ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยÉmilien Robillard ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) ในงานสร้างสุขภาพ
น.พ.อมร นนทสุต
2
ทำไมจึงต้องใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) เหตุผล
“สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องทำเอง” ยังเป็นสัจจธรรม การสื่อสารคือหัวใจสำคัญในการส่งเสริมหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สังคมไทยพึ่งพาข้อมูลข่าวสารทาง Social media (Facebook, Twitter, Instagram etc.) ด้วยอุปกรณ์สมัยใหม่ (โทรศัพท์มือถือ/ Tablet/ Internet/ TV / PC ) จนเป็น “สังคมก้มหน้า” ไปแล้ว การสื่อสารในระบบสาธารณสุขมูลฐานควรได้รับการปรับปรุงโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพราะจะมีผลกระทบโดยตรงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
3
บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับแนวคิดการพัฒนาสุขภาพ ยุคประเทศไทย 4.0 ใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ (SLM) ใช้ค่ากลางและ บูรณาการ โครงการ ปรับบทบาท ภาค รัฐและประชาชน ปรับบทบาท ภาค รัฐและประชาชน บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาและบริหาร จัดการข้อมูล
4
ระบบสื่อสารในโครงการสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสื่อสารดิจิตัลเพื่อพัฒนาสุขภาพ (Conceptual Model) ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) สร้างโปรแกรมการใช้ ข้อมูลสุขภาพ (apps) ระบบสื่อสารในโครงการสุขภาพ กำหนดเครือข่ายสังคม ใช้สื่อสังคม และapps. ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI)
5
การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและบทบาทหน้าที่ของเครือข่ายสังคม
แบ่งเครือข่ายสังคมออกเป็นสองกลุ่มเป้าหมาย คือเป้าหมายหลัก และเป้าหมายรอง เป้าหมายหลักคือผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถืออยู่แล้วในปัจจุบัน สร้าง apps. สำหรับกลุ่มเป้าหมายหลักเพื่อใช้ประโยชน์ ภายในเครือข่าย เป้าหมายหลักแบ่งย่อยออกเป็นสามประเภทคือ (1) บุคคล (2) อสม. (3) เจ้าหน้าที่ เป้าหมายหลักติดต่อสื่อสารกับเป้าหมายรองภายในบริบทที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน (ก) ในฐานะสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน (ข) อสม.ติดต่อกับครอบครัวในเครือข่าย (ค) ท้องถิ่น/ท้องที่ /ประชาชน พัฒนาแผนงาน โครงการ และ สร้างนวัตกรรม ร่วมกัน กลุ่มเป้าหมายรอง กลุ่มเป้าหมายหลัก เครือข่ายสังคม
6
การใช้เทคโนโลยีสื่อสารเพื่อพัฒนาสุขภาพ ยุค ประเทศไทย 4.0
(Conceptual Model) ปรับระบบสื่อสาร เครือข่ายสังคม
7
การพัฒนาและบริหารจัดการข้อมูล
สร้างทีมดูแลข้อมูลในระดับต่างๆ รวมทุกฝ่ายทั้งรัฐ ท้องถิ่น และประชาชน ทีมกำหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการใช้ข้อมูล (ใช้เพื่ออะไร อย่างไร) สร้างระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับกลุ่มเป้าหมายโดยจำแนกเป็นรายกลุ่มเป้าหมายและรายบุคคล ใช้ข้อมูลที่หน่วยงานทุกฝ่ายมีอยู่เดิมเป็นจุดตั้งต้น สำรวจเพิ่มเติมเฉพาะครอบครัวของกลุ่มเป้าหมายหลักผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ (SMART sampling/ survey) สร้างระบบข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ใช้ระบบข้อมูลดิจิตัล ( Big Data , AI ) เพื่อความคล่องตัวในการค้นหา เปลี่ยนแปลง สร้างความเชื่อมโยงกับผู้มีหน้าที่วิเคราะห์ ติดตาม แก้ปัญหาการปฏิบัติงาน สร้างระบบการ Update ข้อมูล
8
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) คืออะไร ?
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Big Data คือ การรวบรวมข้อมูลทั้ง Structured (พวกที่เก็บโดยมีโครงสร้าง เช่นตาราง ข้อมูล) และ Unstructured (พวกที่เป็น ข้อความยาวๆ รูปภาพ และ วิดีโอ ต่าง ๆ) มาทำการ ประมวลวิเคราะห์และนำไปใช้ประโยชน์ การทำงานกับข้อมูลขนาดใหญ่ย่อมต้องใช้วิธีที่แตกต่าง ทั้งเทคนิค เครื่องมือ ตลอดจนโครงสร้าง และมุมมอง (Architecture) ทั้งหมดนี้มีจุดประสงค์คือเพื่อแก้ปัญหาที่พบใหม่ หรือแก้ปัญหาเก่าด้วยวิธีการใหม่
9
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่
แหล่งที่มา : Marko Grobelnik Jozef Stefan Institute รูปแบบการใช้ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล ประเด็นเพิ่มเติม
10
เกี่ยวกับกระบวนการของ Big Data
การได้มาซึ่งข้อมูล (Generate data) ใช้แบบจำลองแนวคิด (Conceptual model) ที่แสดงไว้ในภาพนี้ ในการสำรวจ และสร้างฐานข้อมูล (Database) ใช้ On-line survey software tool ช่วยสร้างและจัดการสำรวจ เช่นโปรแกรม eSurveysPro. การจัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูล (Aggregate and analyze data) ด้วยเหตุที่ข้อมูลมีจำนวนมากและหลากหลาย การสรุปเหตุผลเพื่อนำไปใช้อาจยุ่งยากซับซ้อนอย่างยิ่ง จึงควรใช้บริการ (ฟรีหรือเสียเงิน) ของผู้ให้บริการหรือผู้จำหน่ายโปรแกรม Cloud computing ที่เหมาะสม เช่น Google App Engine, Microsoft Azure. การใช้ข้อมูล การให้คำแนะนำต่อกลุ่มเป้าหมายจะได้รับการตอบสนองมากหรือน้อยขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (App) ที่สร้างขึ้นมีพื้นฐานมาจากข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับผู้รับทั้งในเชิงพฤติกรรมและเนื้อหา
11
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ Big Data
รูปแบบการสื่อสารเปลี่ยนแปลงอย่างไรสำหรับประชากรกลุ่มต่าง ๆ (เพศ วัย ภูมิประเทศ อาชีพ ฯลฯ) เครือข่ายการสื่อสาร ใครสื่อสารกับใคร เทคนิคการสื่อสารที่ใช้โดยประชากรกลุ่มต่าง ๆ ลักษณะรูปแบบข้อมูลที่สื่อสาร ปริมาณการค้นหาข้อมูลทางสุขภาพ (เช่น Internet search / log-in) การรับรู้และใช้ประโยชน์ข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพ การนำเสนอข้อมูล คำแนะนำ /โครงการที่เป็นประโยชน์ / สินค้าสุขภาพ การสร้าง Specialized App. เกี่ยวกับสุขภาพ ฯลฯ
12
บทสรุปของ Big Data Big Data มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง เพียงแต่เราไม่คุ้นเคยที่จะใช้ประโยชน์จากมัน ความนิยมใน Big Data เพิ่งจะเริ่มขึ้นเร็วๆนี้ และกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว ปัญหาที่ตามมาคือ ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญที่จะสร้างโปรแกรมใช้งาน จะใช้ Big Data โดยไม่ต้องลงทุนมากได้หรือไม่ ? คำตอบคือ ได้ ปัจจุบันมีเครื่องมือช่วยเก็บ รวมทั้งมีโปรแกรมช่วยสร้างและใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Cloud Computing) สำหรับให้เช่าหรือซื้อหาในราคาไม่แพงหลายตัว ปัญหาอยู่ที่ความรอบรู้ในการใช้ประโยชน์จาก Big Data
13
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence - AI)
(3) ระบบ AI ที่คิดอย่างมีเหตุผล โดยใช้ข้อมูลและรูปแบบการคำนวณ (Algorithm) (4) ระบบ AI ที่กระทำอย่างมีเหตุผล เช่นระบบขับรถอัตโนมัติ ปัจจุบัน เราใช้ในรูปที่คิดอย่างมีเหตุผลเป็นหลัก โดยการนำปัญญาประดิษฐ์ไปใช้แก้ปัญหา โดยไม่ให้มี อารมณ์หรือความรู้สึกของมนุษย์มาเกี่ยวข้อง
14
โอกาสในการใช้ปัญญาประดิษฐ์ด้านสุขภาพ
แม้ว่าระบบ AI จะไม่สามารถเข้ามาแทนที่ บุคลากรการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างเต็มรูป แบบ แต่เชื่อว่าจะกลายเป็นผู้ช่วยที่สำคัญ เช่น เป็นโปรแกรมบริหารจัดการข้อมูลของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งช่วยในการตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทำนายความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายโดยการใช้เทคโนโลยี AI แล้วให้ความรู้และแนวทาง การจัดการและปฏิบัติตนเพื่อรักษาสุขภาพ ช่วยวางระบบติดตามและประเมินผล รวมทั้งการใช้ตัวชี้วัด เป็นห้องสมุดดิจิตอลที่รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ วิธีป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ (เช่นการใช้ Search engine ของ Google, Wikipedia) สร้างโปรแกรมซอฟท์แวร์ (App.) ต่าง ๆสำหรับโทรศัพท์มือถือ ใช้เทคนิคแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนใช้ประโยชน์จากปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในระบบ สาธารณสุข
15
การประยุกต์เทคโนโลยีสื่อสารดิจิตัล ภายใต้โครงสร้างของ SLM
ประชาชน ใช้เครือข่าย / สื่อ สังคม / App.. ภาคี ปรับระบบสื่อสาร ใช้ AI ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สร้างนวัตกรรม กระบวนการสื่อสาร กระบวนการ นโยบายและการ สนับสนุนจากรัฐ ฝึกหัด / อบรม / ใช้ On-line survey, Cloud Computing ออกแบบ / สำรวจ / วิเคราะห์ / สร้างฐานข้อมูล Big Data พื้นฐาน 15
16
5. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน
การสร้างระบบสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ประชารัฐจัด ระเบียบโครงการ 3. ปฎิรูป 1.ประชารัฐกำหนด ระบบสื่อสาร 6. มอบอำนาจ/ ขยายเครือข่าย ประชารัฐ 4. สร้างนวัตกรรม กระบวนการ 5. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน
17
สรุป การปรับระบบสื่อสารสู่ดิจิตัลเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Big Data
AI Apps,
18
ตัวอย่าง apps. เพื่อสุขภาพ
Lifestyle Health and Fitness apps. Diabetes apps. Gout apps. Eating and Drinking Mental Health Looking after Yourself (Senior Health) Self -management (Teens and young adults) Services & Support Screening and Surveillance Social Networking and Support Health Library Volunteerism Planning for Change District Health Board Health Service Innovations
19
ค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ขอขอบคุณ ค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.