งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

2 หัวข้อบรรยาย แนวคิดเกี่ยวกับการวัด
ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัยที่มีคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย ความตรงตามเนื้อหา ความเที่ยง

3 วัตถุประสงค์การเรียนรู้
ระบุปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด และได้ถูกต้อง อธิบายคุณสมบัติสำคัญของเครื่องมือวิจัยที่มีคุณภาพซึ่งใช้ในงานวิจัยเชิงปริมาณได้ถูกต้อง สามารถสร้างและตรวจสอบคุณภาพความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงของเครื่องมือวิจัย สามารถวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและแปลผลค่าความเที่ยงได้ถูกต้อง

4

5 Minimization of Error Variance
Statistical Conclusion Validity External Validity Construct Validity Internal Validity แบบแผน การวิจัย สถิติ เครื่อง มือ สุ่มตัวอย่าง ขนาดตัวอย่าง

6 เครื่องมือวิจัยทางธุรกิจ ทางสังคมศาสตร์ และศึกษาศาสตร์
1 เครื่องมือวัดความรู้ 2. เครื่องมือวัดความคิดเห็น 3. เครื่องมือวัดพฤติกรรม

7 ไม่มีคุณภาพ เครื่องมือวิจัยฉบับภาษาไทย มีเครื่องมือวิจัย
มีคุณภาพ มาตรฐาน สอดคล้องกับแนวคิด ทันสมัยเหมาะสมกับบริบทปัจจุบัน แนวคิดตัวแปรสอดคล้อง แต่คำถามบางข้อ ไม่เหมาะสม มีเครื่องมือวิจัย ไม่มีเครื่องมือวิจัย ไม่มีคุณภาพ ตรวจคุณภาพความ ตรง ตรวจคุณภาพความตรง สร้าง/พัฒนา เครื่องมือ ขออนุญาตใช้ เครื่องมือ ปรับปรุงดัดแปลง ทดลองใช้เครื่องมือ ตรวจคุณภาพ ความตรง ขออนุญาตใช้เครื่องมือ สร้าง/พัฒนาเครื่องมือ ตามหลักการพัฒนา เครื่องมือ (Try out)

8 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย
1. นิยามแนวคิด/ทฤษฎีของตัวแปร 2. นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร 3. ออกแบบมาตรวัด 4. ร่างคำถามและเรียงคำถาม 5. เสาะหาผู้เชี่ยวชาญ 6. ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา 7. ทดลองใช้เครื่องมือและหาค่าความเที่ยง

9 1. นิยามแนวคิด/ทฤษฎีของตัวแปร
1. นิยามแนวคิด/ทฤษฎีของตัวแปร ตัวแปรที่ศึกษาต้องมีแนวคิด (Concept) ทฤษฎี (Theory) ที่อธิบายความหมาย ตัวแปร หรือนิยามตัวแปร โดยเป็นความหมายตามเนื้อหาที่กล่าวในทฤษฎี ซึ่งเรียกว่า นิยามเชิงทฤษฎี (Conceptual definition)

10 2. นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร ความหมายของนิยามเชิงปฏิบัติการ

11 หลักการเขียนคำนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร
สอดคล้องกับนิยามเชิงทฤษฏีของตัวแปร ครอบคลุมขอบเขตที่ศึกษา วัดและประเมินได้ (พฤติกรรม การกระทำ คำพูด)

12 . ตัวแปรที่ไม่ต้องนิยามเชิงปฏิบัติการ
. ตัวแปรที่ไม่ต้องนิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ วุฒิการศึกษา ส่วนสูง น้ำหนัก เนื่องจากตัวแปรเหล่านี้ บุคคลโดยทั่วไปหรือกลุ่มตัวอย่างรับรู้ความหมายของตัวแปรหรือแปลความหมายของตัวแปรได้ตรงกัน สถานที่เฉพาะ มีแห่งเดียว เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และสภาวิจัยแห่งชาติ สถานที่เหล่านี้มีแห่งเดียวในประเทศไทย บุคคลโดยทั่วไปหรือกลุ่มตัวอย่างรับรู้ความหมายหรือแปลความหมายได้ตรงกัน

13 เขียนคำนิยามเชิงปฏิบัติการ คำนิยามเชิงปฏิบัติการ
คำนิยามเชิงมโนทัศน์ ของตัวแปร คำนิยามเชิงปฏิบัติการ ของตัวแปร เครื่องมือวิจัย

14 3. ออกแบบมาตรวัด แบบสอบถามปลายเปิด แบบสอบถามปลายปิด

15 Dichotomous ท่านเคยดื่มน้ำข้าวกล้องงอกหรือไม่
1.  เคย 2.  ไม่เคย ท่านมีแผนที่จะซื้อบ้านจัดสรรภายในปี พ.ศ หรือไม่ 1.  มี 2.  ไม่มี

16 ออกแบบมาตรวัดความรู้
4. ออกแบบมาตรวัดความรู้ รายการ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง น้ำข้าวกล้องงอกช่วยป้องกันโรคหัวใจ

17 Multiple choice (Single Response scale)
คณะที่สนใจศึกษาเป็นอันดับแรก บริหารศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ครุศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ อื่นๆ โปรดระบุ……….

18 ความรู้วิจัย ข้อใดไม่ใช่เป็นตัวแปร เพศ อาชีพ เชื้อชาติ สุนัข
Multiple choice (Single Response scale) ข้อใดไม่ใช่เป็นตัวแปร เพศ อาชีพ เชื้อชาติ สุนัข ความรู้วิจัย รองศาสตราจารย์. ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

19 น้อยกว่า 1,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องสำอางต่อเดือน
Multiple choice (Single Response scale) ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องสำอางต่อเดือน น้อยกว่า 1,000 บาท 1,000-2,000 บาท 2,001-3,000 บาท 3,001-4,000 บาท 4,001-5,000 บาท มากกว่า 5,000 บาท

20 Multiple choice (Checklist)
จังหวัดที่ท่านสนใจปฏิบัติงาน (เลือกตอบได้ 2 ข้อ) 1  กทม. 2  เชียงใหม่ 3  สงขลา 4  ระยอง

21 Multiple choice (Ranking Priority)
เรียงลำดับผลไม้ที่ท่านชอบรับประทานจากมากที่สุด ให้ใส่ตัวเลข 1-6 ใน   ส้ม  กล้วย  มะม่วง  แอปเปิ้ล  สับปะรด  ทุเรียน

22 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
Likert scale: Agreement เห็นด้วย มากที่สุด Strongly Agree (5) (4) ไม่แน่ใจ Undecided (3) ไม่เห็นด้วย Disagree (2) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง (1)

23 Likert scale: Agreement
เห็นด้วย Agree (3) ไม่แน่ใจ Undecided (2) ไม่เห็นด้วย Disagree (1)

24 Rating scale แบบสอบถามสภาพแวดล้อมของแหล่งที่พัก
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ตรงกับสภาพแวดล้อมของแหล่งที่พัก มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย ไม่เห็นด้วย สภาพแวดล้อม (Envi) ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด ปานกลาง น้อย ไม่เห็นด้วย 1. มีระบบการระบายอากาศที่ดี ไม่ร้อนอบอ้าว (envi 1) 2. สิ่งรบกวน (เสียง/แมลง/กลิ่น) (envi 2) 10 (envi 10)

25 Rating scale: Frequency
Behavior รายการ เป็นประจำ บ่อย ครั้ง บาง น้อยครั้ง ไม่เคย ท่านล้างมือให้สะอาดก่อนหยิบจับอาหาร ท่านออกกำลังกายไม่น้อยกว่า 3 วันๆละ 30 นาที ในหนึ่งสัปดาห์ ท่านรับประทานผลไม้ทุกวัน

26 Fixed alternative frequency
ท่านออกกำลังกายบ่อยเพียงใด  ทุกวัน  5-6 วัน/สัปดาห์  3-4 วัน/สัปดาห์  1-2 วัน/สัปดาห์  ไม่ได้ออกกำลังกาย

27 Semantic differential

28 Graphic rating scale ปวดกระดูก ไม่ปวด ปวดมากที่สุด ปวดแผล

29 4. ร่างคำถามและเรียงคำถาม
4. ร่างคำถามและเรียงคำถาม ไม่ใช้คำปฏิเสธ ซ้อนปฏิเสธ ใช้ภาษา เหมาะสม มีนัยยะเดียว คำถาม ไม่ซ้ำซ้อน คำถามไม่ชี้นำ กระชับ ชัดเจน จำนวนข้อเหมาะสม

30 ผู้ร่วมงานไม่นินทา กล่าวร้ายกัน ผู้ร่วมงานพูด/ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
สัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงาน หมายถึง ผู้ร่วมงานมีความจริงใจต่อกัน มีความสามัคคี มีความรับผิดชอบ และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ความจริงใจต่อกัน ความสามัคคี ความรับผิดชอบ ผู้ร่วมงานไม่นินทา กล่าวร้ายกัน ผู้ร่วมงานพูด/ให้ข้อมูลที่เป็นจริง ผู้ร่วมงานเสแสร้งต่อกัน ผู้ร่วมงานไม่ทะเลาะกัน ผู้ร่วมงานร่วมแรงร่วมใจในการทำงาน ผู้ร่วมงานมีการแบ่งพรรคแบ่งพวก ผู้ร่วมงานไม่ลางาน/ขาดงาน โดยไม่มีกิจธุระจำเป็น ผู้ร่วมงานทำงานแล้วเสร็จตามกำหนด ผู้ร่วมงานเข้าปฏิบัติงานทันเวลา ผู้ร่วมงานไม่เบียดบังเวลาทำงานในหน่วยงานไปทำธุระส่วนตัว

31 . เรียงคำถาม ทั่วไป……………………ส่วนตัว ง่าย…………………… ยาก
ง่าย…………………… ยาก ไม่เป็นหมวดหมู่…………… เป็นหมวดหมู่ รองศาสตราจารย์. ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

32 5. ผู้เชี่ยวชาญตรวจความตรงตามเนื้อหา

33 6. ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา
6. ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามเนื้อหา (Content validity) หมายถึงสาระของคำถามมีความสอดคล้องและครอบคลุมสาระของนิยามตัวแปร

34 การตรวจความตรงตามเนื้อหา
ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (Content Validity Index = CVI) ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence = IOC 35

35 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
ความกตัญญูต่อบุพการี หมายถึง การดูแล การปรนนิบัติ และการปฏิบัติของบุตรต่อบิดา มารดา ซึ่งทำให้บิดา มารดา มีความสุขกายและสบายใจ คำถาม ท่านดูแลบิดา/มารดาให้ได้รับสารอาหารที่ช่วยบำรุงร่างกาย ท่านจัดหาอาหารที่ตรงกับรสนิยมให้บิดา มารดา ท่านไม่โต้แย้งบิดา/มารดา โดยไม่มีเหตุผล ท่านปฏิบัติตามคำสอนของบิดา มารดา ท่านทอดทิ้งบิดา/มารดาให้อยู่อย่างโดดเดี่ยว ท่านรับประทานยาแก้ไอชวนป๋วยปี่แปะกอ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 1 2 3 4

36 3 = คำถามต้องปรับปรุงเล็กน้อย จึงสอดคล้องกับคำนิยาม
ความหมาย 4 = คำถามสอดคล้องกับคำนิยาม 3 = คำถามต้องปรับปรุงเล็กน้อย จึงสอดคล้องกับคำนิยาม 2 = คำถามต้องปรับปรุงอย่างมาก จึงสอดคล้องกับคำนิยาม 1 = คำถามไม่สอดคล้องกับคำนิยาม

37 สูตรคำนวณค่าดัชนีความสอดคล้อง
จำนวนคำถามที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นในระดับ 3 และ 4 CVI = จำนวนคำถามทั้งหมด CVI = .80

38 ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
ข้อที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

39 คำถามที่ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นระดับ 1 และระดับ 2 ให้รวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาว่า ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไรจึงสอดคล้องกับคำนิยามเชิงปฏิบัติการ คำถามที่ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นระดับ 3 ปรับปรุงคำถามให้สอดคล้องกับคำนิยามเชิงปฏิบัติการ ในกรณีคำถามสอดคล้องกับคำนิยามเชิงปฏิบัติการ แต่มีความซ้ำซ้อนกับคำถามอื่นๆ ให้รวบรวมคำถามที่มีความซ้ำซ้อน และพิจารณาคัดเลือกคำถามที่ใช้สำนวนหรือถ้อยคำชัดเจนมากที่สุด หรือรวมเป็นคำถามเดียว ในกรณีคำถามสอดคล้องกับคำนิยามเชิงปฏิบัติการ และไม่ซ้ำซ้อนกับคำถามอื่นๆ แต่เขียนไม่ชัดเจน ควรปรับปรุงคำถามให้มีความชัดเจน เนื่องจากการคัดคำถามเหล่านี้ออกทั้งหมด จะทำให้คำถามที่เหลือในแบบสอบถามไม่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีของตัวแปร ในกรณีคำถามไม่สอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎีของตัวแปร และไม่สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร หรือคำถามไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายที่ต้องการวัด ให้คัดคำถามออก ในกรณีคำถามในแบบสอบถามไม่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีของตัวแปร ให้สร้างคำถามเพิ่มเติม

40 การตรวจความตรงตามเนื้อหา
ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (Content Validity Index = CVI) ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence = IOC 41

41 ดัชนีความตรงตามเนื้อหา ( Content Validity Index = CVI )
พิจารณาความสอดคล้องระหว่าง สาระคำถามกับคำนิยาม

42 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
Index of Congruence คำถาม สอดคล้อง + 1 ไม่สอดคล้อง - 1 ไม่แน่ใจ ท่านดูแลบิดา/มารดาให้ได้รับสารอาหารที่ช่วยบำรุงร่างกาย ท่านรับประทานยาแก้ไอชวนป๋วยปี่แปะกอ

43 IOC = เกณฑ์การพิจารณา IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้อง
R n IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้อง R หมายถึง คะแนนความคิดเห็นรวมของผู้เชี่ยวชาญ N หมายถึง จำนวนผู้เชี่ยวชาญ เกณฑ์การพิจารณา IOC ≥ .50 ข้อคำถามใช้ได้ IOC < .50 ข้อคำถามใช้ไม่ได้

44 ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
ข้อที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 +1 -1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

45 7. ทดลองใช้เครื่องมือ นำเครื่องมือที่ได้ปรับปรุงคำถามตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณลักษณะเหมือนกับประชากรของงานวิจัย และสภาพพื้นที่ที่เหมือนกับงานวิจัย แต่ไม่ใช่เป็นตัวอย่างกลุ่มเดียวกันกับกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัย

46 n > 30

47 8. หาค่าความเที่ยง ความเที่ยง (Reliability)

48 Reliable, but not valid Reliable, and valid Not reliable, and not valid

49 ค่าความเที่ยงมีค่าระหว่าง 0 ถึง +1 เครื่องมือวัดทั่วๆไปควรมีค่า  .80
ค่าความเที่ยงมีค่าระหว่าง 0 ถึง +1 เครื่องมือวัดทั่วๆไปควรมีค่า  .80 หากเป็นเครื่องมือใหม่ค่า .75 ก็ยอมรับได้ เครื่องมือวัดเจตคติ ควรมีค่า .70

50 (Internal consistency)
วิธีหาค่าความเที่ยง ความสอดคล้องภายใน (Internal consistency) ความคงที่ (Stability) ความเที่ยงการสังเกต (Reliability of Observation) Split-half Kuder Richardson KR 20, KR 21 Cronbach’s Alpha Coefficient

51 ใช้กับแบบสอบถามที่ให้ค่าคะแนน 2 ค่า
KR 20, KR 21 ใช้กับแบบสอบถามที่ให้ค่าคะแนน 2 ค่า ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน ไม่สามารถวิเคราะห์โดยใช้ SPSS

52 ใช้กับแบบสอบถามที่ให้ค่าคะแนน 2 ค่า (Dichotomous)
Split-half ใช้กับแบบสอบถามที่ให้ค่าคะแนน 2 ค่า (Dichotomous) ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน Item 1 Item 1 Item 3 Item 5 Item 2 Item 3 .87 Measure Item 4 Item 2 Item 4 Item 6 Item 5 Item 6

53 Cronbach's Alpha Coeficient
ใช้กับแบบสอบถามที่เป็นแบบ Check-list, Rating scale, Likert-scale วิเคราะห์โดยใช้ SPSS Analyze Scale Reliability

54 ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามสภาพแวดล้อมการทำงานของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน

55 (Internal consistency)
วิธีหาค่าความเที่ยง ความสอดคล้องภายใน (Internal consistency) ความคงที่ (Stability) ความเที่ยงการสังเกต (Reliability of Observation) Split-half Kuder Richardson KR 20, KR 21 Cronbach’s Alpha Coefficient

56 Test-retest Reliability

57 (Internal consistency)
วิธีหาค่าความเที่ยง ความสอดคล้องภายใน (Internal consistency) ความคงที่ (Stability) ความเที่ยงการสังเกต (Reliability of Observation) Split-half Kuder Richardson KR 20, KR 21 Cronbach’s Alpha Coefficient

58

59


ดาวน์โหลด ppt การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google