ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSamuel Ronaldo Martinho Barroso ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การจัด กระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
การจัด กระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ การอบรมวิทยากรแกนนำ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 6-10 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมแกรนด์ เดอร์ วิลล์
2
การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
วัตถุประสงค์ การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
3
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม ตระหนัก เห็นความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ สามารถเป็นแกนนำในการจัดการทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในสถานศึกษาและจังหวัดตนเอง
4
การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
5
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ
๑ ความจำเป็น ความสำคัญของ การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ๒ การสร้างหน่วยการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ ๓ การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ ๔ การนำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ ๕ การประเมินผล เพื่อการพัฒนา ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
6
ความจำเป็น ความสำคัญของ การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
เรื่องที่ 1 ความจำเป็น ความสำคัญของ การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
7
ทำไมจึงต้องปรับปรุง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
? สอนเสริม 60 % พบกลุ่ม (รายวิชา) วัดผล ประเมินผล พบกลุ่ม พบกลุ่ม (บูรณาการ) วางแผนการเรียนรู้ ชั้นเรียน ทางไกล กรต. ตนเอง โครงงาน/โครงการ ? วิธีเรียน กศน. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบเป็นอย่างไร
8
ทำไมต้องบูรณาการ + ONIE Model บังคับ WHY ความต้องการ
จิตวิทยา กศ.ผู้ใหญ่ ปรัชญา คิดเป็น พ.ร.บ. กศ.42 หลักสูตร กศน. 51 ONIE Model บังคับ จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระ ความรู้ด้านต่าง ๆ ... เป็นหลักสูตรรายวิชา ที่สถานศึกษา สามารถนำรายวิชาในแต่ละภาคเรียน ไปจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ WHY สภาพผู้เรียน ปัญหา ความต้องการ ความต้องการ - ตนเอง - สังคม ชุมชน ประเทศ โลก - หลากหลาย - มีจำนวนมาก รายวิชามาก ... - สอดคล้องวิถีชีวิต - นำไปใช้ทันที - ฯลฯ
9
ข้อตกลงเบื้องต้น กระบวนการเรียนรู้ กศน.
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้มาก่อน กระบวนการเรียนรู้ กศน. หลักสูตร สาระ รายวิชา มาตรฐานการเรียนรู้ มีประสบการณ์ในการพบกลุ่มมาแล้ว
10
จากหลักสูตร สู่ การเรียนการสอน
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 6. 1. 2. 5 สาระการเรียนรู้ 3. สื่อการเรียนรู้ 4. หลักสูตรสถานศึกษา ปรัชญา /จิตวิทยา /ONIE 5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการพบกลุ่ม แผนการสอนเสริม แผน
11
ขั้นตอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
เรื่องที่ 2 ขั้นตอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
12
ขั้นตอน ทำหน่วยการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ
วิเคราะห์ - ผู้เรียน - ชุมชน - สังคม - หลักสูตร ทำหน่วยการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ อาหารสด อาหารแห้ง วางแผน - พบกลุ่ม - สอนเสริม - กรต. - ฯลฯ ทำแผนการจัด กิจกรรม การเรียนรู้ ทำคู่มือ -ครู -ผู้เรียน จัดกิจกรรม การเรียนรู้ นำไปใช้ ประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา
13
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ทำหน่วยการเรียนรู้แบบ กศน. แบบบูรณาการ
2 ทำแผนการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ 3 ทำคู่มือครู คู่มือผู้เรียน แผนผังหน่วย แผนการเรียนรู้ คู่มือครู คู่มือผู้เรียน
14
การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ แผนผังหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
15
6 ขั้นตอนการทำหน่วยฯ 1. 2. วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการ
จัดกลุ่มสภาพปัญหา จัดกลุ่มสภาพปัญหา ความต้องการ การเรียนรู้ของผู้เรียนและตั้งชื่อ หน่วยการเรียนรู้ วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการ การเรียนรู้ของผู้เรียน ชุมชน สังคม ประเทศ โลก 4. 3. จัดทำแผนผังหน่วย วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำแผนผังหน่วยการเรียนรู้ วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาที่ ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นๆ 6. 5. กำหนดประเด็นปัญหา กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ กำหนดประเด็น / ปัญหา / สิ่งที่จำเป็นที่ต้องเรียนรู้ กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ (ออกแบบการเรียนรู้)
16
1 ขั้นที่ การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการการเรียนรู้ ของผู้เรียน ชุมชน สังคม ประเทศ โลก
17
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการการเรียนรู้ของผู้เรียน ชุมชน สังคม ประเทศ โลก
18
ขั้นที่ 1 วิธีการ วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการการเรียนรู้
ครู และผู้เรียนช่วยกัน วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ชุมชน สังคม ประเทศ โลก ดำเนินการในการพบกลุ่ม ครั้งแรกหรือครั้งที่ 2 ระดมความคิดร่วมกับนักศึกษา ฯลฯ วิธีการ
19
ขั้นตอนการระดมพลังสมอง
แบ่งผู้เข้าอบรมออกเป็น 3 กลุ่ม ประถม ม.ปลาย ม.ต้น
20
ระดมความคิด วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ชุมชน สังคม ประเทศ โลก
ผู้เรียน ช่วยกันเสนอปัญหา ครูผู้สอน หรือ ตัวแทนผู้เรียน เขียนปัญหาลงบนกระดาษปรู๊ฟ 1.เศรษฐกิจตกต่ำ 2.ความยากจนเนื่องจากการย้ายถิ่นฐาน 3.ขาดการออม 4.เลือกงาน / ตกงาน / เปลี่ยนงานบ่อย 5.ฟุ่มเฟือย / ราคาสินค้าแพงทำให้รายได้ไม่พอกับรายจ่าย 6.ค่าแรงต่ำ 7.แรงงานต่างด้าว
21
กรณีที่ผู้เรียนบางคนไม่กล้าพูด
ให้ผู้เรียนเขียนปัญหา/ความต้องการ ลงบนกระดาษแผ่นเล็ก แล้วนำไปเขียนบนกระดาษปรู๊ฟ กระบวนการระดมปัญหา ความต้องการการเรียนรู้ อาจจะเลือกใช้วิธีการได้ ตามความเหมาะสมของสภาพผู้เรียน
22
กำหนดประเด็นปัญหาให้ชัดเจน
ยังไม่ชัดเจน ติดเพื่อน / ติดเกม /ออกกลางคัน เขียนหนังสือไม่ได้ อ่านไม่ออก พูดไม่ชัด ดื่มสุรา ยาเสพติด การพนัน ปัญหาครอบครัว ประเด็นปัญหาดังตัวอย่างยังไม่ชัดเจน ควรกำหนดให้ชัดเจน โดยถามรายละเอียดจาก ผู้ที่เสนอปัญหา
23
ตัวอย่าง ตัวอย่าง ติดเพื่อน / ติดเกม /ออกกลางคัน แก้ไขเป็น
ปัจจุบันเยาวชนบางสวน ติดเพื่อน ติดเกม ทำให้เกิดผลกระทบต่อการศึกษา เช่น ต้องออกกลางคัน เขียนหนังสือไม่ได้ อ่านไม่ออก พูดไม่ชัด แก้ไขเป็น ตัวอย่าง เยาวชนในปัจจุบันบางคนไม่สนใจการศึกษา ทำให้เขียนหนังสือไม่ได้ อ่านหนังสือไม่ออก หรือพูดภาษาไทยไม่ชัด
24
ตัวอย่าง ตัวอย่าง ดื่มสุรา ยาเสพติด การพนัน แก้ไขเป็น
ประชาชนบางกลุ่ม ยังลุ่มหลงในอบายมุข เช่น ดื่มสุรา เสพยาเสพติด เล่นการพนัน มีผลทำให้สร้างปัญหาให้กับชุมชน เช่นทะเลาะวิวาท ลักขโมย ปัญหาครอบครัว ตัวอย่าง แก้ไขเป็น ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ทำให้รายได้ไม่พอกับรายจ่าย เกิดปัญหาทะเลาะเบาะแว้งในครอบครัว
25
2 ขั้นที่ การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
จัดกลุ่มสภาพปัญหา ความต้องการการเรียนรู้ของผู้เรียน และตั้งชื่อ หน่วยการเรียนรู้
26
ขั้นที่ 2 จัดกลุ่มสภาพปัญหา ความต้องการ การเรียนรู้ของผู้เรียนและตั้งชื่อ หน่วยการเรียนรู้
27
ทำสัญญลักษณ์ปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
-แตกความสามัคคี/ความคิดแตกแยก -ยาเสพติด -ท้องก่อนวัยอันควร -ว่างงาน -สิ่งแวดล้อม -โรคติดต่อ -ความยากจน -เศรษฐกิจตกต่ำ -ฟุ่มเฟือย /ราคาสินค้าแพง -ขาดคุณธรรม -ลักขโมย/โจรผู้ร้าย -ทะเลาะวิวาท -เด็กแว้น/ติดเกม -อ่านหนังสือไม่ออก -พ่อแม่ไม่สนับสนุนการเรียน -ย้ายถิ่นฐาน -ไม่อยากเรียน/ไม่ขยันเรียน -ค่าแรงต่ำ -ลอกเลียนแบบต่างประเทศ / ใช้ของแบลนด์เนม -อาหารขยะ -ขาดความรับผิดชอบ -โรคอ้วน /ขาดการดูแลสุขภาพ -ล่วงละเมิดทางเพศ -เลือกงาน -เห็นแก่ตัว -ติดเพื่อน -ไม่รู้จักออม -เบี่ยงเบนทางเพศ -ขาดความอดทน -ติดการพนัน -หนีเรียน -รายได้ไม่พอกับรายจ่าย -หนี้นอกระบบ -ใช้สารเคมีมาก
28
จัดกลุ่มสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน และตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
ให้โดนใจ ประชาชน/ผู้เรียน เป็นโรคภูมิแพ้ ประชาชนไม่ค่อยอ่านหนังสือมีผลทำให้ประเทศชาติไม่เจริญเท่าที่ควร เด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ ปัจจุบันประชาชนว่างงาน ไม่มีงานทำ ขาดคุณธรรมจริยธรรม ใช้สารเคมีทางการเกษตรเกินความจำเป็น ผลผลิตถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง อากาศเป็นพิษ น้ำเสีย รายได้ไม่พอกับรายจ่าย ทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่ตรงต่อเวลา ไม่เสียสละ เห็นแก่ตัว ฟุ่มเฟือย คิดไม่เป็น ขี้เกียจ เด็กเกเร ทะเลาะวิวาท ท้องก่อนวัยอันควร ดึงเอาปัญหาที่คล้ายคลึงกัน มาเขียนรวมกัน แล้วตั้งชื่อเรื่อง
29
จัดกลุ่มสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน และตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
ให้โดนใจ ตัวอย่าง สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ประชาชน/ผู้เรียน เป็นโรคภูมิแพ้ อากาศเป็นพิษ น้ำเสีย ทิ้งขยะไม่เป็นที่ ใช้สารเคมีทางการเกษตรเกินความจำเป็น ปรับสภาพปัญหา ให้ชัดเจนด้วยนะ
30
ไชโย ได้หน่วย การเรียนรู้แล้ว
จัดกลุ่มสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน และตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ 1 สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 4 คุณธรรมนำชีวิต ตัวอย่าง 2 ประชาชนไม่ฉลาดชาติไม่เจริญ 5 รวมกันเราอยู่แยกหมู่เราแย่ 3 ความรักเป็นพิษชีวิตเป็นทุกข์ 6 ไร้งานไร้เงิน
31
3 ขั้นที่ การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นๆ
32
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นๆ
33
ภาคเรียนนี้ลงทะเบียนเรียนวิชาอะไรบ้างนะ
ศิลปศึกษา ชุมชนนักปฏิบัติ ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อ อิเล็กทรอนิกส์และวงจรไฟฟ้า สบู่สมุนไพร การทำนา การเลี้ยงไก่ไข่ วิเคราะห์สาระมาตรฐานการเรียนรู้ระดับ ในรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น ภาคเรียนนี้ลงทะเบียนเรียนวิชาอะไรบ้างนะ ม.ปลายภาคเรียนที่ 2/2554
34
คลี่หลักสูตรออกมาดู ทุกรายวิชาที่ลงทะเบียน ในภาคเรียนนั้น
ขั้นที่ 3 คลี่หลักสูตรออกมาดู ทุกรายวิชาที่ลงทะเบียน ในภาคเรียนนั้น วิเคราะห์สาระมาตรฐานการเรียนรู้ระดับในรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น รายวิชาทักษะการเรียนรู้ สาระที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. ความหมาย ความสำคัญ และกระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งการวางแผนการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. ทักษะการพูดและการทำแผนผังความคิด 4. ปัจจัย ที่ทำให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสำเร็จ สาระที่ 2 การใช้แหล่งเรียนรู้ 1. ความหมาย ความสำคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ เข้าถึงสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่สำคัญ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเอง 2. ข้อควรคำนึงในการศึกษาเรียนรู้กับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งนวัตกรรมและเทคโนโลยี สาระที่ 3 การจัดการเรียนรู้ 1. ความหมาย ความสำคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ 2. ทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ 3. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ดูอะไรบ้าง
35
ทำตารางวิเคราะห์หลักสูตร
รายวิชา รหัสวิชา ระดับ หัวเรื่อง ทำตารางวิเคราะห์หลักสูตร บนกระดาษปรู๊ฟ
36
เขียนรายละเอียดแต่ละรายวิชาลงในตาราง แล้วนำไปติดบริเวณที่มองเห็นได้สะดวก
37
4 ขั้นที่ จัดทำแผนผังหน่วยการเรียนรู้
การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ขั้นที่ จัดทำแผนผังหน่วยการเรียนรู้
38
ขั้นที่ 4 จัดทำแผนผังหน่วยการเรียนรู้
39
แบ่งกลุ่มตามหน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4
40
แต่ละกลุ่มสร้างแผนผังหน่วยการเรียนรู้
นำเอากระดาษปรู๊ฟ 4 แผ่น มาต่อกันใช้กระดาษกาวติดให้แน่น
41
เขียนชื่อหน่วยไว้ และสภาพปัญหา ไว้กลางแผนผังหน่วยการเรียนรู้
42
shopping เนื้อหา 1 เดินไปดูที่ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ที่ติดไว้ ทีละรายวิชา พร้อมด้วยกระดาษแผ่นเล็กๆ 2 มีรายละเอียดของ เนื้อหารายวิชาที่คล้ายคลึงกัน กับสภาพปัญหาของหน่วย และสามารถนำมา เรียนรู้ร่วมกันได้ 3 เขียนเครื่องหมายถูกในช่อง “เนื้อหาที่นำมา บูรณาการ”พร้อมทั้ง หมายเลขหน่วย 4 จดเนื้อหารายวิชาใส่กระดาษ สมาชิกในกลุ่ม ไปเดิน shopping เนื้อหา
43
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
จากตัวอย่าง แสดงว่า เนื้อหาเรื่องที่ 3 ถูกนำไปบูรณาการในหน่วยที่ 1 แล้ว ครู และผู้เรียน ช่วยกันเดิน shopping
44
นำเอาเนื้อหาที่ shopping มาเขียนในแผนผังหน่วยการเรียนรู้
เอามาเฉพาะเนื้อหาที่สอดคล้องกับ หน่วยการเรียนรู้นี้เท่านั้น เริ่มเขียนจากมุมบนด้านขวาก่อน แล้วเขียนเรียงไปจนครบทุกสาระ ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น
45
อย่าลืม นำเอารายวิชา ทักษะการเรียนรู้ (การแสวงหาความรู้ ฯลฯ)
ภาษาไทย (ฟัง พูด อ่าน เขียน) ภาษาอังกฤษ (คำศัพท์) มาบูรณาการ ด้วย
46
5 ขั้นที่ การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
กำหนดประเด็น / ปัญหา / สิ่งที่จำเป็นที่ต้องเรียนรู้
47
ขั้นที่ 5 กำหนดประเด็น / ปัญหา / สิ่งที่จำเป็นที่ต้องเรียนรู้
48
เขียน ประเด็น/ปัญหา/สิ่งที่จำเป็นต้องเรียนรู้ ลงในแผนผังหน่วยฯ
เขียนประเด็น ให้สอดคล้องกับ สภาพปัญหา ประเด็น / ปัญหา / สิ่งที่จำเป็นที่ต้องเรียนรู้
49
ประเด็น/ปัญหา มาจากไหน
สาระการพัฒนาสังคม วิชา สังคมศึกษา สค หัวเรื่อง 2. การเมืองการปกครอง - การปกครองระบอบประชาธิปไตย - การปกครองระบอบเผด็จการ - เหตุการณ์สำคัญการปกครองของประเทศไทย - เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองการปกครองของโลกที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย - หลักธรรมาภิบาล - แนวทางปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล หน่วยที่ 2 รักประชาธิปไตย รู้ทันภัยการเมือง สภาพปัญหา 1.มีการแบ่งกระดาษแบ่งพวก 2.ความขัดแย้ง ความแตกแยกทางความคิด 3. ประชาชนขาดความรู้เรื่องกฎหมาย 4.ผู้นำท้องถิ่นขาดความรู้เรื่องประชาธิปไตย 5.ประชาชนจากความสามัคคี นำมาจากสภาพปัญหาของหน่วย นำมาจากรายวิชาที่ลงทะเบียน ประเด็น/ปัญหา/สิ่งที่ควรเรียนรู้ 1. ประชาชน/ผู้นำ ขาดความรู้เรื่องกฎหมาย ประชาธิปไตย และเกิดความขัดแย้งแตกแยกทางความคิด ทำให้เกิดการแบ่งพรรค แบ่งพวก ไม่มีความสามัคคี ดูที่เนื้อหา และตัวชี้วัด ของแต่ละเนื้อหา
50
ประเด็นปัญหามีลักษณะอย่างไร
เป็นข้อความที่บ่งบอกถึงสิ่งที่ขาด สิ่งที่บกพร่อง ที่จะต้องแก้ไขด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จึงจะสามารถแก้ไขสิ่งที่บกพร่องนั้นได้ เป็นข้อความที่บ่งบอกถึงสิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ควรพัฒนา ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้สิ่งนั้น ดีขึ้น
51
คำที่มักจะนำมาใช้ในการกำหนดประเด็นปัญหา เช่น -ใคร -มีปัญหาอย่างไร -ขาดอะไร -มีผลทำให้เกิดอะไร
52
ตัวอย่าง Software ๑. คนไทยในปัจจุบันขาดความรู้ด้านการติดตามข่าวสาร เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองทำให้มีผลกระทบการปกครองของประเทศ
53
ตัวอย่าง ๒.ประชาชน/ผู้นำ ขาดความรู้เรื่องกฎหมาย ประชาธิปไตย และเกิดความขัดแย้งแตกแยกทางความคิด ทำให้เกิดการแบ่งพรรค แบ่งพวก ไม่มีความสามัคคี
54
ตัวอย่าง ๓. เกษตรกรไม่เห็นความสำคัญของการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ทำให้ได้รับสารพิษ และเจ็บป่วยเป็นจำนวนมาก ใน แต่ละปี Software
55
อย่าลืมทำให้ครบทุกสภาพปัญหา นะคะ
ในขั้นนี้เราได้ประเด็น / ปัญหา ที่จะนำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว
56
6 กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่
การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ขั้นที่ กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
57
ขั้นที่ 6 กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ (ออกแบบการเรียนรู้)
กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ ONIE Model)
58
ก่อนออกแบบการเรียนรู้ ควรทำอย่างไร
ศึกษาเอกสารหลักสูตร และสาระการเรียนรู้ ศึกษาเอกสาร แนวทางการจัดการเรียนรู้ ทำความเข้าใจ ONIE Model
59
ONIE Model O:ORIENTATION กำหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้
N:NEW WAYS OF LEARNING แสวงหาข้อมูลและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับ ปัญหาเศรษฐกิจ ตกต่ำ แล้วนำมาวิเคราะห์สรุปเป็นแผนผัง ความคิดนำมาเสนออภิปรายในการพบกลุ่ม ครูและผู้เรียนร่วมกันพูดคุย ซักถามเรื่องเหตุการณ์ปัจจุบัน E:EVALUATION I: IMPEMENTATION การประเมินผลการเรียน การปฏิบัติและการนำไปใช้ ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญตาม มาตรฐานการเรียนรู้ ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญและนำความรู้ ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไปเป็นแนวทาง ในการดำเนินชีวิต
60
ออกแบบกิจกรรมจากประเด็น ปัญหา
นำเอาประเด็น/ปัญหาแต่ละประเด็นมาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ประเด็นละ 1 กิจกรรม หรือมากกว่า 1 กิจกรรม ประเด็น/ปัญหา/สิ่งที่จำเป็นต้องเรียนรู้ 1. 2. กิจกรรมที่ 1 3. กิจกรรมที่ 2 4. 5.
61
กิจกรรมการเรียนรู้ มักจะกำหนดดังนี้
ใคร นักศึกษา ไปทำอะไร ทำกิจกรรมการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ในเรื่องที่เป็นประเด็นปัญหา ทำอย่างไร วิธีการศึกษาค้นคว้า เช่น อ่านตำรา ถามผู้รู้ ดู/สำรวจของจริง จากอินเทอร์เน็ต แล้วนำไปทำอย่างไร เช่น เขียนรายงาน ทำที่ไหน สถานที่ไปศึกษาค้นคว้า นำเสนออย่างไร เช่น นำเสนอในการพบกลุ่ม จัดแสดงเป็นนิทรรศการ เมื่อไร ในการพบกลุ่มครั้งต่อไป
62
ตัวอย่าง การกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ - ครูและผู้เรียนร่วมกันพูดคุยซักถามเรื่องเหตุการณ์ปัจจุบัน O:ORIENTATION กำหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้
63
แสวงหาข้อมูลและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ให้ผู้เรียนศึกษาจากแหล่งเรียนรู้และสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับ ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ แล้วนำมาวิเคราะห์สรุปเป็นแผนผังความคิดนำมาเสนออภิปรายในการพบกลุ่ม 2. ให้ผู้เรียนจัดทำบัญชีครัวเรือน / บัญชีรายรับ – รายจ่ายของตนเอง วิเคราะห์ผลที่ได้รับจากการทำบัญชีครัวเรือนสรุปผลนำเสนอผลอภิปรายในการพบกลุ่ม 3. ให้ผู้เรียนศึกษาและสำรวจอาชีพในชุมชนวิเคราะห์ ปัจจัยความต้องการ แรงงานในชุมชนและค้นคว้าใบประกาศรับสมัครงานทั้งรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งฝึกเรียน Resume และการกรอกใบสมัครงานของตนเอง 4. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์สินค้าวัตถุดิบในชุมชน นำมาออกแบบสินค้าผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งจัดทำแผนการขาย / แผนการตลาด นำมาจัดนิทรรศการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น สรุป อภิปรายผลและทำรายงานวิชาการ พร้อมทั้งนำเสนอด้วยการจำลองสถานการณ์การขายผลิตภัณฑ์ของตนเอง 5. ให้ผู้เรียนศึกษา แผนพัฒนา โครงการอาชีพที่มั่นคง และให้ผู้เรียนเขียนแผนพัฒนาอาชีพของตนพร้อมสรุปและอธิบายผล N:NEW WAYS OF LEARNING แสวงหาข้อมูลและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
64
การปฏิบัติและการนำไปใช้ I: IMPEMENTATION
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปใช้ 1. ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญและนำความรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไปเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต 2. จัดทำรูปเล่มรายงานและรวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมงาน การปฏิบัติและการนำไปใช้ I: IMPEMENTATION
65
ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียน
1. ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ 2. ประเมินผลการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ E:EVALUATION การประเมินผลการเรียน
66
การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน.
จบ ขั้นตอน การทำหน่วยการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ทั้ง 6 ขั้นตอน
67
การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ
เรื่องที่ 3 การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ
68
การทำแผนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
๑. แผนการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการพบกลุ่ม ๒. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๓. แผนการจัดการเรียนรู้โดยการสอนเสริม ๔. แผนการจัดการเรียนรู้โดยการทำโครงงาน ๕. แผนการจัดการเรียนรู้โดยการทำโครงการ
69
กลับมาที่ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
กรต. สอนเสริม โครงาน/ โครงการ ง่าย ยาก วิเคราะห์เนื้อหา ที่ยังไม่ได้นำมาบูรณาการ ทำเครื่องหมายถูก ในช่องที่ต่างๆ ตามที่วิเคราะห์ความยากกง่ายของเนื้อหา
70
มีเนื้อหาใดบ้างที่ยังไม่ได้นำไปบูรณาการ
เนื้อหานี้ง่าย เอาไปเรียนรู้ด้วยตนเอง เนื้อหานี้ยาก เอาไปสอนเสริม
71
จัดทำแผนการเรียนรู้ ๑. แผนการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการพบกลุ่ม (แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ) ๒. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๓. แผนการจัดการเรียนรู้โดยการสอนเสริม ๔. แผนการจัดการเรียนรู้โดยการทำโครงงาน ๕. แผนการจัดการเรียนรู้โดยการทำโครงการ
72
ดูตัวอย่างใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.3 กรณีตัวอย่าง กศน. อำเภอขุขันธ์
๑. แผนการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการพบกลุ่ม (แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ) ครั้งที่ วัน / เดือน / ปี ตัวชี้วัด เนื้อหาสาระการเรียนรู้ หัวเรื่อง ประเด็น / ปัญหา / สิ่งที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ดูตัวอย่างใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.3 กรณีตัวอย่าง กศน. อำเภอขุขันธ์
73
ตัวอย่าง แผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ครั้งที่ วัน / เดือน / ปี ตัวชี้วัด เนื้อหาสาระการเรียนรู้ หัวเรื่อง ประเด็น / ปัญหา / สิ่งที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ดูตัวอย่างใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.3 กรณีตัวอย่าง กศน. อำเภอขุขันธ์
74
ตัวอย่าง แผนการเรียนรู้ด้วยการสอนเสริม
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ / จุดมุ่งหมาย กิจกรรมการเรียนรู้ ดูตัวอย่างใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.3 กรณีตัวอย่าง กศน. อำเภอขุขันธ์
75
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้จากการทำโครงงาน
ครั้งที่ วัน / เดือน / ปี โครงงาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ กิจกรรมใช้สื่อ ดูตัวอย่างใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.3 กรณีตัวอย่าง กศน. อำเภอขุขันธ์
76
ได้แผนการเรียนรู้ 5 แผน
แผนการเรียนรู้ โดยวิธีการพบกลุ่ม แผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง แผนเรียนรู้ ด้วยการสอนเสริม แผนการเรียนรู้ โดยการทำโครงงาน แผนการเรียนรู้ โดยการทำโครงการ
77
การนำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ
เรื่องที่ 4 การนำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ
78
การนำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ
๑. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน แบบบูรณารายภาคเรียน ๒. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน แบบบูรณารายสัปดาห์ ๓. การทำคู่มือครู ๔. การทำคู่มือผู้เรียน
79
๑. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณารายภาคเรียน
กิจกรรมที่จำเป็นจะต้องมีในการพบกลุ่มมีดังนี้ 1. การปฐมนิเทศและชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและวิธีเรียน กศน. 2. ปรับพื้นฐานความรู้ 3. โครงการตามนโยบายรัฐบาล สำนักฯ จังหวัด 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 5. สรุป ปัจฉิมนิเทศ 6. ทดสอบปลายภาค
80
๑. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณารายภาคเรียน
ควรดำเนินการดังนี้ ดูรายละเอียดใบความรู้กิจกรรมที่ 8.4
81
๑. จัดทำตารางการจัดกิจกรรม
๒. นำเอากิจกรรมที่บังคับต้องทำ ไปลงช่องที่ต้องทำกิจกรรมนั้น เช่นปฐมนิเทศ ปัจฉิมนิเทศ สอบปลายภาค ๓ พิจารณาว่า ในแต่ละเดือน มีวันสำคัญอะไรบ้าง เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๔. ครู และ ผู้เรียน จะต้องร่วมกันจัดทำแผนการจัดเรียนรู้แบบบูรณาการ ๕. กิจกรรมการปรับพื้นฐานความรู้ ๗.การจัดการเรียนรู้โดยวิธีพบกลุ่ม หน่วยต่างๆ ๘. แทรกกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๙. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนเสริม นอกเวลาพบกลุ่ม
82
๑. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณารายภาคเรียน
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการรายภาคเรียน ดูตัวอย่างจากใบความรู้กรรมที่ 8.4 กรณีตัวอย่าง กศน.อำเภอวารินชำราบ
83
๒. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณารายสัปดาห์
๒. การทำแผนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณารายสัปดาห์ นำเอาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ มาแยกออกเป็นรายสัปดาห์แล้วใส่ไว้ในคู่มือครู ส่วนมากจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สัปดาห์ละ 1 หน่วย แต่ถ้าเป็นหน่วยใหญ่ก็ใช้เวลา 2 สัปดาห์ ต่อ 1 หน่วย
84
3. การทำคู่มือครู
85
3. การทำคู่มือครู ความสำคัญของคู่มือครู
1 เป็นแนวทางให้ครูนำไปปฏิบัติในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับผู้เรียน ที่ไ้ด้มีการวางแผนไว้อย่างถูกต้อง ตามขั้นตอน และวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามวิธีเรียน กศน. ตามหลักสูตร กศน.51 2 ครูทุกคน สามารถมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้แทนครูที่ ไม่อยู่ได้ เพราะ ในคู่มือจะมีรายละเอียดของแผนและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ครูทุกคนสามารถนำไปปฏิบัติได้
86
3. การทำคู่มือครู ความสำคัญของคู่มือครู
3 เป็นร่องรอย หลักฐาน ที่จะนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เพราะจะมีรายละเอียดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และผลที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่วนที่เป็นบันทึกของครูผู้สอน 4 ช่วยผู้ที่เี่ี่กี่ยวข้อง ผู้รู้ สามารถวิเคราะห์ ปรับปรุง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ง่าย เพราะปรากฏร่องรอยของการปฎิบัติงานไว้อย่างชัดเจน
87
คู่มือครู ควรมีส่วนประกอบที่สำคัญ 4 ส่วนคือ
ดูรายละเอียดในใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.4 ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร และสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ส่วนที่ 3 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบบูรณาการ ส่วนที่ 4 กิจกรรมการเรียนรู้
88
4. การทำคู่มือผู้เรียน
89
ความสำคัญของคู่มือผู้เรียน
1. ช่วยให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ ในแนวทางการจัดการศึกษาตามหลักสูตร กศน.51 และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามวิธีเรียน กศน.
90
ความสำคัญของคู่มือผู้เรียน
2. ช่วยให้ผู้เรียนทราบรายละเอียดในเนื้อหาสาระ ของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นๆ พร้อมทั้งแผนการเรียนรู้ ตามการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียน ได้ทราบล่วงหน้า ว่าจะต้องทำอะไรบ้าง ในภาคเรียนนั้นๆ
91
ความสำคัญของคู่มือผู้เรียน
3 เป็นแนวทางให้ผู้เรียนใช้ในการ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม หรือเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เพราะมีกรอบการเรียนรู้ให้นักศึกษาปฏิบัติ
92
คู่มือผู้เรียนประกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ส่วนที่ 2 สาระสำคัญของหลักสูตร สาระการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่วนที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ดูรายละเอียดในใบความรู้ กิจกรรมที่ 8.4
93
เรื่องที่ 5 การประเมินผล เพื่อการพัฒนา ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
94
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ 1. การวางแผนการใช้คู่มือครู และคู่มือผู้เรียน 2. การนิเทศ การกำกับติดตามดูแล การใช้ คู่มือครู และคู่มือผู้เรียน 3 .การประเมินผล และพัฒนาปรับปรุงคู่มือครู และคู่มือผู้เรียน ทดลองนำไปใช้ และพัฒนา ในปีการศึกษา 2554
95
กระบวนการต่อเนื่อง อบรมวิทยากรแกนนำ อบรมครู กศน. แต่ละจังหวัด
ครูกศน.นำไปปฏิบัติ ติดตามประเมินผล จัดกระบวนการเรียนรู้ กศน แบบบูรณาการ พัฒนา
96
จบแล้ว สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.