ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
2
หัวข้อบรรยายประกอบด้วย
1. ค่าไฟฟ้า 2. รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า 3. อัตราค่าไฟฟ้า 4. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า 5. แนวทางการลดค่าไฟฟ้า 6. การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า 7. การวัดความต้องการพลังไฟฟ้า สูงสุด 8. การควบคุมความต้องการพลัง ไฟฟ้าสูงสุด
3
ค่าไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า ( บาทต่อหน่วย )
ค่าพลังงานไฟฟ้า ( บาทต่อหน่วย ) ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด ( บาทต่อกิโลวัตต์ ) ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ( บาทต่อกิโลวาร์ ) ค่า Ft ( บาทต่อหน่วย ) ค่าภาษี VAT
4
รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
1. อัตราปกติ ( โรงงานขนาดเล็ก - กลาง ) 2. อัตรา TOD ( โรงงานขนาดใหญ่ ) 3. อัตรา TOU ( โรงงานขนาดกลาง - ใหญ่ )
5
อัตราปกติ P = กิโลวัตต์ และ E ,000 หน่วยต่อเดือน >
6
รายเดิม เลือกอัตรา TOD ( หรือ TOU )
7
อัตรา TOD > หมายเหตุ * คิดค่า Demand เฉพาะส่วนที่เกิน Peak Demand
8
อัตรา TOD 00: : :3021:3024:00 น.
9
อัตรา TOU 1. P < 1,000 kW และ E 250,000 หน่วยต่อเดือน
2. ผู้ใช้ TOU เดิม ต้องใช้ TOU ใหม่ 3. P 1,000 kW หรือ E > 250,000 หน่วยต่อเดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม ต้องใช้อัตรา TOU
10
อัตรา TOU >
11
อัตรา TOU 1.1914 B/kWh จันทร์ - ศุกร์ 132.93 B/kW 2.6950 B/kWh 1.1914
00: : : :00 น. B/kWh เสาร์ – อาทิตย์ และวันหยุดราชการตามปกติ 00: :00 น.
12
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตราปกติ
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตราปกติ ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องเพิ่มค่า LF
13
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตราปกติ
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตราปกติ
14
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD
ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด P/PP และเพิ่มค่า LF
15
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD
ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด P/PP , PP/OP และเพิ่มค่า LF
16
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD
17
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU
E1 E ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด และเพิ่มค่า LF
18
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU
ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด , และเพิ่มค่า LF
19
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU
20
อัตราปกติ แนวทางการลดค่าไฟฟ้า ต้องเพิ่มค่า Load Factor
21
ค่าไฟฟ้าที่ลดได้ในเดือนที่มี 31 วัน ( บาทต่อหน่วย )
การจัดการโหลด : อัตราปกติ ค่าไฟฟ้าที่ลดได้ในเดือนที่มี 31 วัน ( บาทต่อหน่วย )
22
การจัดการโหลด : อัตราปกติ
การจัดการโหลด : อัตราปกติ 1. ใช้ไฟฟ้าให้สม่ำเสมอเพื่อ ลด P เพิ่ม LF 2. เพิ่มกิจกรรมในช่วงเวลาที่เคยใช้ไฟน้อย ๆ เพื่อ เพิ่ม E เพิ่ม LF
23
การจัดการโหลด : อัตราปกติ
การจัดการโหลด : อัตราปกติ
24
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
25
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
26
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
27
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตราปกติ
28
การจัดการโหลด : อัตรา TOD
ลด P / PP
29
การจัดการโหลด : อัตรา TOD
1 ) ลด P / PP 2 ) ลด PP / OP
30
การลดอัตราส่วน P / PP 1. ย้ายโหลดตอนหัวค่ำ ( 18: :30 ) ไปเดินตอนกลางคืน ( 21: :00 ) จะลดค่าไฟฟ้าได้ บาท/kW 2. ย้ายโหลดตอนหัวค่ำไปเดินตอนกลางวัน ( 08: :30 ) จะ ลดค่าไฟฟ้าได้ บาท / kW. 3. ปั่นไฟใช้เองตอนหัวค่ำ 4. หากทำงานแบบ 2 กะ ให้แยกเวลาทำงานระหว่างกะตอนหัวค่ำ จะช่วยลดค่าไฟฟ้าได้ บาท / kW.
31
การจัดการโหลด : อัตรา TOD
32
การจัดการโหลด : อัตรา TOD
33
การจัดการโหลด : อัตรา TOD
34
การจัดการโหลด : อัตรา TOD
35
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOD
36
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOD
37
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOD
38
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOD
39
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOD
40
แนวทางการลดค่าไฟฟ้า อัตรา TOD
ต้องหลีกเลี่ยงการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาหัวค่ำ ( 18: :30 น. ของทุกวัน ) ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ พลาดครั้งเดียว ( แค่ 15 นาที ) ก็ไม่ได้ เพิ่มการใช้ไฟฟ้าในช่วงกลางคืนถึงตอนเช้า ( 21: :00 ) น. แทนการใช้ตอนหัวค่ำ ใช้ไฟฟ้าตอนกลางวันให้สม่ำเสมอที่สุด
41
กรอบที่ควรใช้ 00: : :30 21:30 24:00 น.
42
การจัดการโหลด : อัตรา TOU
43
การจัดการโหลด : อัตรา TOU
44
การจัดการโหลด : อัตรา TOU
หากย้ายกิจกรรมส่วนหนึ่งไปทำช่วง OFF Peak แทน ได้ E1 = 1,500,000 หน่วย E1 / E = E2 = 2,030,000 หน่วย E2 / E =
45
การจัดการโหลด : อัตรา TOU
ปรับกิจกรรมไปทำช่วงวันเสาร์ - วันอาทิตย์ - วันหยุด และช่วงกลางคืน ( 22: :00 ) วันจันทร์ - วันศุกร์
46
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOU
47
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOU
48
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOU
49
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOU
50
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า : อัตรา TOU
51
แนวทางการลดค่าไฟฟ้า อัตรา TOU
ใช้ไฟฟ้าตอนกลางวันถึงหัวค่ำ ( 09: :00 น. ) ของ วันจันทร์ - ศุกร์ ยกเว้นวันหยุดราชการตามปกติให้สม่ำเสมอที่สุด เปลี่ยนไปใช้ไฟฟ้าตอนกลางคืนถึงช่วงเช้า ( 22: :00 น. ) ของวันจันทร์ - ศุกร์ แทนการใช้ตอนกลางวันถึงหัวค่ำ ใช้ไฟฟ้าในช่วงวันเสาร์ –อาทิตย์และวันหยุดราชการตามปกติให้ ได้ประโยชน์มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
52
ตัวอย่างการวัดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
54
การวัดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
55
การวัดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
อัตราปกติ จำนวนครั้งของการเกิดความต้องการพลังไฟฟ้า
56
การวัดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
อัตรา TOD จำนวนครั้งของการเกิดความต้องการพลังไฟฟ้า
57
การควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
การควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด คือ การควบคุมปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่จะถูกใช้ไปในทุก ๆ คาบเวลา 15 นาที หากไม่ต้องการให้ P เกิน kW ต้องควบคุมให้ E ทุกคาบเวลา 15 นาที ไม่เกิน kWh
58
การควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
59
วิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
1. ย้ายเวลาเดินเครื่องจักรบางชุด ( หลีกเลี่ยงการทำงานพิเศษในเวลาทำงานปกติ ) P ( kW ) วันที่
60
วิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
หลีกเลี่ยงการทำงานพิเศษ
61
วิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
2. ปลดหรือลดโหลดของเครื่องจักรเป้าหมาย
62
วิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
2. ปลดหรือลดโหลดของเครื่องจักรเป้าหมาย
63
3. จัดเวลาเดินเครื่อง จักรใหม่
64
วิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
ปลดเครื่องจักรที่เดินตัวเปล่า หลีกเลี่ยงการเดินเครื่องจักรพร้อม ๆ กันทั้งหมดหลังไฟดับ เลือกใช้เครื่องจักรประสิทธิภาพสูง 7. วางแผนการใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสมทั้งปี
65
จบการบรรยาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.