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 8. การให้คำปรึกษาแนะนำ การสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการให้ความรู้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยแก่ผู้รับบริการทั้งระดับบุคคลและครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ 9. การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
7
สรุปสิ่งที่แตกต่างของปี 57 และ 58
ปี 2557 ปี 2558 NPP -เพิ่มกลุ่มเป้าหมายวัคซีนไข้หวัดใหญ่ อีก 2 กลุ่ม คือ 1) หญิงตั้งครรภ์>4เดือน 2) เด็ก 6 เดือน-2 ปี - งบสนับสนุนภายใต้งบ PP_สนับสนุน จำนวน 1.5 บาท/ปชก. -เพิ่มกลุ่มเป้าหมาย EPI อีก 2 กลุ่ม คือ 1) MMR/MR เข็มที่2 ในเด็ก 2ปีครึ่ง 2) dT ในกลุ่มอายุ ปี จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ/M&E โดยใช้งบ 1 บ/ปชก. PPA - การแก้ปัญหาพื้นที่/นโยบายสำคัญระดับประเทศ ระบุทิศทางสนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาคประชาชนดำเนินการหรือร่วมให้บริการในกองทุนสุขภาพชุมชน รวมทั้งงบในระดับเขต/จังหวัดด้วย - จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH & Pap smear PP Basic service รวมงบที่มีการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ไว้ด้วยกัน (PPA+PPB+PP_สนับสนุน) บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็นGlobal Budget ระดับเขต ตามจำนวนประชากรโครงสร้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความครอบคลุมบริการ ซึ่งแนวทางการจ่ายแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานในพื้นที่ให้เป็นอำนาจของ อปสข.ในการพิจารณา ภายใต้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.หลักประกันฯกำหนด เขต/จังหวัดไม่ต้องกันงบสำหรับการตามจ่าย ค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ PPB -บริหารงบQPบูรณาการกับการบริหารงบQOFของระบบบริการปฐมภูมิ PP_กองทุน ท้องถิ่น - จัดสรรงบสำหรับการสร้างการมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกเป็นการเฉพาะ (แยกจากงบบริการ PP_ระดับพื้นที่) - สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ที่ไม่มีท้องถิ่นร่วมดำเนินการให้ สปสช.ปรับงบไปรวมกับงบ PP Basic service PP_Dent. -อยู่ภายใต้งบ PPB PP_ สนับสนุน -จัดสรรเป็นGlobal budget ระดับเขตตามจำนวนประชากร
8
แผนการดำเนินงาน NPP ปี2558
27บาท/ปชก. โครงการ NPP ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด - Thalassemia - TSH - Down syndrome (นำร่องการดำเนินงาน) กรมอนามัย/ กรมวิทยาศาสตร์ฯ/กรมการแพทย์ 2. การสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (เน้นกลุ่ม 9,18,30,42 เดือน) กรมสุขภาพจิต 3.การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ (ปี 58 เน้นวัยรุ่น <20 ปี กรณีใส่ห่วงและยาฝังคุมกำเนิด) องค์กรเอกชน 4. การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง - การคัดกรองและดูแลโรคมะเร็งปากมดลูก กรมการแพทย์/ กรมอนามัย
9
2.P&P พื้นที่ ที่ไม่มีกองทุนท้องถิ่น
กรอบวงเงินจัดสรรงบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับเขต (Global budget) ปีงบประมาณ 2558 เขต ชื่อเขต ประชากร ทุกสิทธิ 1. P&P basic service 2.P&P พื้นที่ ที่ไม่มีกองทุนท้องถิ่น 3.P&P กองทุนท้องถิ่น รวมงบประมาณ 1 เชียงใหม่ 5,301,173 1,140,890,536.21 28,891,392.85 238,552,785.00 1,408,334,714.06 2 พิษณุโลก 3,114,407 681,210,734.37 16,973,518.15 140,148,315.00 838,332,567.52 3 นครสวรรค์ 2,701,801 585,451,068.85 14,724,815.45 121,581,045.00 721,756,929.30 4 สระบุรี 5,395,122 1,102,926,513.56 29,403,414.90 242,780,490.00 1,375,110,418.46 5 ราชบุรี 5,184,682 1,103,511,873.00 28,256,516.90 233,310,690.00 1,365,079,079.90 6 ระยอง 6,955,036 1,430,185,163.56 37,904,946.20 312,976,620.00 1,781,066,729.76 7 ขอนแก่น 4,450,019 970,862,421.48 24,252,603.55 200,250,855.00 1,195,365,880.03 8 อุดรธานี 4,870,442 1,104,788,963.16 26,543,908.90 219,169,890.00 1,350,502,762.06 9 นครราชสีมา 5,980,036 1,290,181,963.88 32,591,196.20 269,101,620.00 1,591,874,780.08 10 อุบลราชธานี 3,992,231 879,106,925.87 21,757,658.95 179,650,395.00 1,080,514,979.82 11 สุราษฎร์ธานี 4,390,127 950,126,226.40 23,926,192.15 197,555,715.00 1,171,608,133.55 12 สงขลา 4,810,610 1,087,178,247.30 26,217,824.50 216,477,450.00 1,329,873,521.80 13 กรุงเทพฯ 7,879,440 1,614,408,456.80 42,942,948.00 354,574,800.00 2,011,926,204.80 ผลรวมทั้งหมด 65,025,126 13,940,829,094.44 354,386,936.70 2,926,130,670.00 17,221,346,701.14
10
กรอบแนวทางการบริหารงบ P&P สปสช.เขต 4 สระบุรี ปี 2558
รวมเขต 4 ( บาท/ประชากร ) P&P basic services ( = บาท/คน) สปสช.เขต 13 ไม่มีกองทุนตำบล (5.45 บาท/คน) แก้ไขปัญหาเพิ่มการเข้าถึงบริการ(PPA) ( 8 บาท/คน) สนับสนุนและส่งเสริมระบบ(PPD) ( 5 บาท/คน) QOF (20 บาท/คน) เหมาจ่ายลงหน่วยบริการ ( บาท/คน) -กำกับ ติดตาม ประเมินผลตามแนวทาง อาทิ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น/ปัญหาสุขภาพช่องปาก/ปัญหากลุ่มวัย+การเข้าถึง/สุขภาพช่องปาก -ส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการงาน -สนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/องค์กร/ภาคประชาชน ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหา/พัฒนากลไก/ระบบ และ นวัตกรรมบริการP&P ทันตกรรมปฐมภูมิ แพทย์แผนไทย ตามแผนงาน/โครงการ จ่ายให้หน่วยบริการประจำ และหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ -จ่ายโรคที่เป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่จัดบริการPP ตามปัญหาสุขภาพภาพเขต ที่คณะทำงานฯกำหนด อาทิ การบริการฝากครรภ์ทุกที่ฟรีทุกสิทธิ์ , ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน ฯลฯ -สนับสนุนการจัดบริการจัดบริการเชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมายพิเศษ/ไม่เข้าถึงบริการ ในชุมชน/โรงเรียน/สถานประกอบการ/ภาค ปชช./เอกชนเพื่อจัดบริการเสริมเพิ่มเติมและจ่ายเพื่อจูงใจในการเพิ่มความครอบคลุมและคุณภาพผลงานบริการ เช่น จ่ายเพิ่มเติมแก่หน่วยบริการตามตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพท์ที่สำคัญของพื้นที่ ตามผลงานการจัดบริการ ( Workload) 60% ตามโครงสร้างประชากร ( Age group) 40%
11
แก้ไขปัญหา เพิ่มการเข้าถึงบริการ
( 8 บาท/คน) ( 43,160,976 บาท) เน้นการจัดบริการ 1.แก้ไขปัญหา/เพิ่มการ เข้าถึงบริการระดับจังหวัด จัดสรร สสจ. 8 จังหวัด (6.75 บาท/ประชากร) (36,417,73.50บาท) 2.แก้ไขปัญหาเพิ่มการเข้าถึงบริการแก่ภาคประชาชน/เอกชน/องค์กร/หน่วยงาน ( 1.25 บาท/ประชากร)(6,743,902.50บาท) รูปแบบการใช้งบ ฯ 1.ตามนโยบาย รมต. 10 ข้อที่เกี่ยวข้องและของขวัญปีใหม่ เช่น Long Term Care การป้องกันและแก้ไขปัญหากรตั้งครรภ์วัยรุ่น ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน การคัดกรองต้อกระจก ฯลฯ 2.Service Plan เช่น จัดบริการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตามกลุ่มวัย ฯลฯ 3.ตามนโยบาย PP จังหวัด 4.ตามปัญหาสุขภาพในพื้นที่ 5.การอนุมัติแผน 5.1 ส่วนของจังหวัดอนุมัติ โดย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดและผู้ที่ได้รับมอบอำนาจจากนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด พิจารณาอนุมัติแผน และส่งให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 4 สระบุรี ดำเนินการโอนงบประมาณ 5.2 ส่วนของภาคปชช./เอกชน/องค์กร/หน่วยงาน อนุมัติโดยคณะอนุกรรมการ PP ระดับเขต และให้ อปสข.ทราบ ข้อเสนอ พี่ชีเสนอปรับ wording การบริหาร
12
ส่งเสริม สนับสนุนการจัดบริการ ( 5 บาท/คน) (26,975,610 บาท)
4.25 บาท/ปชก. (22,929,268.50บาท) ให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน (สสจ.บริหารจัดการ) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดบริการ ( 5 บาท/คน) (26,975,610 บาท) 0.75 บาท/ปชก. (4,046,341.50บาท) สนับสนุนงาน วิชาการ /นวัตกรรม ภาคประชาชน/เอกชน/หน่วยงาน/องค์กร รูปแบบการใช้งบ ฯ พัฒนาระบบการดำเนินงาน การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ การกำกับติดตามและประเมินผล การมีข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับประสิทธิภาพประสิทธิผล การบริการ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ การแพทย์แผนไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบสุขภาพชุมชนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงหรือคุณภาพบริการ การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนหรือหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง การอนุมัติแผน 1. ส่วนของจังหวัดอนุมัติ โดย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดและหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจจากนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด พิจารณาอนุมัติแผน และส่งให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 4 สระบุรี ดำเนินการโอนงบประมาณ 2. ส่วนของภาคปชช./เอกชน/องค์กร/หน่วยงาน อนุมัติโดยคณะอนุกรรมการ PP ระดับเขต และให้ อปสข.ทราบ คณะอนุกรรมการ
13
เหมาจ่ายลงหน่วยบริการ (176.88 บาท/ประชากร)
ส่วนที่ 4 เหมาจ่ายลงหน่วยบริการ ( บาท/คน) (954,289,179.36บาท) 40% 60% ตามโครงสร้างประชากร ( Age group) (381,715, บาท) ตามผลการจัดบริการ ( Workload) (572,573, บาท) จัดสรรลงหน่วยบริการตาม ข้อมูล Workload/Age group (572,573,507.62/381,715,671.74)
14
กรอบวงเงินจัดสรรงบ PP
ประชากร ณ 1 กค.57 20 บ./คน 8 บาท/คน 5 บาท/คน PPB QOF PPA (43,160, บาท) PPD(26,975, บาท) จังหวัด UC NON-UC Sum total pop งบประมาณที่ได้รับจัดสรร(รวมทุกCUP) 6.75 1.25 4.25 0.75 นนทบุรี 703,572 475,765 1,179,337 189,306,864.45 7,960,524.75 6,743,902.50 5,012,182.25 4,046,341.50 ปทุมธานี 621,061 639,378 1,260,439 177,431,942.79 8,507,963.25 5,356,865.75 พระนครศรีอยุธยา 518,567 328,155 846,722 176,000,932.81 5,715,373.50 3,598,568.50 อ่างทอง 197,570 63,969 261,539 53,061,440.91 1,765,388.25 1,111,540.75 ลพบุรี 523,718 178,086 701,804 130,280,973.71 4,737,177.00 2,982,667.00 สิงห์บุรี 148,726 55,133 203,859 40,729,188.80 1,376,048.25 866,400.75 สระบุรี 434,809 267,934 702,743 127,516,548.02 4,743,515.25 2,986,657.75 นครนายก 175,532 63,147 238,679 59,951,697.67 1,611,083.25 1,014,385.75 5,395,122 954,279,589.16 107,902,440 36,417,073.50 22,929,268.50
15
กรอบการจัดสรรงบ PP basic service เป็นส่วนที่เหลือจากการจ่ายในส่วนของ QOF 20 บาท PPA 8 บาท PPD 5 บาท (เขต 4 ประมาณ บาท ) จังหวัด pop UC pop NON-UC Sum total pop ผลงานบริการ โครงสร้างอายุ รวมจัดสรร (บาท/คน) นนทบุรี 703,572 475,765 1,179,337 90.68 69.84 160.52 ปทุมธานี 621,061 639,378 1,260,439 73.12 67.65 140.77 พระนครศรีอยุธยา 518,567 328,155 846,722 135.56 72.30 207.86 อ่างทอง 197,570 63,969 261,539 130.35 72.53 202.88 ลพบุรี 523,718 178,086 701,804 113.01 72.63 185.64 สิงห์บุรี 148,726 55,133 203,859 129.10 70.69 199.79 สระบุรี 434,809 267,934 702,743 108.84 72.61 181.45 นครนายก 175,532 63,147 238,679 177.96 73.22 251.18
16
การดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดร่วม กสธ. และ สปสช.ชี้วัด 19 ตัว
กลุ่มมารดาและทารก ตัว กลุ่มปฐมวัย ตัว กลุ่มวัยเรียน ตัว กลุ่มวัยทำงาน 2 ตัว กลุ่มสูงอายุ 2 ตัว กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 1 ตัว มติคณะอนุกรรมการ P&P ครั้งที่ 11/56 เมื่อวันที่ 25 ธค.56
17
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่มมารดา 1. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 4. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
18
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่ม 0-5 ปี 5 เด็กที่มีผลตรวจ TSH ผิดปกติได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 6. เด็ก 18 เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 7. เด็ก 18 เดือนที่ได้รับการตรวจพัฒนาการค้นพบว่าพัฒนาการล่าช้าไม่ต่ำกว่าร้อยละ10 8. เด็กอายุ ครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิดตามเกณฑ์(ยกเว้น MMR) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 9. เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 10. ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
19
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และสปสช ร่วมติดตามและประเมิน
กลุ่มเด็กวัยเรียน 11. เด็ก ป. 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 12. เด็ก ป. 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 13. จำนวนเด็ก ป. 1 ได้รับบริการ comprehensive care ไม่น้อยกว่าร้อยละ 17 ของจำนวนเด็กป. 1 ทั้งหมดในพื้นที่ 14. เด็ก 6-12 ปี อ้วนไม่เกินร้อยละ 15 กลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน 15. ประชาชนอายุ ปีได้รับการคัดกรองเบาหวาน /ความดันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 16. สตรี ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 1 ครั้งภายใน 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
20
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และสปสช ร่วมติดตามและประเมิน
กลุ่มผู้สูงอายุ 17. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองเบาหวาน&ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 18. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองในภาวะผิดปกติ 3 กลุ่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 19. การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ให้กับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ(ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค หญิงมีครรภ์ อายุครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
21
ข้อสังเกตของ สตง.
22
ตัวอย่างแผนงาน หรือโครงการ จัดทำขึ้นโดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
23
ตัวอย่างแผนงาน หรือโครงการ จัดทำขึ้นโดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์(ต่อ)
24
ตัวอย่างแผนงาน หรือโครงการ จัดทำขึ้นโดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
25
ตัวอย่างแผนงาน หรือโครงการ จัดทำขึ้นโดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์(ต่อ)
26
แนวทางการจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ประเภทโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพ การเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ (เน้นเรื่องการจัดบริการ) การสนับสนุนส่งเสริมระบบบริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ (เน้นเรื่องพัฒนาระบบ) โครงการนวัตกรรมด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค นวตกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลง วิธีการ/รูปแบบ/การดำเนินงาน ที่สำคัญที่ทำให้ผู้มีสิทธิเข้าถึงบริการ P&P เพิ่มขึ้น ซี่งเป็นริเริ่มการผลักดัน เพื่อให้เปลี่ยนแปลงซึ่งสามารถวัดผลผลิตหรือผลลัพธ์ ได้ เช่น ได้เพิ่มจำนวนผู้รับบริการ.... คน หรือ เพิ่ม %ความครอบคลุม
27
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพ การเพิ่มการเข้าถึงบริการ ด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่
แก้ไขปัญหาสุขภาพ ด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ หรือ ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ตามนโยบาย รมต. (๑๐ ข้อที่เกี่ยวข้อง) เช่น เร่งรัดการดำเนินการระบบสร้างเสริมสุขภาวะสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในภาะวะพึ่งพิง Long Term Care (ของขวัญปีใหม่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข) ฯลฯ Service Plan เช่น จัดบริการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตามกลุ่มวัย ฯลฯ ตามนโยบาย PP จังหวัด ตามปัญหาสุขภาพในพื้นที่ เป็นโครงการคาดว่าจะมีผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง และยั่งยืน โครงการต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารหรือคณะกรรมการของหน่วยงาน/องค์กรของท่าน กิจกรรมที่ห้ามดำเนินการ ได้แก่ การประชุม สัมมนา การศึกษาดูงาน การจัดซื้อจัดหาที่ดินสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ การเสนอของบประมาณและการเบิกจ่าย ให้เป็นไปตามระเบียบและอัตราของกระทรวงการคลัง
28
โครงการสนับสนุนส่งเสริมระบบบริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่
พัฒนาระบบการดำเนินงาน สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ การกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พัฒนาระบบการแพทย์แผนไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงหรือคุณภาพบริการ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนหรือหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง เป็นโครงการคาดว่าจะมีผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง และยั่งยืน โครงการต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน/คณะกรรมการบริหารวิชาการของหน่วยงาน กิจกรรมที่ห้ามดำเนินการ ได้แก่ การศึกษาดูงาน การจัดซื้อจัดหาที่ดินสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ การเสนอของบประมาณและการเบิกจ่าย ให้เป็นไปตามระเบียบและอัตราของกระทรวงการคลัง
29
โครงการนวัตกรรมด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
หน่วยงานที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณต้องเป็นองค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน หรือ กลุ่มบุคคล หรือ บุคคลที่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ไม่แสวงหากำไร และมี ศักยภาพในการดำเนินงานด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณต้องตรงตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1 โครงการที่มีวัตถุประสงค์ที่เป็นความคิดริเริ่มหรือนวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคโดยตรงและชัดเจน 2.2 เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาที่มีความจำเป็นเร่งด่วน หรือ ข้อเท็จจริงในพื้นที่ปรากฏชัดและยังมีการดำเนินการน้อย 2.3 เป็นโครงการส่งเสริมระดับการมีส่วนร่วม หรือ การสร้างความเข้มแข็ง หรือการสร้างเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพตนเองของชุมชน ท้องถิ่น และหน่วยงานในพื้นที่ 2.4 เป็นโครงการคาดว่าจะมีผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง 2.5 เป็นโครงการที่มีความเป็นไปได้ในการดำเนินงาน ใช้เทคโนโลยีในราคาประหยัด และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น 3. โครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจะต้องไม่เป็นโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณโดยเฉพาะอยู่แล้ว ได้แก่ การตรวจคัดกรองความเสี่ยง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และอ้วนลงพุง) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก งานอนามัยโรงเรียน การจัดบริการในชุมชน การวางแผนครอบครัว งานอนามัยแม่และเด็กตามชุดสิทธิประโยชน์ เช่น การฝากครรภ์, การให้วัคซีน ฯลฯ 4. ข้อห้ามของการใช้จ่ายงบประมาณ คือ ใช้เพื่อการศึกษาดูงาน ใช้ในการจัดซื้อจัดหาที่ดินสิ่งก่อสร้างและใช้ในการจัดซื้อครุภัณฑ์ 5. โครงการที่เสนอขอต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน/ คณะกรรมการบริหารวิชาการของหน่วยงาน 6. การเสนอของบประมาณและการเบิกจ่าย ให้เป็นไปตามระเบียบและอัตราของกระทรวงการคลัง
30
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการงบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ P&P ปี2558
กิจกรรม 1.การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การพัฒนาเครือข่ายป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย 3.การส่งเสริมกลไกสนับสนุนและติดตามสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนกลไกระดับเขต การพัฒนาศักยภาพ 4.การพัฒนาระบบ กลไกเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตามกลุ่มวัย ส่งเสริม/สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบ กลไกเพื่อการเข้าถึงบริการ 5. การสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการและกำกับติดตามการทำงานของหน่วยบริการ การสนับสนุน การกำกับติดตาม 6.การสนับสนุนการพัฒนา บริการเพื่อการเข้าบริการ ตามบริบทของพื้นที่. กรอบของ PP มีระบบ/กลไก เพื่อเพิ่มการ เข้าถึงบริการของ ประชาชน มีรูปแบบการ จัดบริการที่เอื้อ/ ส่งเสริม การ เข้าถึงบริการของ ประชาชนใน พื้นที่พิเศษ (เขต เมือง/ทุรกันดาร) หรือ กลุ่มเป้าหมาย เฉพาะ เช่น กลุ่มผู้ใช้แรงงาน/ เกษตรกร ฯลฯ มีบริการทางเลือก เพื่อเพิ่มการ เข้าถึงบริการ เป้าหมาย ความอยากได้ของส่วนกลางเป็นการกำหนดกรอบงาน PP หา Node ของเรื่อง Teenage preg ขยาย
31
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.