งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ ห้องประชุม ๑ สคร. ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ ห้องประชุม ๑ สคร. ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณ ห้องประชุม ๑ สคร. ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖
การตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Certified FL) ของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ณ ห้องประชุม ๑ สคร. ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖

2 เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่า
วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่า รัฐวิสาหกิจให้เป็นเครื่องมือของรัฐในการพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน

3 พันธกิจและหน้าที่ตามกฎหมาย
พันธกิจและหน้าที่ตามกฎหมายของ สคร. ๑. เสนอแนะนโยบายแผน กฎหมาย ระเบียบ และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและพัฒนา รัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ ๒. กำกับ ดูแล ติดตาม ประเมินผล และพัฒนารัฐวิสาหกิจให้มีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบาย แผน กฎหมาย และมาตรการเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนารัฐวิสาหกิจ ๓. ให้คำปรึกษา เสนอแนะ และให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการของการบริหารและพัฒนาองค์กร แก่รัฐวิสาหกิจ ๔. ดำเนินการบริหารหลักทรัพย์ของรัฐในรัฐวิสาหกิจและกิจการที่รัฐถือหุ้นต่ำกว่าร้อยละห้าสิบ ของทุนทั้งหมด ๕. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงานหรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

4 เป้าประสงค์หลัก เป้าประสงค์หลัก
๑. รัฐวิสาหกิจมีรายได้และคุณภาพการให้บริการที่ดีขึ้น ตลอดจนเป็นกลไกสำคัญในการเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันของประเทศ ๒. รัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐมีมูลค่าเพิ่มขึ้นและเป็นแหล่งรายได้สำคัญของประเทศ ๓. รัฐวิสาหกิจมี กฎ ระเบียบที่ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ๔. สคร. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจและบริหารจัดการหลักทรัพย์ของรัฐ ๕. กรรมการรัฐวิสาหกิจมีศักยภาพเพิ่มขึ้น ๖. รัฐวิสาหกิจเป็นกลไกสำคัญในการสร้างความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม ๗. รัฐวิสาหกิจมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ๘. บุคลากร สคร. มีคุณภาพในการปฏิบัติงานที่ดี ๙. บุคลากร สคร. มีคุณภาพชีวิตที่ดี

5 ค่านิยมและวัฒนธรรมของ สคร.
สัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม ความสามารถแบบมืออาชีพ รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน

6 โครงสร้างองค์กรของ สคร.
ผอ.สคร. ที่ปรึกษาด้านพัฒนารัฐวิสาหกิจ รอง ผอ.สคร. รอง ผอ.สคร. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักนโยบาย และแผนรัฐวิสาหกิจ สำนัก กำกับและประเมินผลรัฐวิสาหกิจ สำนักกฎหมาย สำนัก บริหารหลักทรัพย์ของรัฐ สำนัก พัฒนารัฐวิสาหกิจ ๑ สำนัก พัฒนารัฐวิสาหกิจ ๒ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานเลขานุการกรม

7 บุคลากรของ สคร. (จำแนกตามประเภท)
สัดส่วนประเภทบุคลากรของ สคร. ประเภท จำนวน (คน) ข้าราชการ ๑๓๘ พนักงานราชการ ๒๐ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว ๒๖ รวม ๑๘๔ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ๑๑ % * ข้อมูล ณ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖

8 ข้าราชการ สคร. (จำแนกตามสายงาน)
ประเภท จำนวน (คน) สายงานบริหาร สายงานอำนวยการ สายงานวิชาการ - ปฏิบัติการ ๗๗ คน - ชำนาญการ ๓๔ คน - ชำนาญการพิเศษ ๑๒ คน - เชี่ยวชาญ ๓ คน - ทรงคุณวุฒิ ๑ คน ๑๒๗ สายงานทั่วไป (ระดับชำนาญงาน) รวม ๑๓๘

9 ข้าราชการ สคร. (จำแนกตามวุฒิการศึกษา)
สัดส่วนวุฒิการศึกษาของข้าราชการ สคร. วุฒิการศึกษา จำนวน (คน) ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ๔๑ ปริญญาโท ๙๔ ปริญญาเอก รวม ๑๓๘ ปริญญาเอก ๑ % ต่ำกว่าปริญญาตรี ๑ %

10 Web site สคร. : http://www.sepo.go.th
เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน ระบบงานที่ใช้ภายในองค์กร ระบบงานที่ใช้กับรัฐวิสาหกิจ ระบบงานเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Filing) ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (E-Office) ระบบ E-Saraban ระบบ Web Site : SEPO ระบบ Web Site : KM ระบบประชุมทางไกล ระบบจัดการผู้ใช้งาน (Active Directory) ระบบ Proxy Server ระบบจัดเก็บ/รักษา และระบบป้องกัน ระบบทรัพยากรบุคคลของ กพ. (D-PIS) ระบบควบคุมการใช้งานระบบเครือข่าย แบบ Post Connect NAC เป็นต้น ระบบฐานข้อมูลกรรมการรัฐวิสาหกิจ (Director Pool) ระบบศูนย์ประสานงานและบริการข้อมูล กรรมการรัฐวิสาหกิจ (MOF Board Center) ระบบ GFMIS-SOE ระบบ Web Site : GFMIS-SOE เป็นต้น Web site สคร. :

11 อุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
Wireless LAN, Switch, Router, Server, อุปกรณ์ Firewall อุปกรณ์สำรองข้อมูล (San Storage) เครื่องสำรองไฟฟ้า อุปกรณ์ Tape back up PC, Laptop (Notebook), Fax, Scanner, Printer, VDO Conference LCD TV

12 สิ่งอำนวยความสะดวก/สถานที่ให้บริการ
ห้องปฏิบัติการ (Server Room) ห้องประชุม ๓ ห้อง สถานที่รับรอง ๑ แห่ง ห้องสมุด ๑ แห่ง ห้องถ่ายเอกสาร ๒ แห่ง ห้องพักผ่อนรับประทานอาหาร/เครื่องดื่ม ๒ ห้อง รถส่วนกลาง อุปกรณ์สำนักงาน โต๊ะทำงาน โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เสียงตามสาย ถังดับเพลิง ยาสามัญประจำบ้าน เครื่องฟอกอากาศ เป็นต้น

13 กฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
สคร. ดำเนินการภายใต้กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่สำคัญ ดังนี้ ๑. พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๒. พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕ ๓. พ.ร.บ. ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๔. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจำหน่ายหุ้นและซื้อหุ้นของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๓๕ ๕. ระเบียบคณะกรรมการนโยบายทุนรัฐวิสาหกิจว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๓ ๖. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการติดตามการดำเนินงานตามนโยบายการพัฒนา รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๗. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการบัญชีและการเงินของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๘. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๙. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายใน พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑๐. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้เงินอุดหนุนบริการสาธารณะของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๑. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจำหน่ายกิจการหรือหุ้นที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเป็นเจ้าของ พ.ศ. ๒๕๐๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

14 บริการที่ส่งมอบผู้รับบริการ
กลุ่มผู้รับบริการ : ๑. รัฐวิสาหกิจ บริการที่ให้ : นโยบายที่ชัดเจน การจัดทำแนวนโยบายผู้ถือหุ้นภาครัฐเพื่อใช้เป็นกรอบ ในการพัฒนารัฐวิสาหกิจและการจัดทำบันทึกข้อตกลงฯ การจัดทำบันทึกข้อตกลงประจำปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และยกระดับการบริหารจัดการองค์กร การพิจารณาแรงจูงใจทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินแก่รัฐวิสาหกิจ การแต่งตั้งกรรมการรัฐวิสาหกิจ การผลักดันนโยบายและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับลักษณะของรัฐวิสาหกิจ

15 บริการที่ส่งมอบผู้รับบริการ
กลุ่มผู้รับบริการ : ๒. กระทรวงเจ้าสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ เช่น สศช. สงป. สตง. บริการที่ให้ : ข้อมูลและการตอบข้อหารือเกี่ยวกับรัฐวิสาหกิจ ความร่วมมือในการทำงาน การร่วมจัดทำแนวนโยบายผู้ถือหุ้นภาครัฐ การร่วมพิจารณานโยบายที่เกี่ยวข้อง

16 บริการที่ส่งมอบผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : ๑. ประชาชนทั่วไป ๒. นักวิชาการและ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ บริการที่ให้ : การเปิดเผยข้อมูลและให้ประชาชนมีส่วนร่วม กำกับการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจให้ผลิตสินค้าและบริการ ที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสม ยกระดับการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ กลไกการกำกับดูแลและเพิ่มมูลค่ารัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ ของรัฐในฐานะผู้ถือหุ้น

17 สภาพการแข่งขัน ประเภทการแข่งขัน คู่แข่ง (คู่เทียบ) ประเด็นการแข่งขัน
๑. การแข่งขัน ภายในประเทศ ๑. สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) การกำหนดนโยบาย สำหรับรัฐวิสาหกิจ ๒. สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) การประเมินผลหน่วยงานต่างๆ ๓. สำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) การพัฒนาประสิทธิภาพ การดำเนินงาน ๒. การแข่งขัน ภายนอกประเทศ Khazanah Nasional Berhad (Malaysia) การบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ ในฐานะผู้ถือหุ้น

18 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์
ด้านพันธกิจ ๑. การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาลที่มีต่อรัฐวิสาหกิจ ๒. การพัฒนาระบบการกำกับดูแล การประเมินผล และระบบแรงจูงใจให้เหมาะสมกับปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพ ๓. การบริหารหลักทรัพย์ที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ

19 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ (ต่อ)
ด้านปฏิบัติการ ๑. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและเชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลขององค์กรและของรัฐวิสาหกิจ ๒. การผลักดันให้รัฐวิสาหกิจทุกแห่งจัดส่งข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน เข้าสู่ระบบ GF-MIS ตามระยะเวลาที่กำหนด ๓. สื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่และหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเดียวกัน ๔. การรักษามาตรฐาน ระยะเวลาการปฏิบัติงานตามขั้นตอนของ กระบวนการที่ทำการปรับปรุง

20 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ (ต่อ)
ด้านทรัพยากรบุคคล ๑. การสร้างความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เลือกปฏิบัติ ๒. การจัดทำ Competency และ การจัดทำ IDP (Individual Development Plan) ๓. การสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งธรรมาภิบาล ๔. การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารงานบุคคลตามแนวทาง HR – Scorecard ๕. การรักษาไว้ซึ่งบุคลากร

21 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ของ สคร.

22 โครงสร้างการขับเคลื่อน PMQA ของ สคร.
Steering Committee Working Team LD SP CS IT HR PM

23 แนวทางการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๕
PMQA ครบทุก หมวด ปี ๒๕๕๒ หมวด ๑,๒ ปี ๒๕๕๓ หมวด ๓,๔ ปี ๒๕๕๔ หมวด ๕,๖

24 หมวด ๑ Vision Mission Strategy กำหนดทิศทางองค์กร
และสื่อสารทิศทางองค์กร สร้างบรรยากาศการทำงาน การกระจายอำนาจ กิจกรรมการเรียนรู้ขององค์กร LD 2 Vision Mission Strategy ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ทบทวนผลการดำเนินงาน กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ LD 7 LD 4 การกำกับดูแลองค์กรที่ดี การควบคุมภายใน LD 5,6

25 หมวด ๒ แผนปฏิบัติราชการของ สคร. 1 3 4 2 7 6 5
รัฐธรรมนูญ พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1 CG ม.9 ม.16 PM 1 3 CG ม.16 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ และยุทธศาสตร์ สคร. SWOT ของ สคร. ผลประเมิน ภายใน-ภายนอก ผลการดำเนินงานในอดีต ความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย HR 3 ปัจจัย ที่ใช้ในการ จัดทำแผน แผนกลยุทธ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า RM 2.2 นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ แผนกระทรวงการคลัง ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ LD 1 CS 1-6 4 CG ม.20 IT 1-3 2 สื่อสารทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนฯ วิเคราะห์/รวบรวมข้อมูลในการจัดทำแผน CG ม.8(3) แผนปฏิบัติราชการของ สคร. ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้/ส่วนเสีย ภารกิจ ตามกม. นโยบาย ที่ได้รัมอบหมาย SWOT 7 บริหารความเสี่ยงตามแนวทาง COSO RM 2.2 6 CG ม.20 5 CG ม.12 ดำเนินการ ตามแผนฯ กำหนดกรอบ การประเมินผล ถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย สำนัก/กอง บุคคล นำผลการดำเนินงานไปเป็นปัจจัยในการทำแผนฯ ต่อไป ติดตาม รายงานผล สรุปผล หมายเหตุ : CG หมายถึงพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านมืองที่ดี 2546

26 หมวด ๓ หมวด ๓ การกำหนด/ทบทวนกลุ่มผู้รับบริการ กลุ่มเป้าหมาย
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย LD 1 การประเมินผลและ ติดตามคุณภาพการให้บริการ กลุ่มเป้าหมาย สื่อสารและ สร้างความเข้าใจ กำหนด/ทบทวนช่องทาง การรับฟังความต้องการ LD 1/SP 4/PM 6 การจัดทำคู่มือการให้บริการ PM 5 สร้างกระบวนการให้เป็นระบบ การวัดผลความพึงพอใจ/ ไม่พึงพอใจของการให้บริการ LD 1/SP 4/PM 6 ตรวจสอบ/ดำเนินการ จัดการข้อร้องเรียน สอบถาม ความคิดเห็น สร้างเครือข่าย/ ความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างกระบวนการ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน LD 7/IT 4 ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ

27 หมวด ๔ VISION MIS หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6
GFMIS-SOE Data warehouse MIS VISION ผู้บริหาร จัดทำแผนและ กลยุทธ์ กำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ การพัฒนา บริหารความเสี่ยง หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 IT1 IT2 IT3 IT4 IT5 IT6 IT7 IT1-3 มีระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน IT4 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม IT5 มีระบบการติดตามเฝ้าระวัง และเตือนภัย IT6 มีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 จัดทำแผนการจัดการความรู้และนำแผนไปปฏิบัติ

28 หมวด ๕ KPI แผนปฏิบัติราชการ HR Scorecard
Vision สคร. Mission สคร. Strategy สคร. HR Scorecard แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ความท้าทาย ด้านทรัพยากรบุคคล KPI พัฒนา ระบบงาน HR พัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ พัฒนา และสร้างความผาสุก Career Path HR Database (DPIS) Talent Management (HiPPs) New Wave การบริหารอัตรากำลัง กำหนดหลักเกณฑ์ด้าน HR บริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นต้น แผนพัฒนาบุคลากรประจำปี จัดสรรทุนพัฒนาบุคลากร การศึกษาดูงาน/อบรมและ สัมมนา ทั้งในและต่างประเทศ แผนสร้างความผาสุกในองค์กร การพัฒนาค่าตอบแทนที่เหมาะสม กองทุนสวัสดิการ สคร. งาน HR ที่มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับพันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ สคร. ผลสัมฤทธิ์ของ สคร.

29 ๒. จัดทำข้อกำหนดและตัวชี้วัด แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน
หมวด ๖ วิสัยทัศน์ / พันธกิจ ผลผลิต/บริการที่ให้ ๑. กำหนดกระบวนการ กระบวนการที่สร้างคุณค่า 3 กระบวนการ กระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้าน กฎหมาย ๒. จัดทำข้อกำหนดและตัวชี้วัด แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน ๑. อัคคีภัย ๒. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓. สถานการณ์ทางการเมือง /การชุมนุมประท้วง ๔. อุทกภัย องค์ความรู้ / เทคโนโลยีใหม่ๆ กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน ความคุ้มค่า ๓. ออกแบบกระบวนการ ๔. จัดทำมาตรฐาน/คู่มือการปฏิบัติงาน นำไปปฏิบัติ ติดตามการปฏิบัติงาน ๕. ปรับปรุงกระบวนการ

30 เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ)
หมวด ๗ หมวด ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน RM ๑.๑ ร้อยละของบุคลากร เข้าใจองค์การ ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๘๘.๒๑ % RM ๒.๒ ร้อยละของบุคลากร ที่เข้าใจแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่ระดับความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๘๔.๒๐ % RM ๓.๕ ร้อยละของความสำเร็จ ในการดำเนินการตามมาตรฐาน คู่มือการให้บริการ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ %

31 หมวด ๗ หมวด ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน ๔
RM ๔.๕ ร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจาก ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ ตามแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย ๓ องค์ความรู้ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ ๑๐๐ ๑๐๐ % RM ๕.๒ ร้อยละความพึงพอใจ ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘๑.๖๔ % RM ๖.๓ ร้อยละของกระบวนการสร้างคุณค่า ที่มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) ๓๐ ๔๐ ๕๐


ดาวน์โหลด ppt ณ ห้องประชุม ๑ สคร. ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google