ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักคิด และการประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
องค์ความรู้ที่เกิดจากการขับเคลื่อน โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
2
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ทางสายกลาง พอประมาณ เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญา ขยันอดทน แบ่งปัน) นำไปสู่ สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม
3
เศรษฐกิจพอเพียง & ทฤษฎีใหม่
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ความพอเพียงระดับชุมชน/องค์กร ความพอเพียงระดับบุคคล ความพอเพียงระดับประเทศ เศรษฐกิจพอเพียง แบบพื้นฐาน แบบก้าวหน้า ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑
4
สรุปผลการสำรวจความรู้ความเข้าใจ ของประชาชนที่มีต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (สวนดุสิตโพล ๒๕๔๗)
ปัจจุบัน การรับรู้มีอยู่ ๒ ประเภท คนที่รู้ เข้าใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างชัดเจนและนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต คนที่ไม่เข้าใจปรัชญานี้อย่างลึกซึ้งเพราะไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
5
สิ่งที่ประชาชนเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
การรู้จักความพอดี พอประมาณ ไม่โลภ 52.76% การกินอยู่อย่างประหยัดเหมาะกับฐานะ 32.76% การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า เพียงพอ 5.05% ความมีเหตุผล/การใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล 3.94% การดำรงชีวิตความเป็นอยู่ที่พึ่งพาตนเองได้ 2.67% การกินดี อยู่ดีมีรายได้สมดุลกับรายจ่าย 1.81% การทำเศรษฐกิจแบบเรียบง่าย 0.78% ประหยัด ขยัน เพื่อมีพอกินพอใช้ 0.22% ความสามัคคี ความสงบสุขในสังคม 0.02% เศรษฐกิจพอเพียงในความเข้าใจของประชาชน ยังอยู่ในเรื่องของความพอประมาณ ประหยัด ความพอดี (มากกว่าร้อยละ 50) กว่าร้อยละ 80 สามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้กับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน เช่น การประหยัด การรู้จักคิด เพิ่มความรอบคอบให้กับตนเอง
6
ข้อเสนอแนะ (สวนดุสิต)
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมีมากกว่า คำว่า ประหยัด พอดี เดินทางสายกลาง ดังนั้น ควรกระตุ้นให้เห็นความสำคัญและเข้าใจอย่างถ่องแท้ ของการนำปรัชญา ฯ ไปใช้ เช่น การอยู่ด้วยกันอย่างสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การเผยแพร่ในระดับชุมชนตามภูมิภาค ควรใช้สื่อที่เป็นบุคคล เช่น ผู้นำชุมชน ครู ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน เพื่อช่วยในการสร้างสรรค์กิจกรรม เป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลื่อนเพื่อให้ประชาชนตระหนักว่า เศรษฐกิจพอเพียง คือสิ่งใด มี ประโยชน์อย่างไร ควรมีกิจกรรมที่สามารถเป็นตัวอย่างที่ชัดเจน รณรงค์ให้เห็นความสำคัญและ กระทำให้เกิดผลที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม การวิจัยครั้งต่อไป ควรสำรวจเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ที่ประชาชนสนใจ หรืออยากให้เกิดขึ้นโดยนำหลักปรัชญาฯ เข้าไปเกี่ยวข้อง ควรศึกษาถึงความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ผลกระทบที่เกี่ยวข้อง หลังจากได้รับการสื่อสารให้ความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาฯ
7
การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก การทำอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลใน แต่ละสัดส่วนแต่ละระดับ ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเศรษฐกิจ
8
แนวทางการประยุกต์ใช้ ในระดับต่างๆ
9
เศรษฐศาสตร์ และ เศรษฐกิจพอเพียง (ดร.กอบศักดิ์ฯ / ดร.สุทธาภาฯ)
เศรษฐศาสตร์ และ เศรษฐกิจพอเพียง (ดร.กอบศักดิ์ฯ / ดร.สุทธาภาฯ) ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การพัฒนาประเทศ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Inductive รวบรวมจาก ประสบการณ์ ช่วยประชาชน Deductive จากข้อมูล และทฤษฎี
10
ข้อสังเกตทางทฤษฎีของเศรษฐกิจพอเพียง
มีพัฒนาการยาวนานบนบริบทของกระแสแนวคิดทางเลือกของการพัฒนา แนวคิดและวิถีปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของโลกทัศน์แบบองค์รวม / เป็นศาสตร์แบบบูรณาการ (Integral Sciences) ความรู้ของชุมชนไทยในภาคชนบท/เกษตร เรื่องความพอเพียงดำรงอยู่แล้วในวิถีชีวิต / การผลิต การดำรงชีวิต (ความรู้/ประสบการณ์/ภูมิปัญญา) ของผู้คนในภาคเกษตร หรือที่ต้องพึ่งพิงระบบนิเวศน์ธรรมชาติ และระบบความสัมพันธ์ทางสังคมวัฒนธรรมมีความสอดคล้องกับหลักปรัชญาฯ
11
แนวทางการประยุกต์ใช้ ในระดับครอบครัว และชุมชน
12
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล
13
เศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพียง (ดร.กอบศักดิ์ฯ / ดร.สุทธาภาฯ)
Neoclassical Economics พยายามเข้าใจ Human Choice และอธิบาย Pattern ที่เรา Observe จากกรอบแนวคิด ที่มีอยู่ Risk Loving Social Status Lack of Self Discipline Prudence Person Addiction Risk Averse Short-sighted Long-sighted Envy Prudence พฤติกรรมของคน
14
ภาพรวมชุมชน เวทีการเรียนรู้ ปัจจุบัน ปี 2540 ปี 2544 ยุคที่ 1 ยุคที่ 4
ยุคที่ 2 ยุคที่ 3 การรวมกลุ่ม การออมทรัพย์ ทุนทางสังคม เกษตรผสมผสาน ยุควิกฤต คืนสู่ถิ่นเกิด เศรษฐกิจพอเพียง แนวทางมิยาซาว่า แผนชุมชน กองทุนหมู่บ้าน SIF พอช. กระตุ้นเศรษฐกิจ OTOP วิทยุชุมชน SML เวทีการเรียนรู้
15
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ชุมชน
บ้านร่องกาศใต้ แพร่ บ้านม่วง-หวานโคกเจริญ บุรีรัมย์ ชุมชนคอยรุตจั๊กวา กทม. บ้านหนองกลางดง ประจวบฯ บ้านวังลุ่ม ระนอง
16
จุดเด่นของพื้นที่ที่นำไปสู่การประยุกต์ใช้ฯ
พระสงฆ์เป็นผู้นำการพัฒนาชุมชน ใช้วัฒนธรรมประเพณีเป็นจุดเชื่อมร้อยจิตใจ บ้านร่องกาศใต้ มีกลุ่มข้าวกล้องเพื่อสุขภาพ/กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้าน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ มีสหกรณ์ร้านค้าชุมชน โรงเรียนชาวนาเกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนปุ๋มผญ๋า” พัฒนาความรู้คู่คุณธรรม
17
จุดเด่นของพื้นที่ที่นำไปสู่การประยุกต์ใช้ฯ
เน้นคุณค่าของชุมชน คือ สร้างเอกลักษณ์ สัญลักษณ์ พิธีกรรม เน้นกิจกรรม เช่น ออมทรัพย์ ร้านค้าชุมชน ปุ๋ยอินทรีย์ แปลงผักสวนครัว อนุรักษ์ควายไทย บ้านม่วงหวาน- โคกเจริญ มีสวัสดิการชุมชน ในเรื่องการศึกษาการพัฒนา การเรียนรู้ การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
18
จุดเด่นของพื้นที่ที่นำไปสู่การประยุกต์ใช้ฯ
ดำรงเอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เป็นชุมชนสีเขียว ชุมชนคอยรุตกั๊ตวา หนองจอก กทม เชื่อมประสานกันหน่วยงานราชการเป็นอย่างดี จัดกลุ่มปกครองตนเอง เป็นชุมชนต้นแบบหลายอย่าง ใช้หลักศาสนาฟื้นฟูจิตใจ ฟื้นฟูชุมชน น้ำฝนดื่มได้
19
บ้านม่วงหวาน-โคกเจริญ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน
แนวทางการดำเนินชีวิตของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านม่วงหวาน-โคกเจริญ ปลูกข้าวเพื่อกินเหลือจึงขาย กลุ่มแม่บ้านผลิตสินค้าเพื่อสร้างรายได้เสริม กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ ทำเองภายในชุมชน เลี้ยงไหม ห้ามกินเหล้าในงานศพ เงื่อนไขความรู้ ความพอประมาณ มีแกนนำ ผลัดเปลี่ยนกัน ไปดูงาน เงื่อนไขคุณธรรม ในการจัดงานต่างๆมีการทำบัญชีรายรับ-จ่าย การควบคุมปริมาณอาหารให้เหมาะสม กับจำนวนแขก ความมีเหตุผล ยึดมั่นในประเพณี ที่ดีงาม ปลูกพืชเสริมหลังเก็บข้าวเกี่ยว เลี้ยงสัตว์ มีกลุ่มออมทรัพย์/จัดร้านค้าชุมชน มีฉางข้าวส่วนรวม กองทุนสวัสดิการชุมชน ความมีภูมิคุ้มกัน
20
พัฒนาการชุมชนด้านเศรษฐกิจพอเพียง
ปัญหา ข้อมูล การวิเคราะห์ปัญหา จุดประกาย แกนนำความคิด ๑. ขั้นก่อร่างสร้างตัว พึ่งตนเอง การแสวงหาทางเลือก แผนชุมชน ประสาน รัฐช่วยทำ ลดรายจ่าย พึ่งตนเอง เน้นการออม สวัสดิการ ๒. ขั้นลงมือปฏิบัติการ ดำเนินกิจกรรม ขยายกิจกรรม เรียนรู้ ใช้เป็น ขยายกลุ่ม ๓. ขั้นขยายผลภายในชุมชน ดูจำ การสร้างเครือข่าย องค์การพันธมิตร องค์กร หน่วยงานรัฐ เอกชน ๔. ขั้นสร้างพลังและความเข้มแข็ง ชุมชนข้างเคียง ขยายสู่ตำบล อำเภอ จังหวัดจนสู่ระดับประเทศ
21
แนวทางการประยุกต์ใช้ ในองค์กร และภาคธุรกิจเอกชน
22
เศรษฐกิจพอเพียงและภาคธุรกิจ (Modern Sector)
ภาคธุรกิจเป็นปัจจัยที่จะกำหนด ค่าเงิน ค่าจ้าง การ เจริญเติบโตของระบบ หลายคนคิดว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของชุมชนและ ชนบทเท่านั้น แต่ความจริงแล้ว เศรษฐกิจพอเพียงสามารถ ประยุกต์ใช้ได้กับภาคธุรกิจเช่นเดียวกัน หัวใจคือการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจที่พอประมาณ มี เหตุผล และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง บนพื้นฐานของ ความรู้และคุณธรรม
23
กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจเอกชน
บ้านอนุรักษ์กระดาษสา ชื่อไทยดอทคอม แพรนด้าจิวเวอรี่ ปูนซิเมนต์ไทย ลักษณะของกิจการ ธุรกิจชุมชน ธุรกิจ SME บริษัทจดทะเบียน กลุ่มอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ผลิตภัณฑ์สำคัญ ผลิตภัณฑ์กระดาษสา โดเมนชื่อภาษาไทยและบริการให้คำปรึกษาในการออกแบบ พัฒนา Website เครื่องประดับ ปูนซิเมนต์และวัสดุก่อสร้างกระดาษ เยื่อกระดาษและบรรจุภัณฑ์ และปิโตรเคมี อายุของธุรกิจ 40 ปี 6 ปี 31 ปี 92 ปี รายได้ในปี 2547 ประมาณ 3,160 ล้านบาท ประมาณ 190,000 ล้านบาท อัตราการขยายตัว - จำนวนพนักงานประจำเพิ่มขึ้นจาก 17 คน ในปี 2537 เป็น 45 คน ในปี 2547 - จำนวนผลิตภัณฑ์ใหม่ต่อปีเพิ่มขึ้น จากประมาณ 100 ผลิตภัณฑ์ ในปี 2537 เป็นประมาณ 1,000 ผลิตภัณฑ์ ในปี 2547 - รายได้ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 12 ต่อปีระหว่าง - รายได้ขยายตัวร้อยละ 18 ต่อปีระหว่าง จำนวนพนักงาน พนักงานประจำ 45 คน และสมาชิกอีกประมาณ 450 คน 25 คน 3,500 คน 18,300 คน ตลาดสำคัญ ร้อยละ 20 ขายในประเทศ ร้อยละ 80 ขายต่างประเทศ ร้อยละ 70 ขายในประเทศ ร้อยละ 30 ขายต่างประเทศ
24
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
บริษัทชื่อไทยดอทคอม ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี รับโครงการตามจำนวน พนักงานที่มี ไม่หวังทำกำไรสูงระยะสั้น ไม่กู้ยืมจากภายนอก และ เน้นขยายเฉพาะธุรกิจ ที่บริษัทมีความเชี่ยวชาญ ใช้เวลาทำการวิจัยตลาด ก่อนเริ่มดำเนินธุรกิจ เสนอบริการที่ตรงกับความ ต้องการลูกค้าไทย ให้บริการทางเทคโนโลยี ที่แตกต่างและชัดเจน พัฒนาความรู้พนักงาน ตั้งศูนย์ที่ปรึกษา/ ศูนย์วิจัย หารายได้จากการใช้เทคโนโลยีฯ ในการทำธุรกิจของลูกค้า / สร้างมูลค่าเพิ่มผ่านฐานความรู้ รักษาการหมุนเวียนของพนักงานให้อยู่ในอัตราต่ำ ทบทวนแผนการตลาดของบริษัท มีการชะลอแผนโฆษณา และนำงบฯมาสำรองในช่วงวิกฤต เงื่อนไข ความรู้ ตั้งศูนย์เทคโนโลยี ศูนย์ให้คำปรึกษาและศูนย์วิจัย จัดฝึกอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่อง จัดกลุ่มพันธมิตรกับผู้ให้บริการ Website ภาษาไทย เงื่อนไข คุณธรรม รักษาความลับของลูกค้าอย่างเคร่งครัด ตั้งชมรมไทยพัฒน์ แบ่งกำไรร้อยละ ๑๐ เพื่อสนับสนุนงานสังคม จัดฝึกอบรมด้านจิตใจให้แก่พนักงานอย่างสม่ำเสมอ
25
ความมีเหตุผล ความรู้ คุณธรรม
ระบบ ICT พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ความรู้ คุณธรรม เทคโนโลยี (Technology) ใช้เทคโนโลยีที่เป็นความเชี่ยวชาญหลักในการให้บริการเท่านั้น เป้าหมายหลักในการพัฒนาทางเทคโนโลยีเพื่อหารายได้จากทางอื่นที่ไม่ใช่เพียงแค่การโฆษณา หากมีปัญหาทางด้านโดเมนภาษาอังกฤษ จะไม่เกิดผลกระทบกับโดเมนภาษาไทย มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีจากความคิดเห็นของลูกค้าตลอดเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของคณะกรรมการสารสนเทศแห่งชาติทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา สารสนเทศ (Information) ยินดีที่จะโอนข้อมูลทั้งหมดให้แก่หน่วยงานอิสระที่เป็นกลางเพื่อควบคุมโดเมนไทย มีการนำข้อมูลทางงานวิจัย มาพัฒนาร่วมกับแผนงานทางการตลาด มีการตั้งชมรมพันธมิตรทางธุรกิจทำให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลทางธุรกิจ มีการศึกษาเพิ่มเติม ทำวิจัยเขียนบทความทางด้าน E-Commerce ไม่เคยเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้า บุคลากร (People) บริษัทยังไม่มีความจำเป็นในการเพิ่มพนักงาน เพราะบริษัทมีความยืดหยุ่นเพียงพอ ให้ความสำคัญกับการคัดสรรพนักงานเข้ามาทำงาน เพื่อที่จะรักษาวัฒนธรรมองค์กรไว้ บริษัทรวบรวมทีมวิศวกรคนไทยซึ่งมีความเชี่ยวชาญหลักทางด้านเทคโนโลยี มีการอบรมทางด้านทักษะการทำงาน และทางด้านจิตใจ พนักงานมีมาตรฐานจิตใจที่สูง ซึ่งทางบริษัทยังไม่เคยมีพนักงานที่ทุจริต กระบวนการ (Process) บริษัทจะไม่รับงานมากเกินกำลังถ้าไม่มีความจำเป็น ทั้งนี้อยู่ในขอบเขตของความอยู่รอดทางธุรกิจ จดโดเมนภาษาไทย เพื่อคนไทยโดยคนไทยไม่มีความจำเป็นที่จะต้องจ่ายเงินออกนอกประเทศ บริษัทพิจารณาแยกหน่วยงานที่มีโอกาสในการเจริญเติบโตออกเป็นอีกบริษัทย่อยตามความเชี่ยวชาญ: ศูนย์เทคโนโลยี ศูนย์วิจัย และศูนย์ที่ปรึกษา มีการนำความรู้และทักษะที่ได้จากศูนย์เทคโนโลยีมาพัฒนาศูนย์ที่ปรึกษา นำความรู้จากศูนย์วิจัยมาประกอบการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ มีการกรองโอกาสที่เข้ามาทุกครั้ง โดยดูความเหมาะสมทางด้านความสามารถและผลกระทบต่อสังคม
26
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
บ้านอนุรักษ์กระดาษสา ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี รับคำสั่งตามกำลัง/ ทุนที่มี รายได้จากการขายจะจ่าย ค่าแรงและวัตถุดิบก่อน ไม่กู้ยืมเพื่อขยายธุรกิจ ฝึกอบรมพนักงาน อย่างต่อเนื่อง สร้างผลิตภัณฑ์ที่มี เอกลักษณ์เฉพาะ ปอสา มีจำกัด : เน้นการ นำกลับมาใช้ใหม่ พัฒนาแหล่งพลังงาน สำรองจากการผลิต ใช้สารเคมีในการผลิตให้ น้อย ตามความต้องการตลาด ผลิตสินค้าหลากหลาย ใช้แรงงานท้องถิ่น ตัดปอสา และทำไร่ ต้นสาในจังหวัดเชียงราย ทำให้ได้วัตถุดิบราคาดี แบ่งเงินจากเงินหมุนเวียนประจำวันและเงินสำรองระยะยาว เงื่อนไข ความรู้ ปรับปรุงเทคโนโลยีแบบเดิม มาใช้เครื่องมือการผลิตสมัยใหม่แทน ให้คนภายนอกมาเยี่ยมชมและศึกษาการบริหารธุรกิจสม่ำเสมอ เงื่อนไข คุณธรรม เจ้าของธุรกิจมีความเพียรในการดำเนินธุรกิจจนสำเร็จ มีระบบการควบคุมคุณภาพสินค้า และรักษาความลับลูกค้าเคร่งครัด สร้างบ่อบำบัดน้ำเสียและเน้นการจ้างงานในท้องถิ่น มีกิจกรรมอบรมคุณธรรมให้พนักงาน ส่งเสริมการออม และมีเมตตา
27
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
แพรนด้า จิวเวอรี่ ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ผลิตเพื่อกลุ่มลูกค้าชั้นดีที่ มีช่องทางการขายชัดเจน ยึดหลักความเสี่ยง ปานกลางเพื่อกำไรปกติ ยึดหลักการแบ่งปันและ ไม่เบียดเบียนคู่ค้าธุรกิจ มีเครือข่ายผู้ประกอบการ รายย่อย ช่วยจัดส่งงาน เมื่อยอดการสั่งสินค้าเพิ่ม สร้าง Brand ของตัวเองอย่าง ต่อเนื่อง และมี Brand ต่างกัน สำหรับแต่ละระดับของตลาด ตรวจสอบการทำงานของ บริษัทเทียบกับคู่แข่งอย่าง สม่ำเสมอ ขยายการผลิตไปยังประเทศ ที่มีค่าแรงถูก มีความยืดหยุ่นในการเสนอ ผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ กระจายผลิตภัณฑ์ในหลายระดับและขยายตลาดในหลายประเทศ ให้ราคาแก่ Suppliers อย่างเหมาะสม มีนโยบายจ่ายเงินปันผล ไม่เกิน ๖๐%ของกำไรสุทธิ ประเมินความเสี่ยงของกิจการทุกๆ ๖ เดือน ป้องกันความเสี่ยง โดยซื้อขายเงินตราล่วงหน้า เงื่อนไข ความรู้ พัฒนาและเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจเสมอๆ จัดทำโครงการศึกษาทวิภาคีเพื่อเด็กด้อยโอกาสและพนักงานของบริษัท ร่วมในเครือข่าย SVN ในการพัฒนาความรู้และมาตราฐานธุรกิจ เงื่อนไข คุณธรรม จัดโครงการร่วมบริจาคโลหิตให้สภากาชาดเป็นประจำทุก ๓ เดือน เป็นโครงการโรงงานสีขาวดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในองค์กร
28
บูรณาการ “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” กับ “องค์การ”
สมดุล ความพอประมาณ เครือซิเมนต์ไทย HRM HRD HRE คุณธรรม ความรู้ Recruitment Selection Placement Appraisal Compensation Workforce planning Training Education HR and organization Development Organizational philosophy & ethics Quality of work life Good governance ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัว ยั่งยืน
29
ความสอดคล้องของหลัก ปศพ กับ HRM ของเครือซิเมนต์ไทย
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ตัวชี้วัดความสอดคล้อง ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป Labour productivity Cost effectiveness - ใช้พนักงานน้อยเท่าที่จำเป็น - จัดคนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับลักษณะงาน - บริหารค่าจ้างและผลตอบแทนโดยยึดหลักความเป็นธรรมภายในเหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบและสอดคล้องกับความสามารถของพนักงานเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถแข่งขันในระดับผู้นำของบริษัทภายนอกที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันได้ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆอย่างรอบคอบ Organizational flexibility System thinking - จัดสวัสดิการให้เหมาะสมกับประโยชน์และความจำเป็นของพนักงานส่วนใหญ่ โดยคำนึงถึงความสามารถของบริษัทประกอบด้วย และดูแล ปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความจำเป็นของธุรกิจ
30
ความสอดคล้องของหลัก ปศพ กับ HRM ของเครือซิเมนต์ไทย
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น Scenario planning Human capital investment OD - การสรรหา/คัดเลือก “คนดี คนเก่ง” ทำให้มีกำลังพลที่มีคุณภาพรองรับกับการเปลี่ยนแปลง - การพัฒนาพนักงานเป็นการลงทุนเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจในระยะยาว เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย “ความรอบรู้”เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน “ความรอบคอบ” HRD Knowledge management พนักงานทุกวิชาชีพ ทุกระดับ ทุกคน จะได้รับการพัฒนาอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง ทั้งในเรื่องงานในหน้าที่ ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ ตลอดจนการบริหารและการจัดการตามความเหมาะสมของหน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงาน รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในเรื่องคุณภาพให้แก่พนักงานทุกคน เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตะหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร Work ethics Social responsibilty Fairness - สรรหาเพื่อให้ได้พนักงานที่เป็นทั้ง “คนเก่ง” และ “คนดี” มีคุณภาพสูงและซื่อสัตย์เข้ามาร่วมปฏิบัติงาน
31
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ เศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจเอกชน
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้หลายด้าน และหลายรูปแบบ ไม่มีสูตรสำเร็จ ผู้ประกอบการแต่ละคนจะต้องพิจารณาตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะที่ตนเผชิญอยู่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้ผู้ประกอบการ “ฉุกคิด” ว่ามีทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้เกิดความยั่งยืน และสมดุลในระยะยาว
32
แนวทางการประยุกต์ใช้ ในสถานศึกษา
33
มาตรฐานเรียนรู้กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ ๓ : เศรษฐศาสตร์ ในช่วงชั้นต่างๆ
ช่วงชั้นที่ ๑ ป๑ – ป๓ เข้าใจหลักคิด และแนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครอบครัว การใช้จ่ายอย่างประหยัด การออม ช่วงชั้นที่ ๒ ป๔ – ป๖ เข้าใจหลักคิด และแนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับโรงเรียน รายรับ รายจ่ายของครอบครัว กิจกรรมสหกรณ์ ช่วงชั้นที่ ๓ ม๑ – ม๓ เข้าใจหลักคิด และแนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์บัญชีชุมชน ช่วงชั้นที่ ๔ ม๔ – ม๖ เข้าใจหลักคิด และแนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับองค์กร และประเทศ ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
34
เครือข่ายโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ภาคเหนือตอนบน รร. เทศบาลจามเทวี ภาคเหนือตอนล่าง รร. กาญจนาภิเษกวิทยาลัย ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน ตอนกลาง รร. บ้านเหลากกหุ่งสว่าง รร. ปศพ. ภาคตะวันออก รร. มกุฏเมืองราชวิทยาลัย ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนล่าง รร. บ้านกุดเชียงหมี ภาคกลางตอนบนและตะวันตก รร. จุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย รร. กัลยาณีศรีธรรมราช ภาคใต้ฝั่งอันดามัน รร. ไทยรัฐวิทยา กทม.และปริมณฑล รร. ราชวินิต มัธยม
35
รร. เทศบาลจามเทวี จ.ลำพูน
เครือข่ายโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง รร. เทศบาลจามเทวี จ.ลำพูน โครงการบูรณาการการเรียนรู้สู่วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง รร. กาญจนาภิเษกวิทยาลัย จ. เพชรบูรณ์ โครงการธนาคารโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย รร. บ้านเหล่ากกหุ่งสว่าง จ.ขอนแก่น โครงการกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนชุมชนบวร สามัคคีธรรม รร. บ้านกุดเชียงหมี จ.ยโสธร โครงการเกษตรครบวงจรเพื่อสนับสนุนอาหารกลางวัน รร. มกุฏเมืองราชวิทยาลัย จ.ระยอง โครงการผลิตสื่อการเรียนรู้การสืบสานวิถีชีวิตสู่ แบบเศรษฐกิจพอเพียง ลุ่มน้ำประแส
36
รร. จุฬาภรณราชวิทยาลัย จ. เพชรบุรี
เครือข่ายโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง รร. จุฬาภรณราชวิทยาลัย จ. เพชรบุรี โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง รร. ไทยรัฐวิทยา จ.ระนอง โครงการสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียงแบบยั่งยืน รร. กัลยาณีศรีธรรมราช จ. นครศรีธรรมราช โครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้แบบบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง รร. ราชวินิต มัธยม กทม. โครงการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมและวิถีชีวิตไทย
37
กลุ่มงานเศรษฐกิจพอเพียง โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม ป้อมปราบ กทม. ๑๐๑๐๐ หรือ โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.