งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

2 งานรักษาพยาบาลเปรียบเทียบ ปี 2557-2559

3 การให้บริการผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เปรียบเทียบ ปี 2557-2559

4 การให้บริการผู้ป่วยเบาหวาน เปรียบเทียบ ปี 2557-2559

5 แผนภูมิแสดงการจำแนกผู้ป่วยนอกตามสาเหตุ 5 อันดับแรก(ราย) ปี 2559
Dizziness Dyspepsia HT DM Common Cold 5

6 แผนภูมิแสดงการจำแนกผู้ป่วยนอกตามคลินิกบริการ ปี 2559

7 ตารางแสดงยอดจำนวนผู้ป่วยส่งต่อไปสถานบริการอื่น ปี 2559
ประเภทหน่วยงานหลัก รวม SURG ORT PED ENT EYE MED OBS GYN PSY อื่นๆ 2557 460 230 162 - 181 1421 185 79 32 62 2,812 2558 188 61 151 60 182 1067 22 45 14 1,790 2559 349 241 487 1,042 3,099 50 39 82 3 5,392 อันดับโรค (Top 5 ผู้ป่วยนอก) 1. Cataract ราย 4. Glaucoma ราย 2. Pterygium ราย 5. CKD ราย 3. BPH ราย

8 ตารางแสดงสาเหตุการส่งต่อไปสถานบริการอื่น ปี 2559
ที่ สาเหตุที่ส่ง ราย ร้อยละ 1 เพื่อวินิจฉัย ชัณสูตร ส่งต่อ 4 0.07 2 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถไม่เพียงพอด้านบุคลากร 3 0.06 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถไม่เพียงพอด้านเครื่องมือ สถานที่ 95 1.76 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถไม่เพียงพอด้านบุคลากร เครื่องมือ สถานที่ 5,255 97.46 5 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถไม่เพียงพอด้านวิชาการ 22 0.41 6 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถเพียงพอแต่จำเป็นเช่นการผ่าตัด - 7 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถเพียงพอแต่ผู้ป่วยและญาติต้องการ 11 0.20 8 เพื่อการรักษาเนื่องจากขีดความสามารถเพียงพอแต่ต้องการใช้สิทธิ 0.04 9 อื่นๆ รวม 5,392 100.00

9 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 2558 2559
1.ระยะเวลารอคอยผู้ป่วยนอกเฉลี่ย ไม่เกิน 90นาที 98.96 56.76 93.44 2. อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วย นอก > 80% 81.57 88.28 89.64 3. อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ > 80 % 87.54 75.90 82.40 4. อัตราการกลับมารักษาซ้ำด้วยภายใน 7 วัน โดยไม่ได้นัด น้อยกว่า 1 % 4.5 2.78 0.69

10 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 2558 2559
5. จำนวนผู้ป่วยรุนแรงไม่ได้รับการตรวจภายใน 10 นาที 0 ราย 6. จำนวนการคัดกรองผิดพลาดในผู้ป่วย AMI 7. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (FBS 70 – 130 mg%) > 60 % 35.27 30.97 62.02 8. อัตราการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน < 5% 3.44 0.73 1.34

11 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 2558 2559
9. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยอาการ - Hypoglycemia < 5 % 3.59 3.21 2.31 - Hyperglycemia 3.29 3.65

12 11. อัตราการ Admitted ด้วยโรค COPD < 15%
ตัวชี้วัด เป้า หมาย ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 10. อัตราผู้ป่วย COPD ได้รับความรู้เรื่องยา การแก้ไขเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน > 50 % 66.86 67.55 65.81 11. อัตราการ Admitted ด้วยโรค COPD < 15% 5.37 6.99 12.13 12. อัตราผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสมี Adherance > 95% > 95% 98.50 99.12 99.07 13. อัตราการตรวจคัดกรองวัณโรคในผู้ป่วยเอดส์ 100% 94.98 (239/227) 99.83 100

13 ตัวชี้วัด เป้า หมาย ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 > 20% > 60%
14. อัตราการลด ละ เลิก บุหรี่ > 20% 57.14 48.42 15. อัตราผู้ป่วยบำบัดยาเสพติดครบโปรแกรม > 60% 89.22 30.51 52.94

14 ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข
ความพึงพอใจผู้รับบริการ(รอนาน แพทย์น้อย) บุคลากรไม่เพียงพอ แนวทางแก้ไข ประสานองค์กรแพทย์

15 แผนที่จะพัฒนาในการดำเนินงานปี 2560
พัฒนาคุณภาพการบริการกลุ่มโรคตาม Service Plan (COPD ,DM ,HT ,Stroke ,ตา ,ไต) พัฒนาระบบคัดกรอง ,การประเมินและการจำแนกผู้ป่วยตามกลุ่มโรคที่ รุนแรงและโรคที่เป็นเข็มมุ่งของโรงพยาบาล พัฒนาระบบคัดกรอง ,การประเมินและการจำแนกผู้ป่วยตามกลุ่มโรคที่ รุนแรงและโรคที่เป็นเข็มมุ่งของ PCT (Pneumonia ,MI ,Stroke) พัฒนา QA ของหน่วยงาน


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google