ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๔๕ ดร.อภิชัย ศรีเมือง
2
ศึกษาแบบบูรณาการเชื่อมโยงงานอย่างเป็นระบบ
3
การปฏิรูปทางการเมืองการปกครองและกฎหมาย
การบริหารจัดการที่ดี Good Governance คำนิยาม
4
การปฏิรูปทางการเมืองการปกครองและกฎหมาย
แนวคิด Good Governance แตกต่างจาก Government ซึ่งปกครองจากบนลงมาล่าง (Democratization : Participation, Transparency, Responsiveness, Decentralization, Rule of Law ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและ สังคมที่ดี พ.ศ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมี ส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า UN : ความสำนึกรับผิดชอบ ความโปร่งใส การตอบสนอง การเท่าเทียม และพหุ นิยม ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล การปฏิบัติตามหลักนิติธรรม การมีส่วนร่วม ความเห็นพ้องกัน สถาบันพระปกเกล้า : ทศธรรม
5
ธนาคารพัฒนาแห่งเอเซีย (ADB) ให้คำจำกัดความของ
Good Governance ไว้ดังนี้ "กระบวนการจัดการที่ดีในการใช้อำนาจหน้าที่ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรที่องค์การมีอยู่ โดยมุ่งหวังให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้
6
New public management perspectives
จากหนังสือเรื่อง “การประดิษฐ์คิดค้นการจัดการปกครองระบบใหม่” (Reinventing Government) (1993) ของ รองประธานาธิบดี อัลกอร์ (AlGore) สหรัฐอเมริกา
7
หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
เป็นผู้กำกับดูแลมากกว่าการปฏิบัติ (Catalytic Government : Steering Rather Than Rowing) การให้อำนาจแก่ชุมชนมีบทบาทในการดูแลตนเอง (Community – Owned Government : Empowering Rather than Serving) การสร้างระบบการแข่งขัน (Competitive Government : Injection Competition into Service Delivery) โดยลดการผูกขาดการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ(Contestability)
8
หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบเพื่อก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย (Mission – Driven Government : transforming Rule- Driven Organizations) การจัดสรรงบประมาณโดยมุ่งเน้นการบรรลุเป้าหมาย (Results-Oriented Government : Funding Outcomes, Not Inputs) และมีการประเมินความคุ้มค่าของเงิน (Value for Money) ทั้งก่อน-หลังการดำเนินงาน/โครงการ การตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ (Customer Driven Government: meeting the Needs of the customer, Not the bureaucracy)
9
หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดหาทรัพยากรให้มากกว่าผู้ใช้ (Enterprising Government: earning Rather Than Spending) มุ่งเน้นการป้องกันมากกว่าการแก้ไขปัญหา (Anticipatory Government: prevention Rather Than Cure) การกระจายอำนาจ (Decentralized Government: from Hierarchy to Participation and Teamwork) เปลี่ยนการบริหารแบบผูกขาดเข้าสู่การแข่งขันในระบบตลาด (Market – Oriented Government: leveraging Change Through the Market)
10
หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
เน้นผลสัมฤทธิ์ (Result) มากกว่าที่จะเน้นปัจจัยนำเข้า (Input) และกระบวนการ (Process) มีการวัดผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ (Measure) อย่างเป็นรูปธรรม มีความโปร่งใสในการตัดสินใจ (Transparency) มีความรับผิดชอบพร้อมถูกตรวจสอบ(Accountability)
11
หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
บริหารจัดการแบบเอกชน (Business-like Approach) เน้นความรับผิดชอบที่ผลสัมฤทธิ์ (Accountability for Result) ไม่ใช่รับผิดชอบที่ผลผลิต (Output) และกระบวนการ (Process) เชื่อมโยงผลสัมฤทธิ์ (Result) เข้ากับการจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocation) และเงินรางวัล (Reward)
12
หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
ลดขนาดองค์การ (Downsizing) จ้างเอกชนดำเนินการแทนในภารกิจที่ไม่ใช่งานหลักของหน่วยงาน (Contract-out)
13
การปฏิรูปทางการเมืองการปกครองและกฎหมาย
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
14
สาระสำคัญที่เพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่๕) พ.ศ.๒๕๔๕ สาระสำคัญที่เพิ่มเติม ๑ เพิ่มมาตรา ๓/๑ - การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องใช้วิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปัจจุบัน - ได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธี การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒ กำหนดให้มีกลุ่มภารกิจ (Cluster) (มตรา ๒๑ วรรคสาม) ปัจจุบัน - ได้มีกฎกระทรวงว่าด้วยกลุ่มภารกิจ พ.ศ. ๒๕๔๕ (มีการ แก้ไขอีก ๔ ฉบับ) โดยให้กรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไปอยู่ ภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกัน ๓ กำหนดให้มีส่วนราชการที่ไม่มีฐานะเป็นกรม (มาตรา ๑๘ วรรคสี่)
15
การบริหารราชการในต่างประเทศ
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หมวด ๗ ๕ ๖
16
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ เพิ่มความเป็นใน มาตรา ๓/๑ โดยกำหนดให้การปฏิบัติหน้าที่ ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กำหนดให้มีการจัดตั้งส่วนราชการที่ไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มี ผู้บังคับบัญชาที่ไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาเป็น อธิบดีก็ได้ (มาตรา ๑๘ วรรคสี่) กำหนดให้การบริหารราชการของกระทรวงโดยยึดเรื่อง มุ่งผลสัมฤทธิ์ (มาตรา ๒๐) กำหนดให้กระทรวงมีการบริหารแบบกลุ่มภารกิจ (มาตรา ๒๑ วรรคสี่ วรรคห้า และวรรคหก)
17
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Good Governance Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation Transparency Responsiveness Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2550) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ พ.ศ. 2551) Rule of law
18
กลไกขับเคลื่อนการปฎิรูประบบราชการ
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 พรฎก. วิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ส่วนราชการ นำแนวทางการปฎิรูปไปปฎิบัติ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) แผนการปฎิบัติราชการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
19
หลักการตามมาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ. ศ
หลักการตามมาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๕ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๕ จัดเป็นกฎหมายแม่บทในการปฏิรูประบบราชการของประเทศไทยในช่วงปัจจุบันได้กำหนดหลักการทั่วไปในการบริหารราชการแผ่นดินในช่วงปัจจุบันไว้ว่าการบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน งานลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยต้องมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน
20
ตามมาตรา ๓/๑ ได้กำหนดหลักการในการบริหารราชการแผ่นดินว่า ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนโดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและเพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตราดังกล่าวจะตราเป็นพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการปฏิบัติก็ได้ ในกฤษฎีกาดังกล่าว ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ซึ่งต่อมาคณะรัฐมนตรีในการประชุม วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ได้มีมติเห็นชอบโดยมีสาระที่สำคัญเกี่ยวกับ (ต่อ)
21
(ต่อ) ๑)การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ๒) การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ๓) การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ๔) การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ๕) การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ๖) การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ๗) การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
22
เป้าหมายการบริหารราชการตาม พรฎก. การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ
เป้าหมายการบริหารราชการตาม พรฎก.การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ การให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง การดำเนินการให้มีความโปร่งใส การมีส่วนร่วม การปฏิบัติของส่วราชการต้องวัดผลสัมฤทธิ์ได้ การบริหารราชการแบบบูรณาการ การพัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การทำความตกลงในการปฏิบัติงาน การกำหนดแผนบริหารราชการ การประเมินผลส่วนราชการ การประเมินผู้ปฏิบัติงาน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ การกำหนดระยะเวลาการปฏิบัติงาน การจัดระบบสารสนเทศ การรับฟังข้อร้องเรียน การเปิดเผยข้อมูล หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่า หลักความชัดเจนในการปฏิบัติงาน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ การทบทวนภารกิจ การทบทวนกฏหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ การการะจายอำนาจการตัดสินใจ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
23
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย เ การพัฒนา ระบบราชการ
การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม การมีส่วนร่วมของประชาชน การตรวจสอบภาคประชาชน ( People’s Audit ) Lay Board การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ เ เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- Service) call center 1111 ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Scorecard) มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง การบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM READY รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน
24
ให้ศึกษาวิเคราะห์ว่าการปฎิรูประบบราชการ
ระดมความคิดกลุ่ม ให้ศึกษาวิเคราะห์ว่าการปฎิรูประบบราชการ ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมีผลให้เกิดการเปลี่ยนในสังคมไทยและระบบราชการอย่างไร โดยชี้ให้เห็นถึงผลดีและผลกระทบที่เกิดขึ้น
25
ให้ศึกษาวิเคราะห์คุณคิดว่าการปฎิรูประบบราชการ
ระดมความคิดกลุ่ม ให้ศึกษาวิเคราะห์คุณคิดว่าการปฎิรูประบบราชการ ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมีผลให้เกิดการเปลี่ยนในสังคมไทยและระบบราชการอย่างไร
26
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบราชการ
- การคิดแบบองค์รวม - วาระหน้าที่และวาระพื้นที่ การทำงาน เชิงบูรณาการ กำหนดหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพ ประสานงานและมีหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม 2. การทำงานแบบข้ามสายงาน Cross-function สอดคล้องกับต้องสอนเป็นรายบุคคล ไม่ใช่ชั้นเรียน ต้องสังเกตติกรรม เป็นรายบุคคล 3. เกิดตัวชี้วัดเป้าหมาย ความสำเร็จของงาน
27
มิติใหม่ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบราชการ
หน่วยงานราชการต้องมี แผนงานระยะยาวและ กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ เป็นแผนคำรับรองปฏิบัติราชการ 3. การบริหารโดย ใช้ยุทธศาสตร์นำ การตั้งเป้าหมายตัวชี้วัดผลงาน ทั้งระดับหน่วยงานและบุคคล 4. การกำหนดตัวชี้วัดผลงาน 5. การพัฒนาองค์กร ใช้เทคนิคเครื่องมือต่างๆ เข้ามาสนับสนุนให้เกิดความสำเร็จ เช่น PMQA HR Scorecard KM เป็นต้น ฯลฯ 5. การพัฒนาบุคลากร นำเครื่องมือการประเมินผลงาน และการกำหนดสมรรถนะมาใช้ ในการพัฒนาบุคลากร
28
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ๒๕๕๑-๒๕๕๕ ประโยชน์สุขของประชาชน
1. ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนอง ความคาดหวังและความต้องการของประชาชน ที่มีความสลับซับซ้อนหลากหลายและเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว 4. สร้างระบบการกำกับดุแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใสมั่นใจ และสามารถ ตรวจสอบได้รวมทั้งทำให้บุคลากร ปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ต่อประชาชนและต่อสังคม โดยส่วนรวม 2. ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิง บูรณาการเกิดการแสวงหาความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่างๆ รวมทั้ง เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ประโยชน์สุขของประชาชน 3. มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากร มีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ต่อเหตุการณ์ต่างๆ
29
Good strategy comes first
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 Good Governance New Public Management Strategic Management Strategy Formulation การวางวิสัยทัศน์และการคิดเชิงกลยุทธ์ Strategy Map การบริหารความเสี่ยง วางแผนโครงการ Strategy Implementation Org. Structure (GO/PO/SOE/SDU/etc.) Process Redesign IT (e-gov) People (Competency) Culture KM กฎหมาย Strategic Control คำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) BSC Individual Scorecard รายงานข้อมูลสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม Globalization คตป Making strategy works Good strategy comes first Public Sector Management Quality Award (PMQA) (MBNQA)
30
Strategy Implementation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
Strategy Formulation Strategy Implementation S W O T Action Plan Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ( ) Risk Assessment & Management Structure Process/IT Regulation Rule & Culture People/ Alignment Blueprint for Change Strategic Control Strategic Management Process การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
31
PMQA Model 2. การวางแผน 5. การมุ่งเน้น เชิงยุทธศาสตร์ ทรัพยากรบุคคล
TQM : Framework 3 PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
32
พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ เป้าหมาย วิธีการ ผล
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา
33
ความเชื่อมโยงของระบบจัดการ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หลัก 4 ป. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS
34
วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงาน ขององค์กร ในปัจจุบัน ดำเนินการ ตามแผน เปรียบเทียบกับ แนวทางและเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ วางแผนการพัฒนา และปรับปรุงองค์กร ทราบว่าองค์กรมี โอกาสในการปรับปรุง การดำเนินงานในด้านใดบ้าง
35
การ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและ วัฒนธรรมของข้าราชการไทย
กระบวนทัศน์ = ชุดของความคิด / ความคิดคือการ (Paradigm) รับรู้ เช่น ใส่ชุดกีฬาไปเล่นกีฬา ค่านิยม = ความเชื่อส่วนตัว เกี่ยวกับสิ่งที่ (Value) เหมาะสม มาตรฐานความเชื่อ วัฒนธรรม = ความเชื่อส่วนรวม ถ่ายทอดจากรุ่น (Culture) สู่รุ่น ไม่มีลายลักษณ์อักษรคิด ประเพณี ทักษะ ศิลปะ
36
Integrity ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี
คุณลักษณะข้าราชการที่พึงประสงค์ I AM READY Integrity ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี Activeness ขยัน ตั้งใจ ทำงานเชิงรุก Morality มีศีลธรรม คุณธรรม Relevancy รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลกตรงกับสังคม Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ Accountability รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อสังคม Democracy มีใจและการกระทำที่เป็น ประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส Yield มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
37
การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
(Moral) จริยธรรม (Ethics) ธรรมาภิบาล (Good) (Governance) Operration กลไก Behavior ตนเอง ควบคุม โครงสร้าง ระบบ กระบวนการ ลดความสูญเสีย ขจัดรูรั่วไหล ป้องกันการทุจริต ประพฤติ และดำเนินการที่มิชอบ เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า โปร่งใส ตอบสนอง สุจริต ซื่อตรง เที่ยงธรรม
38
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องด้วยระบบ e-learning
39
การ Service Links Government Counter Services อำเภอยิ้ม
การ ปรับปรุงการให้บริการประชาชน ลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ราชการ ใสสะอาด ปราศจาก คอร์รัปชัน Call Center 1111 e-Services Service Links Government Counter Services อำเภอยิ้ม
40
Strategy Implementation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
ติดตามประเมินผลยุทธศาสตร์ (Strategic Control) การ Strategy Formulation Strategy Implementation S W O T Action Plan Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ( ) Risk Assessment & Management Structure Process/IT Regulation Rule & Culture People/ Alignment Blueprint for Change Strategic Control Strategic Management Process ในขั้นตอนการควบคุม ตรวจสอบความสำเร็จการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ มีการดำเนินงาน 3 ขั้นตอน เพื่อนำไปสู่การรับแรงจูงใจตามผลการปฏิบัติงาน การประเมินตนเอง Self assessment report - SAR การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยการติดตามจากการดำเนินงานจริง ด้วยการ Site visit (verify data) ที่ปรึกษาด้านการประเมินผลประเมินผลการดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ Strategic Control การยกย่องเชิดชูเกียรติ เงินรางวัลประจำปี การยืดหยุ่นกฎ ระเบียบ การให้เข้าอบรม ดูงาน การเปลี่ยนให้ไปดำรงตำแหน่งอื่น การเลื่อนขั้น ตำแหน่ง
41
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการตามทีได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดรอบระยะเวลา การให้บริการ การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงขององค์กรและการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ
42
แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี กรมการปกครอง
แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี กรมการปกครอง
43
ร่าง ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔
ร่าง ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ 43
44
โครงสร้าง พันธกิจ วิสัยทัศน์ และการวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์
ส่วนที่ ๑ โครงสร้าง พันธกิจ วิสัยทัศน์ และการวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์
45
โครงสร้างกรมการปกครอง (ตามกฎกระทรวง)
วิทยาลัยการปกครอง ผชช. ด้านความมั่นคง อธิบดี สำนักงานผู้ตรวจราชการกรม ผชช. ด้านกฎหมาย รองอธิบดี สำนักงานเลขานุการกรม สำนักการสอบสวนและนิติการ กองตรวจสอบระบบบัญชี กองการเจ้าหน้าที่ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองคลัง สำนักบริหารการทะเบียน ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหาร และพัฒนางานปกครอง กองการสื่อสาร สำนักบริหารการปกครองท้องที่ สำนักยุทธศาสตร์และส่งเสริม การบริหารราชการอำเภอ สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน ที่ทำการปกครองจังหวัด ปลัดจังหวัด (๗๕) กลุ่มงานปกครอง จ่าจังหวัด กลุ่มงานความมั่นคง ป้องกันจังหวัด ฝ่ายการเงินและบัญชี เสมียนตราจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ นายอำเภอ (๘๗๗) กลุ่มงาน/ฝ่ายบริหารงานปกครอง ปลัดอำเภอ ฝ่ายอำนวยความเป็นธรรม ปลัดอำเภอ ฝ่ายทะเบียนและบัตร ปลัดอำเภอ ฝ่ายความมั่นคง ปลัดอำเภอ 45 งานการเงินและบัญชี เสมียนตราอำเภอ ที่มา : กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ 45
46
โครงสร้างกรมการปกครอง (ตามกลุ่มภารกิจ - Cluster)
วิทยาลัยการปกครอง ผชช. ด้านความมั่นคง อธิบดีกรมการปกครอง สำนักงานผู้ตรวจราชการกรม ผชช. ด้านกฎหมาย กลุ่มภารกิจด้านการบริหารงานปกครอง กลุ่มภารกิจด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุนการบริหารงานแบบบูรณาการ รองอธิบดีกรมการปกครอง รองอธิบดีกรมการปกครอง รองอธิบดีกรมการปกครอง สำนักงานเลขานุการกรม กองตรวจสอบระบบบัญชี สำนักกิจการความมั่นคงภายใน สำนักการสอบสวนและนิติการ กองการเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน สำนักบริหารการทะเบียน กองคลัง ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและพัฒนางานปกครอง กองการสื่อสาร สำนักบริหารการปกครองท้องที่ สำนักยุทธศาสตร์และส่งเสริมการบริหารราชการอำเภอ ที่ทำการปกครองจังหวัด ปลัดจังหวัด (๗๕) กลุ่มงานปกครอง จ่าจังหวัด กลุ่มงานความมั่นคง ป้องกันจังหวัด ฝ่ายการเงินและบัญชี เสมียนตราจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ นายอำเภอ (๘๗๗) กลุ่มงาน/ฝ่ายบริหารงานปกครอง ปอ.หน. (ป.อาวุโส) ฝ่ายอำนวยความเป็นธรรม ปอ.หน. ฝ่ายทะเบียนและบัตร ปอ.หน. ฝ่ายความมั่นคง ปอ.หน. 46 งานการเงินและบัญชี เสมียนตราอำเภอ
47
พันธกิจของกรมการปกครอง (ตามกฎกระทรวง)
เสนอแนะนโยบายและจัดทำแผน มาตรการ ติดตาม และประเมินผลด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวนสอบสวนคดีอาญาในหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครอง และอำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชน ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายใน งานการข่าว งานกิจการชายแดน งานควบคุมดูแลชาวเขาและชนกลุ่มน้อย ผู้อพยพและผู้หลบหนีเข้าเมือง งานสัญชาติ และงานกิจการมวลชน สนับสนุน ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และการเลือกตั้งทุกระดับ ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยกองอาสารักษาดินแดน ดำเนินการพัฒนาและบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามกฎหมาย ว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ ดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร งานบัตรประจำตัวประชาชน และงานทะเบียนอื่น รวมทั้ง การบริหารจัดการฐานข้อมูลกลางเพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดำเนินการพัฒนาบุคลากรในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน ดำเนินการสื่อสารเพื่อการบริหารงาน การรักษาความสงบเรียบร้อย และความมั่นคงภายในประเทศ อำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของนายอำเภอ ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ที่มา : กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ 47
48
พันธกิจของกรมการปกครอง (ตามกลุ่มภารกิจ) ๑. ด้านการบริหารงานปกครอง
๑. ด้านการบริหารงานปกครอง ๒. ด้านความมั่นคง ๓. ด้านสนับสนุนการบริหารงานแบบบูรณาการ ๑.๑ อำนวยการและสนับสนุนการ ปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบของนายอำเภอ ๑.๒ เสนอแนะนโยบายและจัดทำแผน มาตรการ ติดตาม และประเมินผล ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย และความมั่นคงภายใน ๒.๑ ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความ มั่นคงภายใน งานการข่าว งานกิจการ ชายแดน งานควบคุมดูแลชาวเขาและ ชนกลุ่มน้อย ผู้อพยพและผู้หลบหนี เข้าเมือง งานสัญชาติ และงานกิจการ มวลชน ๒.๒ ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย กองอาสารักษาดินแดน ๒.๓ ดำเนินการพัฒนาบุคลากรในด้าน การรักษาความสงบเรียบร้อยและ ความมั่นคงภายใน ๒.๔ ดำเนินการสื่อสารเพื่อการบริหารงาน การรักษาความสงบเรียบร้อย และ ความมั่นคงภายในประเทศ ๓.๑ ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวนสอบสวนคดีอาญาในหน้าที่พนักงาน ฝ่ายปกครอง และอำนวยความเป็นธรรมให้แก่ ประชาชน ๓.๒ สนับสนุน ส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย และการเลือกตั้งทุกระดับ ๓.๓ ดำเนินการพัฒนาและบริหารการปกครองท้องที่ ในระดับอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามกฎหมาย ว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ ๓.๔ ดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร งานบัตรประจำตัวประชาชน และงานทะเบียนอื่น รวมทั้ง การบริหารจัดการฐานข้อมูลกลาง เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน ที่มา : กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ 48
49
วิสัยทัศน์กรมการปกครอง
“เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข” 49
50
การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น รธน. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารฯ ปัญหาความไม่สงบเรียบร้อย การยอมรับและเชื่อมั่นของรัฐบาล ส่วนราชการ SWOT O ขาดขวัญกำลังใจ ขาดงบประมาณ ลักษณะงานกว้างเกินไป บุคลากรเป็นผู้บริหารสูงสุดในพื้นที่ มีฐานข้อมูลกลาง วัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ W S T กระแสกระจายอำนาจให้ส่วนท้องถิ่น ทำให้ กรมการปกครองถูกลดภารกิจ การถ่ายโอนภารกิจให้แก่ท้องถิ่น การปฏิรูประบบราชการ พลิกวิกฤติ เป็นโอกาส Crisis Manager ปรับปรุง การบริหาร จัดการภายใน หาโอกาสขยายงาน ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง 50
51
ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กระบวนงาน และตัวชี้วัด
ส่วนที่ ๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กระบวนงาน และตัวชี้วัด
52
ประเด็นยุทธศาสตร์ (strategic issues) ปค. ช่วงปี 2551
การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (strategic issues) ปค. ช่วงปี 2551 ภารกิจเร่งด่วนที่ได้รับมอบหมาย Core Business ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ การเสริมสร้างความเข้มแข็ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาความมั่นคงภายใน และความสงบเรียบร้อย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาการบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาการบริหารงานอำเภอ และบูรณาการงานทุกภาคส่วนในพื้นที่ ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ Strategic Position 52
53
การพัฒนาการบริการงานอำเภอ และบูรณาการทุกภาคส่วน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกรมการปกครอง พ.ศ. 2553 การพัฒนาการบริการงานอำเภอ และบูรณาการทุกภาคส่วน อย่างมีประสิทธิภาพ การเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข การพัฒนาการบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนา อำนวยความเป็นธรรม การรักษาความ มั่นคงภายใน และความสงบเรียบร้อย
54
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย
เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กรมการปกครอง การพัฒนาการบริการ การเสริมสร้างความเข้มแข็ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การพัฒนาการบริหารงานอำเภอ และบูรณาการงานทุกภาคส่วนในพื้นที่ การพัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม การรักษาความมั่นคงภายใน และความสงบเรียบร้อย 54
55
ภาพรวมยุทธศาสตร์กรมการปกครอง
พัฒนาความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยฯ ในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำ องค์กรต้นแบบ และการขยายเครือข่ายประชาธิปไตย สร้างผู้นำ องค์กรต้นแบบ และการขยายเครือข่ายประชาธิปไตย สนับสนุนกิจกรรม วิถีชีวิตประชาธิปไตย สนับสนุนกิจกรรม วิถีชีวิตประชาธิปไตย วางระบบพื้นฐานในการพัฒนาอำเภอให้เข้มแข็ง ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิถีชีวิตประชาธิปไตย ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิถีชีวิตประชาธิปไตย สนับสนุนการมีส่วนร่วม ทางการเมือง สนับสนุนการมีส่วนร่วม ทางการเมือง พัฒนาระบบอำนวยการสนับสนุนอำเภอ พัฒนาระบบอำนวยการสนับสนุนอำเภอ การพัฒนา ความพร้อมเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย การพัฒนา ความพร้อมในการพัฒนาประชาธิปไตย พัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของอำเภอ พัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของอำเภอ การขยาย และเสริมสร้างความ เข็มแข็งของเครือข่ายการเรียนรู้วิถีชีวิตประชาธิปไตยและสร้างต้นแบบประชาธิปไตยระดับต่างๆ การขยาย และเสริมสร้างความ เข็มแข็งของเครือข่ายการเรียนรู้วิถีชีวิตประชาธิปไตยและสร้างต้นแบบประชาธิปไตยระดับต่างๆ การส่งเสริมกิจกรรม วิถีชีวิตประชาธิปไตยและสนับสนุนมีส่วนร่วม การส่งเสริมกิจกรรม วิถีชีวิตประชาธิปไตยและสนับสนุนมีส่วนร่วม การพัฒนาโครงสร้างและระบบงานของอำเภอ การพัฒนาโครงสร้างและระบบงานของอำเภอ การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของอำเภอ การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของอำเภอ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ การเสริมสร้างความเข้มแข็ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ การเสริมสร้างความเข้มแข็ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาการบริหารงานอำเภอและบูรณาการงานทุกภาคส่วน ในพื้นที่ พัฒนาระบบ การอำนวยความเป็นธรรม เชิงรุก พัฒนาระบบ การอำนวยความเป็นธรรม เชิงรุก สร้างจิตสำนึกและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้ให้บริการ สร้างจิตสำนึกและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้ให้บริการ การพัฒนาบุคลากร ผู้ให้บริการ การพัฒนาบุคลากร ผู้ให้บริการ “เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่ และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข” “เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่ และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข” การพัฒนาประสิทธิภาพการอำนวยความเป็นธรรม การพัฒนาประสิทธิภาพการอำนวยความเป็นธรรม ส่งเสริมบทบาทของฝ่ายปกครองในการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม ส่งเสริมบทบาทของฝ่ายปกครองในการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาการ อำนวยความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาการ อำนวยความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาการบริการ การพัฒนากระบวนการให้บริการ การพัฒนากระบวนการให้บริการ พัฒนากระบวนการให้บริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย การเสริมสร้างภาพลักษณ์ และขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการอำนวยความเป็นธรรม การเสริมสร้างภาพลักษณ์ และขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการอำนวยความเป็นธรรม เสริมสร้างภาพลักษณ์ของการอำนวยความเป็นธรรม เสริมสร้างภาพลักษณ์ของการอำนวยความเป็นธรรม การพัฒนาสถานที่ให้บริการ การพัฒนาสถานที่ให้บริการ การพัฒนาประสิทธิภาพ การรักษาความมั่นคงภายในเฉพาะพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน การพัฒนาประสิทธิภาพ การรักษาความมั่นคงภายในเฉพาะพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน การจัดระเบียบ คนเข้าเมืองโดย มิชอบด้วยกฎหมาย การจัดระเบียบ คนเข้าเมืองโดย มิชอบด้วยกฎหมาย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอำนวยความเป็นธรรม ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอำนวยความเป็นธรรม การพัฒนาประสิทธิภาพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง การพัฒนาประสิทธิภาพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง พัฒนาสถานที่ และภูมิทัศน์ในการให้บริการ เสริมสร้างเอกภาพในการรักษาความมั่นคงภายในเฉพาะพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน เสริมสร้างเอกภาพในการรักษาความมั่นคงภาบในเฉพาะพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน ป้องกัน คนเข้าเมืองโดยมิชอบ ด้วยกฎหมาย เสริมสร้างเอกภาพในการรักษาความสงบเรียบร้อย ของฝ่ายปกครอง 1 จัดระเบียบ คนเข้าเมืองโดยมิชอบ ด้วยกฎหมาย เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนและผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนและผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี เสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน เสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน 55 55 เสริมสร้างความร่วมมือของสหอาสาสมัคร ฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบเรียบร้อย
56
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง
เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข ประสิทธิผล ปัจจัยสำคัญเพื่อสนองความต้องการของประชาชน และภาคีการพัฒนา คุณภาพ สังคมสงบสุขประเทศมี ความมั่นคง มีกลไกสมรรถนะสูงใน การบูรณาการงานในพื้นที่ ประชาธิปไตยมี ความเข้มแข็ง ประชาชน มีส่วนร่วมทางการเมือง เกิดความเป็นธรรม ในสังคมโดยบทบาท ของฝ่ายปกครอง ประชาชนได้รับ การบริการและ การสนองตอบที่ดี ภาพลักษณ์ฝ่ายปกครองเป็นที่พึ่งของประชาชน ภาพลักษณ์ ผลของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างความเข้มแข็งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การพัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย การพัฒนาการบริการ พัฒนาประสิทธิภาพการอำนวย ความเป็นธรรม เสริมสร้างภาพลักษณ์และขยายเครือข่าย การมีส่วนร่วมในการอำนวยความเป็นธรรม พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาความมั่นคงภายในเฉพาะพื้นที่ จชต. และจังหวัดชายแดน พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง จัดระเบียบคนเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย พัฒนาบุคลากรผู้ให้บริการ พัฒนากระบวนการให้บริการ พัฒนาสถานที่ให้บริการ พัฒนาความพร้อมในการพัฒนาประชาธิปไตย ขยาย และเสริมสร้างความเข็มแข็งของเครือข่าย การเรียนรู้วิถีชีวิตประชาธิปไตยและสร้างต้นแบบ ประชาธิปไตยระดับต่างๆ ส่งเสริมกิจกรรมวิถีชีวิตประชาธิปไตยและสนับสนุน การมีส่วนร่วม เป็นการเอาแนวทางของ Kaplan มาเขียนเป็นภาษาไทย วันที่ 1 ตุลาคม 2550 การพัฒนาอำเภอให้เป็นศูนย์กลางการบริหารงาน ภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาโครงสร้างและระบบงานของอำเภอ พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของอำเภอ ทุนมนุษย์ ทุนด้านข้อมูล ทุนองค์กร การเรียนรู้ และ การพัฒนา การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็น สำหรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สร้างขวัญกำลังใจ แรงจูงใจ ปลูกฝังระบบธรรมาภิบาลในการบริหารงาน สร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่ สร้างภาวะผู้นำ การจัดวางระบบ / กระบวนงาน โครงสร้างส่วนกลาง / ภูมิภาค พัฒนาทีมงานทุกระดับ ข้อมูลพื้นฐาน / ฐานข้อมูล เทคโนโลยี / ระบบสารสนเทศ เครือข่ายข้อมูล การจัดการความรู้ 56 56
57
สวัสดี สวัสดี ดร.อภิชัย ศรีเมือง apichaisri@gmail.com
ดร.อภิชัย ศรีเมือง วิทยาลัยการปกครอง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.