ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAnnabelle Thompson ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559 ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย 7 กันยายน 2559
2
วาระการประชุม วาระที่ 1 : เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
1.1 การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ สู่การปฏิบัติของหน่วยงานกรมอนามัย 2.1 รายงานการประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 3/ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข 3.2 ความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 4.1 การจัดทำแผนปฏิบัติการกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (งบดำเนินงาน) 4.2 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 วาระที่ 1 : เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 : รับรองรายงานประชุม วาระที่ 3 : เรื่องสืบเนื่อง วาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 5 : เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)
3
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ สู่การปฏิบัติ ของหน่วยงานกรมอนามัย
4
เป็นองค์กรหลักของประเทศใน
สรุปตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี 12 เป้าประสงค์ (12 Goals) 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (4 Strategy Issues) (5 ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย) 21 ตัวชี้วัด (21 KPIs)
5
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
SI 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย (7 Goals-14 KPIs) SI2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน (1 Goal-2 KPIs) 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ (3 Goals- 4 KPIs) 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด (1 Goal - 2 KPIs) 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น (1 Goal - 4 KPIs) 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ (1 Goal - 2 KPIs) 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม SI3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (1 Goal – 2 KPIs) SI4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล (3 Goals – 3 KPIs)
6
สรุปตัวชี้วัด เป็นองค์กรหลักของประเทศใน
การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน SI 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย (7 Goals - 14 KPIs) SI2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน (1 Goal -2 KPIs) SI3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (1 Goal- 2 KPIs) SI4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล (3 Goals- 3 KPIs) 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมดำเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) 19) จำนวนงานวิจัย ผลงานวิชาการ และนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์สอดคล้องกับนโยบาย (กระทรวง) และกลไกการขับเคลื่อนนโยบาย (เขตสุขภาพ) 1) อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนคน 5) ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน ฟันไม่ผุ (Caries free) และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ 6) ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ด้านการบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพ 7) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ต่อประชากรหญิงอายุ ปี พันคน 8) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ต่อประชากรหญิงอายุ ปี พันคน 9) ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 10) ร้อยละของวัยรุ่น ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ 11) ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี มีดัชนีมวลกายปกติ 12) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม - กิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ - นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอต่อสุขภาพ - ดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม 13) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) 14) ร้อยละของผู้สูงอายุ (อายุ60-74ปี) มีฟันใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบ 15) ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพ ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน 16) จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 17) ร้อยละของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 18) ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) 2) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย 20) การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 4) ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ฟันไม่ผุ (Caries free) เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล 21) คะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. A P I R B H E A L T M O P H
7
มติที่ประชุมหน่วยงานส่วนกลาง ครั้งที่ 8/2559 เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2559
มอบกองแผนงานและสำนักสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยงจัดทำ Infographic ที่เป็นผลงานเด่น (Highlight) รอบ 1 ปี ระยะเวลานำเสนอไม่เกิน 5 นาที ภายใน 1 เดือน 2. มอบกองแผนงาน ดังนี้ 2.1 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ ให้พิจารณาข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) ของแต่ละ หน่วยงาน กรณีที่ตัวชี้วัดไม่มีข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) ในแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ ไม่ต้องถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่า เป้าหมายแต่พัฒนาให้ได้ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) สำหรับถ่ายทอดตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมายในปีถัดไป 2.2 จัดประชุมชี้แจงการแปลงแผนสู่การปฏิบัติให้ศูนย์อนามัยผ่าน Web conference ใน วันที่ 9 ก.ย. 59 เวลา น. ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ และในการ ประชุมกรมอนามัย วันที่ 13 ก.ย. 59 ทุกหน่วยงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ส่งกองแผนงานภายในวันที่ 12 ก.ย. 59 (ตามหนังสือกรมอนามัย ด่วนที่สุด ที่ สธ /6372 ลงวันที่ 1 ก.ย. 59)
8
วาระที่ 2 รับรองรายงานประชุม
วาระที่ 2 รับรองรายงานประชุม ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมหัวหน้ากลุ่ม บริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 3/ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 (เอกสารหมายเลข 1 )
9
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
3.1 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข 3.2 รายงานความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย
10
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง (ต่อ)
3.1 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข
11
ร่างตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข
ทั้งสิ้น 99 ตัวชี้วัด กรม อ. รับผิดชอบ 14 ตัวชี้วัด เน้นหนัก ปี 60 32 ตัวชี้วัด กรม อ. รับผิดชอบ 5 ตัวชี้วัด
12
(ร่าง) ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข
(ร่าง) ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก) โครงการ (ร่าง) ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก) 1. Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) (3 แผนงาน 7 โครงการ) แผนงานที่ 1 : พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) (4 โครงการ-7 ตัวชี้วัด) 1. โครงการเตรียมความพร้อมสู่การตั้งครรภ์เพื่อลูกคุณภาพ Lag : 1) อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 2. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่นแข็งแรง ฉลาดและมีพฤติกรรมที่เหมาะสม Lag : 2) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน 5) ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 3. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมของคนไทยกลุ่มวัยทำงาน Lead : 1) ร้อยละของประชากรวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ 4.โครงการพัฒนาและสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมของคนไทย กลุ่มวัยผู้สูงอายุ (THAI ACTIVE AGING : Strong Social and Security) Lag : ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
13
(ร่าง) ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข
(ร่าง) ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก) (ต่อ) โครงการ (ร่าง) ตัวชี้วัดกรมอนามัย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก) แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (1 โครงการ - 2 ตัวชี้วัด) 3. โครงการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของคนไทย เพื่อลดการพึ่งพิงบริการ Lead 1) ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ 2) แปรงฟัน 222 แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (2 โครงการ - 3 ตัวชี้วัด) 1.โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม Lead : 1) ร้อยละของหน่วยบริการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 2) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital 2. โครงการคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (Hot Zone) Lag : 1) จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2. Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) (4 แผนงาน 20 โครงการ) แผนงานที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) (1 โครงการ - 2 ตัวชี้วัด) 10. โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ช่องปาก Lead : 1) ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ Lag : 1) ร้อยละของผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบ
14
3.2 ความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวัง
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง (ต่อ) 3.2 ความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย คณะอนุฯ เฝ้าระวังฯ
15
ความก้าวหน้า… - วิเคราะห์รายการข้อมูลตัวชี้วัดที่มีอิทธิพลต่อประเด็นการเฝ้าระวังในแต่ละ Cluster - ถอดบทเรียนการเฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพเพื่อการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
16
ประเด็นการเฝ้าระวัง แม่และเด็ก : แม่ตาย, เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน วัยเรียน : เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ, สูงดีสมส่วน วัยรุ่น : วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม, สูงดีสมส่วน วัยทำงาน : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี วัยสูงอายุ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี อนามัยสิ่งแวดล้อม : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities)
17
เกณฑ์การคัดเลือกตัวชี้วัด
ให้ความสำคัญกับมิติ Protective Factors Promoting Intervention และLife Imfact ให้ความสำคัญกับเหตุผลที่ตอบ SDGs, Global Target, นโยบายรัฐบาล, กระทรวง ให้ความสำคัญประเภทตัวชี้วัดที่เป็น KPI แหล่งข้อมูลเน้นที่มีระบบรายงาน
18
จำนวนตัวชี้วัดที่เลือกจำแนกตามประเด็นเฝ้าระวัง (36 จาก 137 ตัวชี้วัด)
แม่ตาย 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 7 เด็ก 0-5 ปี วัยเรียน วัยรุ่น : สูงดีสมส่วน 12 วัยเรียนเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ และมีทักษะสุขภาพ 4 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี อนามัยสิ่งแวดล้อม : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน 3 รวม 36
19
2 ตัวชี้วัด แม่และเด็ก : แม่ตาย
อัตราส่วนการตายมารดา ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ร้อยละของบริการห้องคลอดคุณภาพ ร้อยละของจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังมารดาตาย ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ ร้อยละของรพ.ที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 2 ตัวชี้วัด
20
แม่และเด็ก : เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ร้อยละของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรก หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละของเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ร้อยละพ่อแม่คุณภาพ ร้อยละของ WCC คุณภาพ ปริมาณไอโอดีนปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละของทารก 6-11 เดือน ได้รับอาหารตามวัยเหมาะสม 7 ตัวชี้วัด
21
สูงดีสมส่วน: เด็ก 0-5 ปี วัยเรียน วัยรุ่น
สูงดีสมส่วน: เด็ก 0-5 ปี วัยเรียน วัยรุ่น ร้อยละของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีภาวะเตี้ย ร้อยละเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีภาวะผอม ร้อยละเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีภาวะอ้วน ร้อยละภาวะโลหิตจางในเด็กอายุ 6-12 เดือน ร้อยละเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงดีสมส่วน ร้อยละเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ความชุกของวัยรุ่นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ความชุกของวัยรุ่นที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ความชุกของวัยรุ่นที่มีภาวะโลหิตจาง เด็กอายุ ปี สูงสมส่วน ส่วนสูงเฉลี่ยอายุ 19 ปี วัยรุ่นอายุ ปีมีภาวะผอม ร้อยละเด็กปฐมวัย (อายุ 2-5 ปี) ได้รับอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยมีการเจริญเติบโตอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละเด็กปฐมวัย (อายุ 2-5 ปี) ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมใน 1 วัน 12 ตัวชี้วัด
22
วัยเรียน : เจริญเติบโตเต็มศักยภาพ และมีทักษะสุขภาพ
วัยเรียน : เจริญเติบโตเต็มศักยภาพ และมีทักษะสุขภาพ ร้อยละภาวะสุขภาพนักเรียน (GSHS: Global School base Student Health) ร้อยละเด็กอายุ ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 ได้รับการตรวจวัดสายตาพบความผิดปกติ ร้อยละของนักเรียนมีภาวะโลหิตจาง ร้อยละโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ร้อยละของนักเรียนมีเหา ร้อยละของนักเรียนมีภาวะคอพอก ร้อยละของนักเรียนมีสมรรถภาพทางกายผ่านเกณฑ์ ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเงิน 4 ตัวชี้วัด
23
วัยเรียน : เจริญเติบโตเต็มศักยภาพ และมีทักษะสุขภาพ (ต่อ)
วัยเรียน : เจริญเติบโตเต็มศักยภาพ และมีทักษะสุขภาพ (ต่อ) ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองแดง ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปีปราศจากเหงือกอักเสบ ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปีพบฟันตกกระ ร้อยละของโรงเรียนมีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 กรณีตรวจพบความผิดปกติได้รับการแก้ไข/ส่งต่อ ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 ได้รับการตรวจคัดกรองการได้ยิน และกรณีตรวจพบความผิดปกติได้รับการแก้ไข/ส่งต่อ ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปีเสี่ยงเกิดโรคฟันผุ ร้อยละของโรงเรียนปลอดอาหารเสี่ยงทันตสุขภาพ ร้อยละของโรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ร้อยละของโรงเรียนมีน้ำดื่มผ่านเกณฑ์มาตรฐานฟลูออไรด์ ส่วนสูงเฉลี่ยในเด็กชาย/หญิงที่มี อายุ 14 ปี เด็กวัยเรียน (อายุ 5-14 ปี) ได้รับอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยมีการเจริญเติบโตอยู๋ในเกณฑ์ปกติ เด็กวัยเรียน (อายุ 5-14 ปี) ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมใน 1 วัน
24
วัยรุ่น : มีทักษะชีวิตและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม
อัตราการคลอดในกลุ่มหญิงอายุ ปี อัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ ปี อัตราการคลอดซ้ำในวัยรุ่น ร้อยละการคลอดมีชีพของหญิงอายุ ปี คลอดมีชีพ อายุเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก นักเรียนชั้น ม.5 และปวช.ชั้นปีที่ 2 ร้อยละของวัยรุ่นที่เคยมีเพศสัมพันธุ์ นักเรียนชั้น ม.5 และปวช.ชั้นปีที่ 2 ร้อยละของวัยรุ่นที่ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก นักเรียนชั้น ม.5 และปวช.ชั้นปีที่ 2 ร้อยละของวัยรุ่นที่ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด นักเรียนชั้น ม.5 และปวช.ชั้นปีที่ 2 ร้อยละของวัยรุ่นที่ใช้การคุมกำเนิดใด ๆ เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด นักเรียนชั้น ม.5 และปวช.ชั้นปีที่ 2 ร้อยละของสตรีอายุ ปีที่คลอดบุตรมีชีพก่อนอายุครบ 15 ปี ประชากรไทยอายุ 6 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกาย เพียงพอต่อสุขภาพ อายุ 6-14 ประชากรไทยอายุ 6 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ อายุ 15 ปี ขึ้นไป 4 ตัวชี้วัด
25
วัยรุ่น : มีทักษะชีวิตและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม (ต่อ)
ร้อยละของวัยรุ่นที่ใช้วิธีการคุมกำเนิดที่ทันสมัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละของวัยรุ่นที่ใช้วิธีการคุมกำเนิดแบบดั้งเดิมเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด เด็กวัยรุ่นมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ร้อยละของวัยรุ่นอายุ 15-18ปี มีการแปรงฟันแบบ 222 อัตราตายของวัยรุ่น อัตราการตายของวัยรุ่นจากการบาดเจ็บการจราจรบนถนน อัตราตายของวัยรุ่นจาก เอชไอวี/เอดส์ วัยรุ่นที่อาศัยกับผู้ติดเชื่อ เอชไอวี อัตราการตายของวัยรุ่นจากการฆ่าตัวตาย อัตราการตายของวัยรุ่นจากความรุนแรงระหว่างบุคคล ความชุกของภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น อัตราส่วนการตายของมารดาวัยรุ่น ร้อยละของวัยรุ่น อายุ ๑๕-๑๙ ปี ที่มีการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาทักษะชีวิต การคุมกำเนิด และโรคติดต่อทางระบบสืบพันธุ์
26
วัยรุ่น : มีทักษะชีวิตและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม (ต่อ)
การใช้บุหรี่ในปัจจุบันในกลุ่มวัยรุ่น การใช้แอลกอฮอล์ในปัจจุบันในกลุ่มวัยรุ่น การใช้กัญชาใช้ปัจจุบันในกลุ่มวัยรุ่น ความชุกของการออกกำลังกายไม่เพียงพอในกลุ่มวัยรุ่น ร้อยละของสตรีอายุ ปีที่คลอดบุตรมีชีพก่อนอายุครบ 18 ปี ร้อยละของผู้หญิงที่มีอายุ ปีแต่งงานก่อนอายุ 15 ปี ร้อยละของผู้หญิงที่มีอายุ ปีแต่งงานก่อนอายุ 18 ปี ร้อยละของสตรีอายุ ปี แต่งงาน / สมรส ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อ เอ็ชไอวี ในกลุ่มวัยรุ่น
27
วัยทำงาน : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี
ร้อยละของวัยทำงานหุ่นดี (BMI ปกติ) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละของประชากรวัยทำงานมีพฤติกรรมบริโภคผักผลไม้ถูกต้องตามธงโภชนาการ ร้อยละของประชาชนอายุ ปี มีรอบเอวไม่เกินเกณฑ์ ร้อยละของประชาชนอายุ ปี มีBMI เหมาะสม ( kg/m2) สส ร้อยละภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ร้อยละของความตระหนักรู้พฤติกรรมโภชนาการและการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มในวัยทำงาน ร้อยละการใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่ได้คุณภาพในครัวเรือน (มีไอโอดีนไม่น้อยกว่า 20 ppm. และไม่เกิน 40 ppm.) ร้อยละของวัยทำงานอายุ 15-59ปี ที่มารับการตรวจ เบาหวานความดัน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละของวัยทำงานอายุ 15-59ปี มีการแปรงฟันแบบ 222 ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก 2 ตัวชี้วัด
28
วัยสูงอายุ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
วัยสูงอายุ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละของผู้สูงอายุพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีฟันแท้ 20 ซี่ขึ้นไป จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับฟันเทียมพระราชทาน ร้อยของผู้สูงอายุที่มีฟันหลัง4คู่สบขึ้นไป จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับบริการทันตกรรม จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับความรู้ในการดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง ร้อยละผู้สูงอายุที่มีการแปรงฟันก่อนนอน ร้อยละของวัย60-70 ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) สัดส่วนผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Care giver)เมื่อเทียบกับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปอดทุกกลุ่มวัย ผู้สูงอายุมีภาวะโภชนาการดี 2 ตัวชี้วัด
29
อนามัยสิ่งแวดล้อม : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน
มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละคุณภาพน้ำบริโภคจากแหล่งต่างๆ ที่ได้มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค กรมอนามัย ร้อยละของครัวเรือนที่มีส้วมใช้ ร้อยละของอปท.ที่ให้บริการสูบสิ่งปฏิกูลหรืออนุญาตหรือให้สัมปทานแก่เอกชนดำเนินการ ร้อยละของอปท.ที่มีระบบกำจัด/บำบัดสิ่งปฏิกูลที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละของส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ร้อยละของอปท. ที่จัดระบบบริการเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ ร้อยละของอปท. ที่มีระบบการบำบัดหรือกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการใช้เอกสารกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ ร้อยละของอปท.ที่มีระบบกำจัดมูลฝอยทั่วไปอย่างถูกหลักสุขาภิบาล 3 ตัวชี้วัด
30
อนามัยสิ่งแวดล้อม : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน
ร้อยละของ อปท. ที่มีระบบเก็บขนมูลฝอยทั่วไป ร้อยละของมูลฝอยทั่วไปที่ได้รับการเก็บขน ร้อยละของอปท. ที่มีระบบบริการเก็บขนมูลฝอยอันตรายเพื่อนำไปกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะ สถานการณ์สุขลักษณะสถานประกอบการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหาร สถานการณ์การปนเปื้อนทางชีวภาพของอาหารพร้อมบริโภค เครื่องดื่ม น้ำแข็ง ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร จากสถานประกอบการด้านอาหาร การปนเปื้อนสารเคมีในอาหารที่จำหน่ายในตลาดประเภท 1 และประเภท 2 ปริมาณสารมลพิษในบรรยากาศ ร้อยละของจำนวนวันที่สารมลพิษในบรรยากาศเกินมาตรฐานต่อปี อัตราการป่วยและเสียชีวิตจากโรคระบบทางเดินหายใจ , โรคระบบหลอดเลือดและหัวใจ , โรคหอบหืด , โรคมะเร็งปอด(ต่อแสนประชากร)
31
อนามัยสิ่งแวดล้อม : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน
ระดับอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ อัตราป่วยและเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวกับกับความร้อน จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพกับปัญหาจากมลพิษสารเคมีและสารอันตราย จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพกับปัญหาจากมลพิษสารเคมีและสารอันตราย ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการออกข้อกำหนดของท้องถิ่นตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 จำนวนน้ำบริโภคผ่านเกณฑ์มาตรฐานฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค ร้อยละแปรงสีฟันที่มีคุณภาพ
32
การถอดบทเรียนการเฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพ พื้นที่นำข้อมูลไปใช้
National Oral Health Survey ตัวชี้วัด กระทรวง สธ. Literature Review ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เน้นรายการข้อมูลน้อยเก็บง่ายที่สุด ทบทวนรายการข้อมูลทุก3 ปี การเลือกประเด็นและรายการข้อมูล ทดสอบเก็บข้อมูลพื้นที่นำร่อง อบรมวิธีการทำงาน ไม่บังคับเน้นให้ทราบถึงประโยชน์ สนับสนุนให้คำปรึกษา สร้างความสัมพันธ์ที่ดี การเก็บข้อมูล วิเคราะห์แปลผลคืนข้อมูล ช่วยวิเคราะห์แปลผลตามที่พื้นที่ร้องขอ นำไปใช้ประกอบการเขียนแผนงาน โครงการ และกำหนดนโยบาย การใช้ข้อมูล งานเฝ้าระวัง อยู่ใน บรย. ทันตาภิบาล
33
แผนปฏิบัติการดำเนินงานพัฒนาระบบเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม ส.ค. 59 ก.ย. 59 ถอดบทเรียนการเฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพ 10-11 เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผลข้อมูล และจัดทำรายงานสรุปผล 1-31 1-20 นำเสนอขอข้อเสนอแนะจากผู้บริหารระดับสูง 20 เผยแพร่ข้อมูลการเฝ้าระวังรูปแบบต่างๆ เช่น เอกสาร เว็บไซต์ 21-30 วิเคราะห์ออกแบบระบบสารสนเทศเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 1-30
34
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ
4.1 การจัดทำแผนปฏิบัติการกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 (งบดำเนินงาน)
35
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ)
4.2 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์การงบประมาณ 7 กันยายน 2559
36
ประเด็น งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัยที่ได้รับ
1. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัยที่ได้รับ 2. หลักการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย 3. ชี้แจงรายละเอียดเอกสารแจ้งการจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงาน 4. Q & A
37
(ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่าย ปี 2560
1. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัยที่ได้รับ หน่วย : ล้านบาท ลำดับ งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับปี 2559 (ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่าย ปี 2560 งบประมาณ ปี 2560 เพิ่ม-ลด จากปี 2559 จำนวน % 1 งบบุคลากร 1,242.76 1,208.68 -34.08 -2.74 2 งบดำเนินงาน 494.57 599.71 585.83 91.26 18.45 3 งบลงทุน 205.70 172.18 171.04 -34.66 -16.85 4 งบอุดหนุน 6.44 5.36 -1.08 -16.77 5 งบรายจ่ายอื่น 30.19 24.55 23.43 -6.76 -22.39 รวม 1,979.66 2,010.48 1,994.34 14.68 0.74
38
สัดส่วนงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กรมอนามัย มิติงบรายจ่าย
39
หลักการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย
2. หลักการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย 1. งบบุคลากร งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น จัดสรรให้ในรายการและหน่วยงานตามแผนงานที่ได้รับการอนุมัติจากสำนักงบประมาณ 2. งบดำเนินงาน มีแนวทางการจัดสรรดังนี้
40
สัดส่วนงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กรมอนามัย (งบดำเนินงาน)
41
สัดส่วนงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กรมอนามัย (งบดำเนินงานที่จัดสรรให้หน่วยงาน)
42
ค่าใช้จ่ายพื้นฐาน (Function)
43
ค่าใช้จ่ายยุทธศาสตร์ (Agenda)
44
ชี้แจงรายละเอียดเอกสารแจ้งการจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงาน
3. ชี้แจงรายละเอียดเอกสารแจ้งการจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงาน กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์การงบประมาณ ได้แจ้งแผนการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย (งบดำเนินงาน) ให้กับทุกหน่วยงานภายใต้สังกัดกรมอนามัย จำนวน 3 ส่วน ประกอบด้วย 1.1 รายละเอียดการจัดสรรงบดำเนินงานจำแนกตามค่าใช้จ่าย (ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำและตามสิทธิ+ค่าใช้จ่ายพื้นฐาน+ค่าใช้จ่ายยุทธศาสตร์) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1.2 รายละเอียดการจัดสรรงบประมาณดำเนินงานรายหน่วยงานภายใต้สังกัดกรมอนามัย จำแนกตามแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1.3 สรุปการจัดสรรงบประมาณปี 2560 กรมอนามัย (Agenda) เป็นรายการที่ Cluster จัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงาน ภายใต้โครงการกิจกรรมที่กำหนด (earmark)
45
1.1 - ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำตามสิทธิ : ค่าใช้จ่ายตามสิทธิของบุคลากร : ค่าเช่าบ้าน 2%,4% ไม่ทำเวชฯ สปพ. พตส. - ค่าใช้จ่ายพื้นฐาน ( Function) : ค่าใช้จ่ายสำหรับการบริหารจัดการภายในหน่วยงานที่ทำให้หน่วยงานสามารถทำงานตามภารกิจของหน่วยงานได้ - ค่าใช้จ่ายยุทธศาสตร์ (Agenda) : ค่าใช้จ่ายสำหรับดำเนินงานตามแผนงานบูรณาการและแผนงานยุทธศาสตร์ที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณ
46
1.2
47
1.3 - เป็นรายการที่ Cluster จัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงาน ภายใต้โครงการกิจกรรมที่กำหนด (earmark)
48
4. Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.