งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ทางการเงิน 2. เพื่อทราบวิธีการในการคำนวณ 3. เพื่อทราบแนวทางในการวิเคราะห์

2 ความสำคัญของการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
เป็นเครื่องมือที่ชี้ให้เห็นถึงความมั่นคง จุดแข็ง จุดอ่อน ของผลการ ดำเนินงานที่ผ่านมา โดยบุคคลที่ให้ความสำคัญในการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน มี 2 ประเภท คือ 1. บุคคลภายนอก : นักลงทุน นักเก็งกำไร เจ้าหนี้ 2. บุคคลภายใน : เจ้าของกิจการ ผู้ถือหุ้น ผู้จัดการ พนักงาน

3 อัตราส่วนทางการเงินหมายถึง
อัตราส่วนทางการเงิน หมายถึง ตัวเลขที่วัดฐานะทางการเงิน และสมรรถภาพใน การทำกำไรของธุรกิจ และสามารถในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของกิจการ โดยการใช้ตัวเลขต่าง ๆ จากงบกำไรขาดทุนและงบดุล วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ทางการเงิน (Finance Analysis) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)

4 การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis)
สามารถแบ่งออกเป็น การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ทางการเมือง   ภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมนั้นๆ ข้อมูลของบริษัท

5 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)
การวิเคราะห์โดยวิธีย่อส่วน (Common Size) การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratio Analysis) การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis)

6 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratio Analysis)
 มีการแบ่งได้เป็น 4 ประเภทดังนี้ อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity Ratio) อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage Ratio) อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการดำเนินงาน(Operating Ratio) อัตราส่วนวิเคราะห์ในการทำกำไร (Profitability Ratio)

7 1.อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity Ratio)
1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียนทั้งสิ้น = .....เท่า (Current Ratio) หนี้สินระยะสั้นทั้งสิน 1.2 อัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัว (Quick Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลัง-ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า = เท่า หนี้สินระยะสั้นทั้งสิน

8 2.อัตราส่วนหนี้สิน (Leverage Ratio)
2.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น = หนี้สินทั้งสิ้น = % (Debt Ratio) สินทรัพย์ทั้งสิ้น 2.2 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Time Interest Earned or Interest Coverage Ratio) = กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี = เท่า ดอกเบี้ยจ่าย

9 2.อัตราส่วนหนี้สิน (Leverage Ratio)
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการจ่ายค่าใช้จ่ายประจำ (Fixed Charge Coverage) = กำไรก่อนหักภาษี+ดอกเบี้ยจ่าย+ค่าเช่าตามสัญญา = ……เท่า ดอกเบี้ยจ่าย+ค่าเช่าตามสัญญา

10 3.อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการดำเนินงาน (Operating Ratio)
3.1 อัตราการหมุนของสินคงคลัง = ยอดขายทั้งสิ้น =…ครั้ง (Inventory Turnover) สินค้าคงคลัง 3.2 อัตราการหมุนของลูกหนี้ = ยอดขายทั้งสิ้น = ....ครั้ง (Account Receivable Turnover) ลูกหนี้ 3.3ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ = = …วัน (Average Collection Period) อัตราการหมุนของลูกหนี้

11 3.อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการดำเนินงาน (Operating Ratio) (ต่อ)
3.4 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร = ยอดขายสุทธิ = ครั้ง (Fixed Asset Turnover) สินทรัพย์ถาวร 3.5 อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม = ยอดขายสุทธิ = ครั้ง (Total Asset Turnover) สินทรัพย์รวม

12 4. อัตราส่วนวิเคราะห์ในการทำกำไร (Profitability Ratio)
4.1 อัตราผลตอบแทนจากกำไรสุทธิต่อยอดขาย = กำไรสุทธิ x = ...% (Net Profit Margin) ยอดขายสุทธิ 4.2 อัตราผลตอบแทนต่อค่าสุทธิ = กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ ค่าสุทธิ 4.3 อัตราผลตอบแทนจากกำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้น x = ...% (Gross Profit Margin) ยอดขายสุทธิ

13 The End


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google