ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทีมป้องกันควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ICC: Infection control committee
2
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
บริบท โรงพยาบาล เตียง ห้องคลอด ห้องผ่าตัด SNB หอผู้ป่วยตึก 1 และหอผู้ป่วยพิเศษตึก 4 ICN 1 คน ( ผ่านการอบรม 4 เดือน ) ICWN 6 คน ( ผ่านการอบรม 2 สัปดาห์ 2 คน , ไม่ผ่านการอบรม 4 คน) จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ 2557 2558 2559 2560 2561 จำนวนวันนอนโรงพยาบาลรวมทั้งหมด 13,092 14,078 14,157 11,926 8,118 จำนวนวันนอนเฉลี่ยต่อราย 2.47 2.55 2.57 2.12 2.6 จำนวนคลอดทั้งหมด (ราย) 1,532 2,192 2,221 2,152 1,274 จำนวนผ่าตัด (ราย) 1,579 1,327 1,548 1,422 693 2
3
จุดเน้นงาน IC 2558 1.สร้างวัฒนธรรมการล้างมือของบุคลากร 7 ขั้นตอนสู่ 5 Moment 2. พัฒนาระบบจ่ายกลางเป็น Central supply 3. ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลตำแหน่งแผลผ่าตัดและ neonatal sepsis ล้างมือ : ให้ความรู้ สนับสนุนอุปกรณ์ ให้ข้อมูลย้อนกลับ และประเมินรายบุคคล เพิ่มความตระหนัก Neonatal sepsis : พัฒนา screening -> ประเมินและรักษาได้เร็ว -> ลดความรุนแรงของโรค และมีการจัดการ zoning ให้มีการระบายอากาศที่ดี จากการทำ IC Round บุคลากรขาดสมรรถนะในการจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ 3
4
จุดเน้นงาน IC 2559 1.สร้างวัฒนธรรมการล้างมือของบุคลากร 7 ขั้นตอนสู่ 5 Moment 2.ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลตำแหน่งแผลผ่าตัดและ neonatal sepsis 3. 3.พัฒนาระบบโครงสร้าง Zoning โรงครัว Supply ER ทันตกรรม นำของลงไปล้างและห่อที่ Supply ยังมีเครื่องมือจากห้องผ่าตัดและทันตกรรมที่ยังไม่ได้ลงไปที่ห้อง Supply 4
5
จุดเน้นงาน IC 2560 1.ส่งเสริมการล้างมือ 7 ขั้นตอนสู่ 5 Moment
2.ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลตำแหน่งแผลผ่าตัด และ neonatal sepsis 3.เน้นการล้างมือในผู้รับบริการโดยเพิ่มอ่างล้างมือและ Alcohol hand rub ให้เพียงพอและเข้าถึงง่าย 5
6
อัตราการติดเชื้อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพปี 2556-2561
อัตราการติดเชื้อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพปี 6
7
จุดเน้นการทำงาน IC 2561 จุดเน้นที่ 1 จุดเน้นที่ 2 จุดเน้นที่ 3
ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ตำแหน่ง แผลผ่าตัด ลดอัตรา Neonatal Sepsis ดูแลสุขภาพบุคลากรจากอุบัติเหตุ และการติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน 7
8
จุดเน้นที่ 1 SSI Prevention) อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดเป้าหมาย < 1
Process Performance Purpose 1.วิเคราะห์หาสาเหตุโดยการทำ RCA 2.ทบทวนการใช้ Gap Analysis ให้ครอบคลุม 3.ควบคุมและจัดการสิ่งแวดล้อม 4.ระบบเครื่องมือ 5.เพิ่มสมรรถนะบุคลากร 6.Empowerment มารดาในการดูแลแผลผ่าตัด ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ตำแหน่ง แผลผ่าตัด (SSI Prevention) จากการทบทวน caseปี case SSI 11ครั้งเป็นผ่าตัด c/s ทั้งหมดเป็น case elective 7 ครั้งคิดเป็น 63.7% Case Emergency 4 ครั้งคิดเป็น 36.3 อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดเป้าหมาย < 1 8
9
ลดอัตราการเกิด Neonatal Sepsis
Performance Purpose Process พัฒนา Screening ประเมินและรักษาได้เร็ว เพิ่มสมรรถนะบุคลากร เฝ้าระวังใน case ที่มีภาวะเสียงได้แก่ มารดาติดเชื้อ มีน้ำเดินก่อนคลอด Hand hygiene ลดอัตราการเกิด Neonatal Sepsis 1.56( 3ครั้ง) 1.12( 2ครั้ง) 0.08( 1ครั้ง) นำของลงไปล้างและห่อที่ Supply ยังมีเครื่องมือจากห้องผ่าตัดและทันตกรรมที่ยังไม่ได้ลงไปที่ห้อง Supply 0.07(1 ครั้ง) < 2 ต่อพันวันนอน 9
10
จุดเน้นที่ 3 บุคลากรปลอดภัย
จำนวนการเกิดอุบัติการณ์การสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง(ครั้ง)ของบุคลากรปี อุบัติการณ์การเกิดแยกตามกิจกรรม (n=25ครั้ง) 2 5 9 6 10
11
Process Intervention ปฏิบัติไม่ถูกต้องในเรื่องของการปฏิบัติตัว ส่งเสริมการล้างมือตามหลัก 5 moment PPE การสวมใส่ ส่งเสริมให้ใช้ one hand รับรางวัลรองชนะเลิศนวัตกรรมด้าน product G & C Hospital ปี 2560 11
12
บุคลากรขาดทักษะและความระมัดระวังในการผ่าตัด แนวทางแก้ไข
ปี 2561พบอุบัติการณ์ของมีคมทิ่มตำที่ห้องผ่าตัด 4 ครั้งคิดเป็นร้อยละ 4.65 บุคลากรขาดทักษะและความระมัดระวังในการผ่าตัด แนวทางแก้ไข เพิ่มสมรรถนะบุคลากร แนวทางการส่งเครื่องมือในห้องผ่าตัด - ผลเลือด negative ผลการดำเนินงาน 12
13
โอกาสพัฒนาเพื่อลดอัตราการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
ปี 2561พบอุบัติการณ์ปี 61 มีการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ 2 ครั้งคิดเป็นอัตราการติดเชื้อร้อย ละ 0.31 แนวทางแก้ไข 1.เพิ่มสมรรถนะบุคลากรเรื่องการเย็บแผล 2.เพิ่มจำนวนครั้งการ scrub 3.มีการตรวจสอบประสิทธิภาพของ cat gut ร่วมกับงานเภสัชกรรม 4.ตรวจสอบเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ ปรับเส้นทางรับส่งของ ยังไม่พบอุบัติการณ์การติดเชื้อเพิ่ม ผลการดำเนินงาน 13
14
กิจกรรม IC round เป้าหมาย
จากกิจกรรม IC round พบว่ามีการปฏิบัติตามแนวทางของ IC ลดลง ทางทีมจึงมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการล้างมือ แต่บุคลากรยังไม่ตระหนัก จึงได้มีการกำหนดเป็นจุดเน้นยุทธศาสตร์รพ และเป็น KPI รายบุคคล เชื่อมโยงกับทีม ENV ด้านโครงสร้างและการจัด zoning ในโรงพยาบาล ให้ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน (โดยเฉพาะหน่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ) FIFO first in first out เครื่องมือ + น้ำยา
15
โครงการการส่งเสริมการล้างมือในบุคลากร
โครงการการส่งเสริมการล้างมือในบุคลากร โอกาสพัฒนา อัตราการล้างมือถูกต้องตาม 5 Momentเป้าหมาย > 80% 15
16
สิ่งแวดล้อมปลอดภัย GREEN&CLEAN Hospitalระดับดีมาก 16
17
ชุมชนปลอดภัย 17
18
แผนพัฒนาต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และการปฏิบัติตามมาตรฐาน
การควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ การส่งเสริมการล้างมือแบบ My 5 Momentในบุคลากร 18
19
19
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.