งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
นพ.พงษ์ศักดิ์ โสภณ รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลนครพิงค์ 12 กรกฎาคม 2560

2 โครงสร้างการบริหารงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด Provincial Public Health Committee รอง 2 Regulator Provider รอง 3 Supporter รอง 1 รอง 4 กลุ่มงาน กลุ่มงาน กลุ่มงาน กลุ่มงาน Regulator1 การวางแผนร่วม CFO กลุ่มงาน กลุ่มงาน กลุ่มงาน กลุ่มงาน SP 23 สาขา CHRO Regulator 2 กลุ่มงาน กลุ่มงาน กลุ่มงาน กลุ่มงาน พัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัย CI0 Regulator 3 รพศ./รพท. รพช จัดซื้อจัดจ้างร่วม Regulator 4 Health Settings เช่น คบส. ฯลฯ สสอ. รพ.สต. สสช.

3 การจัดเครือข่ายเพื่อการบริหารทรัพยากร
ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เครือข่ายฝาง (M1) ห่างจาก รพ.นครพิงค์ 150 กม. ๓ อำเภอ ประชากร 229,601 คน ไชยปราการ หางดง แม่อาย จอมทอง ดอยเต่า ฮอด แม่แจ่ม อมก๋อย สารภี เชียงดาว พร้าว เวียงแหง ดอยสะเก็ด แม่ออน แม่แตง สะเมิง ดอยหล่อ แม่วาง สันป่าตอง สันทราย กัลยาณิวัฒนา เมืองเชียงใหม่ ฝาง ฝาง เครือข่ายนครพิงค์ (A) 2 อำเภอ ประชากร 321,257 คน เครือข่ายสันทราย (M2) ห่างจาก รพ.นครพิงค์ 12 กม. ๗ อำเภอ ประชากร 387,908 คน เครือข่าย เครือข่าย รพ.นครพิงค์ ประกอบด้วย อ.แม่ริม, อ.เมืองเชียงใหม่ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน ประชากร 30,595 คน เครือข่ายรพ. ฝาง ประกอบด้วย อ.ฝาง, อ.แม่อาย, อ.ไชยปราการ แม่ริม สันกำแพง เครือข่ายรพ.สันทราย ประกอบด้วย อ.สันทราย, อ.กัลยาณิวัฒนา, อ.สะเมิง, อ. แม่แตง, อ.เวียงแหง อ.เชียงดาว, อ.พร้าว รพ.หางดง(M2) ห่างจาก อ.เมือง 12 กม. และห่างจาก รพ.สันป่าตอง 16 กม. เครือข่ายสันป่าตอง (M2) ห่างจาก อ.เมือง 28 กม. ๗ อำเภอประชากร 431,672 คน เครือข่าย รพ.สันป่าตอง ประกอบด้วย อ.สันป่าตอง, อ.หางดง, อ.ดอยสะเก็ด, อ.สารภี, อ.สันกำแพง, อ.แม่ออน, อ.แม่วาง เครือข่ายจอมทอง (M1) ห่างจาก อ.เมือง 60 กม. 6 อำเภอ ประชากร 280,455 คน เครือข่าย รพ.จอมทอง ประกอบด้วย อ.จอมทอง, อ.แม่แจ่ม, อ.ฮอด, อ.ดอยเต่า อ.อมก๋อย ,อ.ดอยหล่อ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ประชากร 51,464 คน อ.ลี้ จ.ลำพูน ประชากร 69,151 คน

4 ผลการดำเนินการ

5 2.อัตราการเปิดหลอดเลือดหัวใจ(ให้SK+ PPCI) >80% 88.07% (133/151)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59- มิย. 60 1.อัตราตาย STEMI <10% 8.94% (11/123) 2.อัตราการเปิดหลอดเลือดหัวใจ(ให้SK+ PPCI) >80% 88.07% (133/151) 3.อัตราการได้ทำPPCI เมื่อแรกรับภายใน 90 นาที 62.16% (23/37) 4.Door to Balloon Time/ PCI Time (Median) <90นาที 95 นาที 5.รพ. A- F2 มี warfarin clinic 100% 100 % (23/23) 6.ระยะเวลารอคอยผ่าตัดหัวใจ (รพ.มหาราชฯเชียงใหม่/รพ.นครพิงค์) < 1 เดือน 2 เดือน 1

6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60
1.การเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ(19 สาเหตุ) ที่มีค่า PS มากกว่าเท่ากับ 0.75 (กระทรวง) < 1 % 0.22 % (8/3,640) 2.อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนต่อแสนประชากร (กระทรวง) < 18 ต่อแสน 21.41 (370/1,728,242) 3.ร้อยละ รพ.F2 ขึ้นไปผ่านการประเมิน ER คุณภาพ > 25 % 60.8 (14/23) 4.ร้อยละรพ. F2 ขึ้นไปมี ECS คุณภาพ > 60 % 95.65% (22/23) 2

7 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60
5.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast track ที่มาด้วยระบบ EMS (Stroke) (จังหวัด) > 19 % (เพิ่มขึ้น 10 %) 14.63 (18/123) 6.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast track ที่มาด้วยระบบ EMS (STEMI) (จังหวัด) > 11 % 26.09 (18/69) 7.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast track ที่มาด้วยระบบ EMS (Head Injury) (จังหวัด) > 87 % (เพิ่มขึ้น 10 %) 75 (81/108) 8.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast track ที่มาด้วยระบบ EMS (Trauma) (จังหวัด) > 44 % (เพิ่มขึ้น 10 %) 76.19 (64/84) 2

8 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60
9.อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ในโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง N-Trauma (จังหวัด) < 1 % 0.6 (181/30091) 10.อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ในโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง Trauma < 1% 0.43 (33/7669) 11.อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บสมอง < 10 % 6.99 (36/515) 2

9 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60
1. อัตราตายของทารกแรกเกิดอายุ ≤ 28 วัน < 4 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ 3.93 (32/8,134) 2. จำนวนเตียง NICU เพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการบริบาลทารกป่วย 1 : 500 (30 เตียง) 0.96 : 500 (28) 3. รพ.ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปมีการคัดกรองโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด > 60% 100 (7/7) 4. มี Intrauterine transfer system มี 5. อัตราการส่งผู้ป่วยออกนอกเขตลดลง ลดลง 10% ไม่มี 3

10 ผลการดำเนินงาน ต.ค.59 - มิ.ย. 60
ผลการดำเนินงาน ต.ค.59 - มิ.ย. 60 ตัวชี้วัด เป้าหมาย Breast Cervix Colon Liver Lung 1. ผู้ป่วยมะเร็งได้รับการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา < 2 wks. > 90 % 100 93.94 84.62 83.72 2. ผู้ป่วยมะเร็งได้รับการผ่าตัดภายหลังวินิจฉัย < 4 wks. > 80 % 62.07 67.50 3. ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับการให้เคมีบำบัด < 6 wks. 83.33 protocol 74.44 77.78 92.31 4. ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับ การฉายรังสีรักษา < 6 wks. 69.70 80 76.47 5. การคัดกรองมะเร็ง 77.99 42.28 - 4

11 ทางกระทรวงให้ชะลอการประเมินไตเสื่อมออกไปก่อน
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60 1.ร้อยละของผู้ป่วยที่มีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/ปี ≥ 65 % 62.06 (7,648/12,323) 2. มีการขยายการให้บริการ CKD clinic ในรพ.ระดับ F3 ≥ 50 % 100% (1/1) 3. รพ.ระดับ F2 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์การประเมิน CKD clinic คุณภาพ ≥ 50% ทางกระทรวงให้ชะลอการประเมินไตเสื่อมออกไปก่อน 4. มีการตรวจ serum creatinine โดยใช้วิธี enzymatic method ใน รพ.ระดับ F2 ขึ้นไป 41.7% (10/24) 5. ร้อยละการคัดกรอง CKD ในผู้ป่วยกลุ่มสี่ยง (DM, HT) ≥ 80 % 23.71 (45,248/190,802) 5

12 2.ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกระดับสายตามัว ได้รับการผ่าตัดภายใน 90 วัน
 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60 1.ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกระดับบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน > 80 % (1,054 / 1,242) 2.ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกระดับสายตามัว ได้รับการผ่าตัดภายใน 90 วัน MVL (ไม่มีรายงานSVL) >80 % 92 % (646 / 704) (SVL 309 ราย) 3.ร้อยละประชากรผู้สูงอายุ 60ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสายตา >75 % 77 % (207,946/269,233) 6

13 1. รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่ มีคุณภาพ 60 % 45.7 %
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60 1. รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่ มีคุณภาพ 60 % 45.7 % (122/267) 2. อัตราการเข้าถึงบริการ ทันตกรรม 35 % 19.6 % (255,731/  1,307,943)  7

14 1 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60 1 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต การคาดประมาณจากการคำนวณผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เท่ากับอัตราความชุกภาคเหนือ = 2.3 * จำนวนประชากรประจำปี2558 อายุ 15 ปีขึ้นไป /100 ประชากรประจำปี 2558 อายุ15 ปีขึ้นไป = 1,324,540 คน > 50 % (เป้ามาย = 30,464 คน) 51.61 % (15,724 คน) - 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต การคาดประมาณจากการคำนวณผู้ป่วยโรคจิต เท่ากับอัตราความชุกภาคเหนือ = 0.8 หาร * จำนวนประชากรประจำปี2558 อายุ 15 ปีขึ้นไป /100 ประชากรประจำปี 2558 อายุ15 ปีขึ้นไป = 1,324,540 คน > 65 %
(เป้าหมาย = 10,596 คน) 77 % (8,107 คน) 3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการสุขภาพจิต การคาดประมาณจากการคำนวณผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เท่ากับอัตราความชุกภาคเหนือ = * จำนวนประชากรประจำปี2558 อายุ 15 ปีขึ้นไป /100 ประชากรประจำปี 2558 อายุ15 ปีขึ้นไป = 1,324,540 คน (เป้ามาย = 144,375 คน) 14.10 % (20,364 คน) 4.การคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค NCD 170,456 จิตเวช 17,565 สุรา 12,935 คัดกรอง NCD 72 % (122,979 คน) คัดกรอง จิตเวช 87 % (15,290 คน) คัดกรอง สุรา 97 % ( 12,676 คน) 8

15 มารดาตาย รพ.แม่แตง 1 ราย ฆ่าตัวตาย รพ.เวียงแหง 1 ราย PPH รพ.ฝาง 1 ราย PIH รพ.ไชยปราการ 1 ราย PIH รพ.สะเมิง 1 ราย PIH รพ.นครพิงค์ 1 ราย PIH รพ.ที่ไม่ผ่านการประเมิน LR 1.รพ. นครพิงค์ ยังไม่ประเมิน รอส่วนกลาง 2.ดอยเต่า 3.สะเมิง 4.เวียงแหง 9

16 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60
 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60 1.ร้อยละการแตกของภาวะไส้ติ่งอักเสบ < ร้อยละ 20 (260/1837) 2.ร้อยละของผู้ป่วยที่เสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลัน 5 ภาวะ < ร้อยละ 4 (30/1324) 3.ร้อยละของผู้ป่วยที่เสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผู้ป่วยภาวะขาดเลือดที่ขาหรือแขน (3/25) 4.ร้อยละของการถูกตัดขาตั้งแต่ระดับข้อเท้าขึ้นมาของผู้ป่วยภาวะขาดเลือดที่ขา (1/13) ปวดท้อง 5 ภาวะ 1. acute cholecystitis (K80.0, K81.0, K80.4) 2. acute cholangitis (K83.0, K80.3) 3. acute pancreatitis (K85.1, K85.2, K85.3, K85.9) 4. acute gut obstruction (K56.1-K56.6) 5. peptic ulcer perforation (K25.5, K26.5, K27.5) 10

17 1.อัตราตายผู้ป่วย Sepsis/Septic shock < 30% 19.21 % (147/765)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มิย. 60 1.อัตราตายผู้ป่วย Sepsis/Septic shock < 30% 19.21 % (147/765) 2.ร้อยละของการทำ Hemoculture ก่อนการให้antibiotic 100% 95.92 % (1,319/1,375) 3.ร้อยละของการให้ Antibiotic ภายใน 1 ชั่วโมง 97.23 % (1,337/1,375) 4.ร้อยละของ Sepsis/Septic shock ได้รับ IV 1000 cc ใน 1 ชั่วโมง 66.03 % (908/1,375) 5.ร้อยละของผู้ป่วย Septic shock เข้า ICU ใน 3 ชั่วโมง 40.12 % (193/481) 6.ร้อยละการ Refer Out จาก รพช. < 25% 37.95 % (200/527) 11

18 1.อัตราป่วยตายโรคปอดบวมในเด็ก 1 เดือน – 5 ปี ลดลง 10%
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59- มิย. 60 1.อัตราป่วยตายโรคปอดบวมในเด็ก 1 เดือน – 5 ปี ลดลง 10% 0.1 % (2/1,767) 2.TDT-Pretransfusion Hb≥9 gm/dl หรือ Hct ≥ 27 % >20% 52.7 % (1,003/1,904) 3.TDT ระดับ Feritin < ๑,๐๐๐ ng/ml ครั้ง 15.1 % (22/144) 12

19 1.การดูแลผู้ป่วยที่มีกระดูกหักไม่ซับซ้อนใน รพ.ระดับ M2 ลงไป > 70%
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59- มิย. 60 1.การดูแลผู้ป่วยที่มีกระดูกหักไม่ซับซ้อนใน รพ.ระดับ M2 ลงไป > 70% 69.49 % (1843/2652) 2.Fast track for open long bone fracture ได้รับการผ่าตัดภายใน 6 ชั่วโมง > 25% 46.49 % (53/114) 3.Fast track fracture around the hip ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง ใน รพ. A/S/M1 25.0 % (58/232) 13

20 1.อัตราการตายผู้ป่วย Ischemic Stroke < 7 % (57/1,720)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59- มิย. 60 1.อัตราการตายผู้ป่วย Ischemic Stroke < 7 % (57/1,720) 2.อัตราการตายผู้ป่วย Hemorrhagic Stroke 9.9 % (99/998) 3.อัตราการตายผู้ป่วย Stroke รวม 5.74 % (159/2,771) 4.อัตราผู้ป่วย ischemic stroke ที่ได้รับ thrombolytic agent ภายใน 60 นาทีเมื่อแรกรับ > 65 % 70.11 % (61/87) 5.อัตราผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดที่ได้รับยาต้านเกล็ดเลือด ภายใน 2 วัน หลังเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล > 80 % 100 % (1,720/1,720) 14

21 ปี จำนวนผู้ป่วย สมองตายที่ ยินยอม บริจาคอวัยวะ / ราย จำนวน ผู้เสียชีวิตที่ ยินยอมบริจาค ดวงตา/ ราย ผู้ป่วยที่ เสียชีวิตใน รพ. ด้วยสาเหตุการ บาดเจ็บทาง สมอง/ ราย อัตรา/ร้อยละ ผู้ป่วย สมองตายที่ยินยอม บริจาคอวัยวะ ต่อ ผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย สาเหตุการบาดเจ็บ ทางสมองใน รพ ราย (>=1) อัตรา/ร้อยละ ผู้ป่วย สมองตายที่ยินยอม บริจาคดวงตา ต่อผู้ป่วย ที่เสียชีวิตด้วยสาเหตุ การบาดเจ็บทางสมอง ใน รพ.100 ราย (>=5) 2554 1 33 3.03 2555 - 54 2556 56 1.78 2557 76 2558 3 67 4.47 2559 2 91 2.19 ตค.-มิย. 60 4 7.40 15

22 เกณฑ์ประเมิน รพ.ระดับ A,S,M1 (3) รพ.ระดับ M2,F1-3 (21)
1.จัดตั้งคณะกรรมการ 100 % (3) 100 % (21) 2.มีเลขาเป็นพยาบาลผ่านการอบรม PC 95.24 % (20) 3.มีแนวทางการดูแลแบบประคับประคอง 4.มีผู้รับผิดชอบเต็มเวลา (ประเมินเฉพาะA,S,M1) 33.33 % (1) - 5.มีหน่วย PC พร้อมพยาบาลผ่านอบรม PC (ประเมินเฉพาะM2,F1-3) 6.ผู้ป่วยได้รับการดูแลตามแนวทาง PC> 50% 7.มี Function เชื่อมโยงต่อเนื่องที่บ้าน 8.รพ.ผ่านเกณฑ์ Palliative care ทุกข้อ 1 แห่ง 20 แห่ง 16

23 อำเภอที่มีคะแนนน้อยกว่าระดับ 3 จำนวน 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอสะเมิง และอำเภอฮอด ซึ่งพบว่า ในประเด็นการพัฒนาที่ ต้องได้รับการแก้ไข มีดังนี้ อำเภอสะเมิง ไม่ผ่านเกณฑ์ในประเด็น Appreciation และ Resource Sharing อำเภอฮอด ไม่ผ่านเกณฑ์ในประเด็น Unity of Team และ Resource Sharing PCC ต้นแบบ - PCC หนองยางดอนแฝก อ.สารภี(ตัวอย่างระดับประเทศ) PCC นครพิงค์ อ.เมือง PCC ริมเหนือ อ.แม่ริม PCC เวียงฝาง อ.แม่ริม PCC อินทนนท์ อ.จอมทอง 17

24 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59- มิย. 60
ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน > % 11.60 % 18

25 1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง เบาหวาน > 80 % 80.75 %
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ต.ค.59- มิย. 60 1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง เบาหวาน > 80 % 80.75 % (529,227/655,416) 2.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความดันโลหิตสูง 82.42 % (438,574 /532,090) 3.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes < 2.4 % (1,513/57,880) 4.อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 ไม่เกิน 8,940 ราย 7,605 ราย ร้อยละ 2.5 ไม่เกิน 23,342 ราย 18,386 ราย (ผู้ป่วยทั้งหมด 164 ราย (2 เดือน)

26 6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ต.ค.59- มิย. 60 6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ผลงานเขตบริการที่ 1 ร้อยละ 14.72) หรือ มากกว่า 40% 14.51 % (10,393/71,490) 7. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ผลงานเขตบริการที่ 1 ร้อยละ 26.49) หรือ มากกว่า 50% 18.30 % (36,246/198,059) 8.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด CVD risk > ร้อยละ 80 70.78 % 59,709/84,358 9.อัตราการกำเริบเฉียบพลันผู้ป่วย COPD ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชาการในกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ต่อแสนประชาการ 1,056.48 ต่อแสนประชากร (11,298/1,069,396) (ผู้ป่วยทั้งหมด 164 ราย (2 เดือน)

27

28 เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน
ประเด็น หมาย ผลลัพธ์ (มีรพ.สต.ผ่านเกณฑ์ระดับ 5 ดาว) 267 แห่ง (ร้อยละ 0) (มีรพ.สต.ผ่านเกณฑ์ระดับ 5 ดาว) (ร้อยละ15.35) - การประเมินโดยระดับคณะกรรมการระดับจังหวัด (มีรพ.สต.ผ่านเกณฑ์ระดับ 5 ดาว) (ประเมินรพ.สต.แล้ว จำนวน 35 แห่ง คงเหลือรอรับการประเมิน 20 แห่ง) รอผลในไตรมาสสุดท้าย (ร้อยละ 5.61)

29 เป้าหมาย 2560 - 2564 P L E A S A M R รพ. RDU ขั้นที่ 2
3 process : รพ. มี คกก.ขับเคลื่อน พัฒนาสารสนเทศ มีแผน AMR 5 output : รพ. PTC ระดับ 3 ยาหลัก(ED) 75–90% ตัดยาไม่มีประสิทธิผล คงเหลือ ≤ 1 รายการ Label ระดับ 3 Ethics ระดับ 3 1 output : รพ.สต. 9. ร้อยละ 40 ของรพ.สต. ใช้ ยาปฏิชีวนะสมเหตุผล โรค RI & AD output : รพ. ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 Infection: RI, AD, FTW, NL ใช้ ATB ≤ 20, 20, 40, 10 % CKD ใช้ NSAID ≤ 10% DM สูงอายุ ใช้ Glibenclamide ≤ 5% Pregnancy warfarin,statin, Ergots = 0 AMR ลดลง output : รพ.สต. 7. ร้อยละ 60 ของรพ.สต. ใช้ ยาปฏิชีวนะสมเหตุผล โรค RI & AD output : รพ. ผ่าน RDU ขั้นที่ 2 Hypertension RAS blockage ซ้ำซ้อน = 0% DM Metformin ≥ 80% Asthma inhaled corticosteroid ≥ 80% NSAID ซ้ำซ้อน ≤ 5% Pediatrics nonsedating antihistamine ≤ 20% Geriatrics long acting benzodiazepine ≤ 5% output : รพ.สต. 8. ร้อยละ 100 ของรพ.สต. ใช้ยา ปฏิชีวนะสมเหตุผล โรค RI & AD A M R

30 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ต.ค.59- มิย. 60
โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมิน RDU ขั้นที่ 1 > 80 % ( 5 แห่ง) รพ.ที่ผ่านการประเมิน 1.รพ.นครพิงค์ 2.รพ.ฝาง 3.รพ.สันป่าตอง 4.รพ.ดอยสะเก็ด 5.รพ.สันกำแพง 18

31 สถานการณ์ Service plan จังหวัดเชียงใหม่
Engine : Inclusive Growth /Intermediate care สถานการณ์ ผู้ป่วย D/C เร็วกว่าปกติ >>>>>Re admit/complications ผู้ป่วยไม่พร้อมกลับบ้าน>>>>>>LOS^^^ อัตราครองเตียง รพ A นครพิงค์ ร้อยละ 138 อัตราครองเตียง รพ M1จอมทอง ร้อยละ 91 อัตราครองเตียง รพ M1ฝาง ร้อยละ 99 อัตราครองเตียง รพ M2-F ร้อยละ

32 รพ M/Fทุกแห่งให้บริการ Intermediate care รพ.สต.
Service plan จังหวัดเชียงใหม่ Engine : Inclusive Growth /Intermediate care Intermediate Care เป้าหมาย รพ M/Fทุกแห่งให้บริการ Intermediate care กำหนดกลุ่มโรคเป้าหมาย กำหนด รพ. เป้าหมาย ขยายพื้นที่ รพ เป้าหมายครอบคลุม 100% มาตรการ รพ.ระดับ A รพ.ระดับ M,F รพ.สต. 1.Stroke 2.Head injury 3.Chronic wound 4.Post operative physical therapy 1 3 4 5 2 Critical illness + Respirator Critical illness Semi-critical illness Moderate illness Convalescence -Home Ward พัฒนาระบบสารสนเทศ กระบวนการ พัฒนาโครงสร้างองค์กร พัฒนาเครือข่ายการ ส่งต่อ พัฒนาศักยภาพ รพช. รองรับ Intermediate Care ลดการ Re admit,complications ในผู้ป่วยกลุ่มโรคที่กำหนด เพิ่มประสิทธิภาพการใช้เตียง /เพิ่ม CMI / Sum Adj RW ผลลัพธ์

33 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ Intermediate careระดับจังหวัด
Service plan จังหวัดเชียงใหม่ Engine : Inclusive Growth /Intermediate care Action plan 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ Intermediate careระดับจังหวัด 2.พัฒนาเครือข่ายการให้บริการ intermediate care ตาม 6BB 3.พัฒนาระบบการส่งต่อ 4.กำหนดกลุ่มโรคเข็มมุ่ง 4กลุ่มโรค 5.กดหนดตัวชี้วัด (เชิงบริหาร/คุณภาพ) 6.กำหนด รพ ให้บริการ intermediate care ในจังหวัด ทุกระดับ 7.พัฒนาระบบสารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยบริการ

34 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google