งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(Product Liability: PL Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(Product Liability: PL Law)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (Product Liability: PL Law)
1 พ.ร.บ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า ที่ไม่ปลอดภัย (Product Liability: PL Law) กิตติ ตั้งจิตรมณีศักดา SCG Legal Counsel Limited

2 หลักการของกฎหมาย  ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในความเสียหาย
2 หลักการของกฎหมาย  ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

3 1. กฎหมายปัจจุบันมีข้อจำกัด 2. สินค้าและเทคโนโลยีที่ซับซ้อนขึ้น
3 เหตุผลของกฎหมาย 1. กฎหมายปัจจุบันมีข้อจำกัด กฎหมายละเมิด กฎหมายสัญญา 2. สินค้าและเทคโนโลยีที่ซับซ้อนขึ้น

4 ข้อจำกัด: กฎหมายละเมิด
4 ข้อจำกัด: กฎหมายละเมิด  ละเมิด: ทำให้เสียหายโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ  ผู้เสียหายฟ้องผู้ประกอบการไม่ได้ หากผู้ประกอบการ ไม่ได้จงใจหรือประมาทเลินเล่อ

5 ข้อจำกัด: กฎหมายสัญญา
5 ข้อจำกัด: กฎหมายสัญญา  หลักคู่สัญญา (Doctrine of Privity) ผู้เสียหายฟ้องผู้ประกอบการไม่ได้หากไม่ได้เป็น คู่สัญญากับผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก ผู้เสียหาย

6 ความรับผิดแบบเคร่งครัด (Strict Liability)
6 ความรับผิดแบบเคร่งครัด (Strict Liability)  ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบแม้ไม่ได้จงใจหรือ ประมาทเลินเล่อ  ผู้เสียหายฟ้องคดีได้แม้ไม่ได้เป็นคู่สัญญากับ ผู้ประกอบการ

7 LANDMARK CASE : ESCOLA V. COCA COLA BOTTLING (1942)
7 LANDMARK CASE : ESCOLA V. COCA COLA BOTTLING (1942)  วางหลัก Strict Liability ด้วยเหตุผลว่า:  ผู้ประกอบการอยู่ในสถานะที่ดีกว่าผู้เสียหายในการ ป้องกันอันตราย  ผู้บริโภคเชื่อถือในชื่อเสียงของผู้ประกอบการ

8 สาระสำคัญของกฎหมาย กฎหมายจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2552
8 สาระสำคัญของกฎหมาย กฎหมายจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 กฎหมายไม่ใช้บังคับกับสินค้าที่ขายก่อนวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

9 9 ประเภทของสินค้า สังหาริมทรัพย์ทุกชนิด รวมทั้งผลิตผลเกษตรกรรมและกระแสไฟฟ้า ยกเว้นสินค้าที่กำหนดในกฎกระทรวง

10 ประเภทของความไม่ปลอดภัย
10 ประเภทของความไม่ปลอดภัย สินค้าที่ไม่ปลอดภัย จาก  การผลิต (Manufacturing Defect)  การออกแบบ (Design Defect)  คำเตือนที่ไม่เพียงพอ (Inadequate Warning / Instructions) โดยคำนึงถึงสภาพของสินค้า ลักษณะการใช้งานและ การเก็บรักษาตามปกติธรรมดา อันพึงคาดหมายได้

11 11 Design Defect  หากใช้ Design อื่นจะทำให้สินค้าปลอดภัยมากขึ้น แต่ละเลยไม่ใช้ และการละเลยนั้นก่อให้เกิดอันตราย  ความคาดหวังของผู้บริโภค (Consumer Expectation Test)  ค่าใช้จ่าย/ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นกับความ ปลอดภัยที่ได้รับ (Risk / Utility Analysis)

12 Prentis v. Yale Mfg (1984)  รถ Forklift ของ Yale ไม่มีที่นั่ง
12 Prentis v. Yale Mfg (1984)  รถ Forklift ของ Yale ไม่มีที่นั่ง  เมื่อเกิดไฟฟ้ากระตุก Prentis ตกลงจากรถและได้รับอันตราย  Prentis พิสูจน์ได้ว่า มีรถ Forklift รุ่นอื่น ๆ ในตลาดที่มีที่นั่ง และมี Safety Belt

13 Manufacturing Defect  สินค้ามีการผลิตที่แตกต่างไปจาก specification
13 Manufacturing Defect  สินค้ามีการผลิตที่แตกต่างไปจาก specification หรือ design ที่กำหนดไว้  การผลิตที่แตกต่างไปดังกล่าวก่อให้เกิดอันตราย

14 Inadequate Warning / Instruction
14 Inadequate Warning / Instruction  หากใช้คำเตือนที่เหมาะสม จะลดความเสี่ยงของ ความไม่ปลอดภัย แต่ละเลยไม่ใช้  การละเลยนั้น ก่อให้เกิดอันตราย

15 O’ Brien v. Mushin Corporation (1983)
15 O’ Brien v. Mushin Corporation (1983)  O’ Brien กระโดดพุ่งหลาว ลงไปในสระน้ำเด็กขนาด 3 ฟุต  ขอบสระมีคำเตือน ขนาด 1 นิ้ว ว่า “DO NOT DIVE”

16  “do not use for drying pet” (ไมโครเวฟ)
16 ตัวอย่าง คำเตือน  “do not use for drying pet” (ไมโครเวฟ)  “do not iron clothes on body” (เตารีด)  “remove plastic before eating” (ห่อขนม)  “do not use in shower” (ไดร์เป่าผม)  “may irritate eyes” (สเปรย์พริกไทย) “hot beverages are HOT” (แก้วกาแฟ) Full-proof vs. Foolproof

17 ผู้ประกอบการ (ผู้ต้องรับผิด)
17 ผู้ประกอบการ (ผู้ต้องรับผิด)  ผู้ผลิต หรือ ผู้ว่าจ้างให้ผลิต  ผู้นำเข้า  ผู้ขายสินค้า (เฉพาะกรณีไม่สามารถหาตัว ผู้ผลิต ผู้ว่าจ้าง หรือ ผู้นำเข้าได้)  ผู้ใช้ชื่อทางการค้า ให้เข้าใจว่าเป็นผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือ ผู้นำเข้า

18 ความเสียหาย  ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย ทรัพย์สิน
18 ความเสียหาย  ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย ทรัพย์สิน  ไม่รวมความเสียหายต่อตัวสินค้านั้นเอง

19 ผู้เสียหาย ผู้มีสิทธิฟ้องคดี
19 ผู้เสียหาย  ผู้ได้รับความเสียหาย เช่น ผู้ซื้อ ผู้บริโภค และผู้อื่นที่ได้รับความเสียหาย (Bystander) ผู้มีสิทธิฟ้องคดี ผู้ได้รับความเสียหาย คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มูลนิธิ/สมาคม ที่สคบ.รับรอง

20 การพิสูจน์  หลักการทั่วไป “ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องพิสูจน์”
20 การพิสูจน์  หลักการทั่วไป “ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องพิสูจน์”  PL Law ไทย  ได้รับความเสียหายจากสินค้า  การเก็บรักษาสินค้าเป็นไปตามปกติธรรมดา

21 การพิสูจน์ (ต่อ) โดยไม่ต้องพิสูจน์ถึง  ความจงใจหรือประมาทเลินเล่อของ
21 การพิสูจน์ (ต่อ) โดยไม่ต้องพิสูจน์ถึง  ความจงใจหรือประมาทเลินเล่อของ ผู้ประกอบการ  ความไม่ปลอดภัยของสินค้า ความสัมพันธ์ระหว่างความเสียหายกับ ความไม่ปลอดภัย (Causation)

22 ข้อยกเว้นความรับผิด  สินค้าปลอดภัย (No Defect)
22 ข้อยกเว้นความรับผิด  สินค้าปลอดภัย (No Defect)  ผู้ใช้เสี่ยงภัยเอง (Assumption of Risk)  ใช้หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้องตามคำเตือน หรือข้อมูลที่ให้ไว้ชัดเจน (Misuse)

23 ข้อยกเว้นที่ไม่มีในกฎหมายไทย
23 ข้อยกเว้นที่ไม่มีในกฎหมายไทย  สินค้าที่ผลิตตามมาตรฐานบังคับของรัฐ (Mandatory Standard)  State of the Art Defense

24 ค่าเสียหาย  ค่าเสียหายทั่วไป  ค่าเสียหายต่อจิตใจ
24 ค่าเสียหาย  ค่าเสียหายทั่วไป  ค่าเสียหายต่อจิตใจ  ค่าเสียหายเพื่อการลงโทษ (Punitive Damages) Henley v. Phillip Morris  ค่าเสียหายทั่วไป US$ 1.6 Million  Punitive damages US$ 50 Million

25 อายุความ  3 ปี นับแต่ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหายและรู้ตัว
25 อายุความ  3 ปี นับแต่ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหายและรู้ตัว ผู้ประกอบการ แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่ขาย ผู้ประกอบการ แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่รู้ถึง ความเสียหาย กรณีสารสะสม

26 ผลกระทบ  ผู้ประกอบการมีความเสี่ยงมากขึ้น เนื่องจาก
26 ผลกระทบ  ผู้ประกอบการมีความเสี่ยงมากขึ้น เนื่องจาก  ผู้เสียหายฟ้องคดีได้ง่าย  มีข้อยกเว้นความรับผิดน้อย  ค่าเสียหายกว้างขึ้น

27 27 แนวทางดำเนินการ คำเตือน ฉลากสินค้า คู่มือการใช้งานที่ครอบคลุมและเหมาะสม กิจกรรมการตลาด และ Marketing Materials ที่รัดกุม  ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนที่สามารถตอบสนองต่อผู้บริโภคได้รวดเร็วและเหมาะสม  ระบบควบคุมคุณภาพ เช่น กระบวนการผลิต การทดสอบสินค้า

28 แนวทางดำเนินการ (ต่อ)
28 แนวทางดำเนินการ (ต่อ)  จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เช่น Drawing / Specifications ที่มาของ Raw Materials  Product Liability Insurance  ทำสัญญากำหนดความรับผิดกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ขายวัตถุดิบ ผู้ผลิตสินค้า ผู้รับจ้างทำของ Licensor

29 การประกันภัย (Product Liability Insurance)
การประกันครอบคลุมอะไรบ้าง ข้อยกเว้น (เหตุการณ์, ประเทศ ฯลฯ) ทุนประกัน เบี้ยประกัน ความรับผิดตามพ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค

30 Q & A


ดาวน์โหลด ppt (Product Liability: PL Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google