ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร นางสาวสรญา ศักดิ์คำ นักศึกษาโปรแกรมวิชา เกษตรศาสตร์ (สัตวบาล) รหัสนักศึกษา เลขที่ 33
2
ทำไมต้องมีการเสริมไวตามินอีในสูตรอาหารของสุกร ?
ทำไมต้องมีการเสริมไวตามินอีในสูตรอาหารของสุกร ? เสริมให้คุณภาพซากดีขึ้นอย่างไร ??
3
ซากสวย คือ ????? ซากที่มีปริมาณเนื้อแดงมาก ไขมันน้อยหรือ
ซากสวย คือ ????? หมายถึง ซากที่มีปริมาณเนื้อแดงมาก ไขมันน้อยหรือ ซากที่มีปริมาณเนื้อแดงมาก ไขมันน้อย รวมทั้งมีคุณภาพเนื้อและคุณภาพไขมันดี
4
ซากสวยเพื่อใคร ??? ผู้เลี้ยงหมู ผู้จับหมู เจ้าของโรงฆ่าหมู
ซากสวยเพื่อใคร ??? ผู้เลี้ยงหมู ผู้จับหมู เจ้าของโรงฆ่าหมู พ่อค้าเขียงหมู ผู้บริโภคหมู
5
** ตัวชี้วัดคุณภาพซาก **
** ตัวชี้วัดคุณภาพซาก ** น้ำหนักซาก องค์ประกอบของซาก (สัดส่วนของเนื้อแดง ไขมันและกระดูก) รูปทรงของกล้ามเนื้อในซาก (การสร้างของกล้ามเนื้อในสะโพก) คุณภาพของเนื้อ (สี การอุ้มน้ำ ความนุ่ม) คุณภาพของไขมัน (องค์ประกอบของไขมัน)
6
การประเมินคุณภาพซาก
7
แนวทางการพัฒนาคุณภาพซาก
ปรับปรุงพันธุ์ ปรับโภชนะในสูตรอาหาร ควบคุมปริมาณอาหารที่ให้ จำกัดน้ำหนักเข้าโรงฆ่า แยกเพศในการขุน โรงเรือนอยู่สบาย นำระบบเกรดซากมาใช้ ในการสัมมนาครั้งนี้เลือกการปรับโภชนะในสูตรอาหาร โดยการเติมไวตามิน อีในสูตรอาหาร
8
ตาราง แสดงผลการเสริมไวตามินอีต่อลักษณะซากของสุกร
รายการ ระดับการเสริมไวตามินอี(มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร) %CV น้ำหนักมีชีวิต (kg) น้ำหนักซากอุ่น (kg) ความหนาไขมันสันหลัง (นิ้ว) % ซากอุ่น (เปอร์เซ็นต์) 75.28a 75.00a 75.36a 75.92a 76.54b* 2.35 พื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน (นิ้ว) ที่มา: ศิริลักษณ์(2545)
9
แนวทางการพัฒนาคุณภาพเนื้อ
- คัดเลือกสายพันธุ์ - ใช้สารเสริมบางตัว - ใช้ Probiotic ในสูตรอาหาร - ปฏิบัติตามมาตราฐานการผลิตที่ถูกต้อง - ปรับปรุงรูปแบบการจำหน่ายเนื้อสัตว์ - กำหนดมาตราฐานขั้นต่ำของคุณภาพซาก&คุณภาพเนื้อและบังคับใช้ - ให้ความรู้แก่ผู้บริโภค
10
การเสริมไวตามินในสูตรอาหาร
11
ไวตามิน อี ชื่อทางวิทยาศาสตร์ คือ โทโคฟีรอล ( Tocopherol )
- ไวตามิน อี จะพบมากในพืช และสัตว์ โดยเฉพาะจะพบมากในพืชน้ำมัน - ไวตามิน อี จะสามารถลดปฏิกริยาออกซิเดชัน (oxidation) ซึ่งทำให้คุณภาพ ซากของสุกรดีขึ้น
12
ผลของการขาดวิตามิน อี
ผลของการขาดวิตามิน อี
13
การเสริมไวตามิน อี ระดับ 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
ระดับ 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีเปอร์เซ็นต์ซากอุ่นของสุกรต่ำกว่ากลุ่มอื่น แต่พบว่าการเสริมไวตามินที่ระดับ 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีความหนาไขมันสันหลังต่ำสุด การเสริมไวตามิน อี ไม่มีผลต่อพื้นที่หน้าตัดสันของสุกร ระดับ 300 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนสูงกว่ากลุ่มอื่นทั้งเนื้อสันหลังและเนื้อสะโพก
14
ตารางแสดงผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของเนื้อ
สิ่งที่วิเคราะห์ ระดับการเสริมไวตามินอี(มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร) ส่วนเนื้อสันความชื้น (%) 67.81c 68.28bc 68.69bc 60.06a 69.43ab ไขมัน (%) a 16.12b 15.52b 12.68c 9.69d โปรตีน (%) c 72.92c 75.68c 84.64a 81.38b ส่วนเนื้อสะโพกความชื้น (%) 67.79c 69.38ab 70.08a 69.46ab 68.52bc ไขมัน (%) a 14.41b 14.04c 13.54b 10.26c โปรตีน (%) ab 77.84a 76.65a 76.91a b ที่มา : ศิริลักษณ์(2545)
15
เนื้อหมูที่มีคุณภาพย่อมได้มาจากหมูที่มีความสุข
ขอขอบคุณผุ้เข้าร่วมฟังสัมมนาทุกท่าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.