งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวัน โดยใช้ Thai School Lunch

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวัน โดยใช้ Thai School Lunch"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวัน โดยใช้ Thai School Lunch
นางสาววรลักษณ์ คงหนู ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี

2 ผลการสำรวจการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เขตสุขภาพที่ 5 ณ 14 มีนาคม 61
โรงเรียนที่ให้ข้อมูล มีทั้งหมด = 31 รร. ขนาดเล็ก = รร. ขนาดกลาง = 20 รร. ขนาดใหญ่พิเศษ = รร. รูปแบบการจัดอาหาร โรงเรียนจ้างแม่ครัวปรุงอาหารเองที่โรงเรียน = 23 รร. จ้างเหมาบุคคลภายนอกมาปรุงอาหารที่โรงเรียน = 5 รร. จ้างเหมาบุคคลภายนอกปรุงอาหารมาส่งที่โรงเรียน = 2 รร. ครูปรุงอาหารเอง = 1 รร. การศึกษาของคุณครูที่รับผิดชอบอาหารกลางวัน จบอาหารและโภชนาการ = 1 รร. (วัดหนองกระทุ่ม จ.ราชบุรี) คหกรรมศาสตร์ = 3 รร. (อนุบาลราชบุรี บ้านทุ่งตาแก้ว จ.ประจวบ บ้านวังด้ง จ.กาญจนบุรี) อื่นๆ เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาไทย พละฯลฯ = 27 รร.

3 ผลการสำรวจการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เขตสุขภาพที่ 5 ณ 14 มีนาคม 61
4. การจัดทำเมนูอาหารกลางวัน ใช้คู่มือตำรับอาหารของกระทรวงศึกษาธิการ = 3 รร. ใช้ประสบการณ์ตนเองและทีมงาน = 8 รร. ใช้ Thai School Lunch = 20 รร. 5. รายจ่ายค่าอาหารกลางวันเฉลี่ยวันละ 18.7 บาท ต่ำสุด = บาท สูงสุด = 20 บาท ต่อคน 6. การผลักดันให้มีนักโภชนาการตำบล/โรงเรียน เห็นด้วย = 29 รร. ไม่เห็นด้วย = 2 รร.

4 โครงการอาหารกลางวันนักเรียน 20 บาท
2556 -ปัจจุบัน 20 บาท 26 13 บาท 2544 10 บาท 2540 6 บาท ปีแรกที่รัฐสนับสนุนงบประมาณ 2535 5 บาท 66 2495 เริ่มต้น งบกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน

5 ปี 55 วิเคราะห์คุณภาพอาหารกลางวันเทียบเคียงญี่ปุ่น
Japan 67 ปี Thailand 60 ปี โครงการอาหารกลางวันนักเรียน IQ > 100 IQ < 100 IQ มาตรฐานอาหารกลางวัน มาตรฐาน เด็ก อ้วน ผอม เตี้ย มาตรฐาน

6 อิ่มท้องอย่างมีคุณภาพ
ปี โจทย์สำคัญ จะทำอย่าไร?? ให้เด็ก... อิ่มท้องอย่างมีคุณภาพ สมองแจ่มใส IQ >100 มีโภชนาการสมวัย

7 13 บาท 20 บาท Before After พัฒนา Model จนได้คำตอบ
เด็กไทยได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านโภชนาการ อย่างเท่าเทียม : รัฐบาลต้องเพิ่มค่าอาหารกลางวัน จาก 13 บาท เป็น 20 บาท 13 บาท 20 บาท ยังไม่รวม ค่าแก๊ส ค่าพาหนะขนส่ง ค่าตอบแทนแม่ครัว รวม ค่าแก๊ส ค่าพาหนะขนส่ง ค่าตอบแทนแม่ครัว Before After

8 งบอาหารกลางวัน 20 บาท : เพิ่ม 7 บาท เพิ่มคุณภาพอาหาร
จัดปริมาณ&ความถี่อาหารได้ตาม ธงโภชนาการ จัดเมนูอาหาร ได้หลากหลาย ปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วน หรืออย่างน้อย 70%ต่อมื้อ อาหารกลางวัน 20 บาท จัดผักผลไม้ ได้ทุกวัน หรือ 3 วันต่อสัปดาห์ ปริมาณพลังงานและสารอาหารมื้อกลางวันควรได้รับ40% ต่อวัน พลังงาน (kgcal) 600 แคลเซียม (mg) 360 วิตามินบี 1 (mg) 0.3 เหล็ก (mg) 5.5 วิตามินเอ (µgRE) 215 วิตามินซี (mg) 18 เพิ่ม ไข่ ตับ ปลา และเต้าหู้ได้บ่อยขึ้น หรือสัปดาห์ละ ครั้ง ค่าบริหารจัดการ เช่น ค่าจ้างแม่ครัว ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าขยะ การพัฒนาทักษะบุคลากร ค่าอาหาร 15 บาท ค่าบริหารจัดการ 5 บาท

9 โรงเรียนใช้ Thai School Lunch & พัฒนาคุณภาพอาหาร
ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี 8 ขั้นตอน

10 แผนภูมิการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน : เขตสุขภาพที่ 5
1. สำรวจสถานการณ์อาหาร ภาวะสุขภาพนักเรียน และ สร้างความเข้าใจเรื่อง อาหารและโภชนาการ ระหว่างครู แม่ครัว แกนนำ นักเรียน และผู้ปกครอง 2. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่าง น้อย 1 เดือน ที่สอดคล้องกับภาวะ สุขภาพนักเรียน กำหนดปริมาณ วัตถุดิบอาหาร ราคาอาหาร ปริมาณ พลังงานและสารอาหารเหมาะสมตาม วัย โดยใช้ Thai School Lunch Program 3. จัดทำทะเบียนวัตถุดิบอาหารที่ ต้องการใช้ใน 1 เดือน สอดคล้องกับผลผลิตเกษตร ปลอดภัยในโรงเรียน ชุมชน และ ครัวเรือนตามฤดูกาล สร้าง เศรษฐกิจชุมชนและความมั่นคง ทางอาหารอย่างยั่งยืน 4. จัดซื้อวัตถุดิบอาหารตาม รายการ และปริมาณที่กำหนด โดยมีแกนนำชุมชน/ ผู้ปกครอง/ประชารัฐร่วมเป็น คณะกรรมการจัดซื้อ/ตรวจรับ และตรวจสอบคุณภาพอาหาร ทุกครั้ง ปรุง ประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหาร ปลอดภัย แม่ครัว : ได้รับการอบรมด้านการจัดการอาหารและโภชนาการปีละ 1 ครั้ง : ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีด้านการสัมผัสอาหารทุกปี 6. ตักอาหารให้เด็กมี สัดส่วนและปริมาณที่ เพียงพอตามคำแนะนำใน ธงโภชนาการ และใช้ อุปกรณ์การบรรจุอาหารที่ ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย 7. บูรณาการและสอดแทรก ความรู้ด้านอาหารและ โภชนาการสู่หลักสูตรการ เรียนการสอนทั้งในและนอก ห้องเรียน เพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะ และปรับพฤติกรรมการ กินของเด็ก 8. ประเมินผลคุณภาพอาหารที่ เชื่อมโยงกับข้อมูลพฤติกรรมการกิน ภาวะโภชนาการ และสุขภาพของเด็ก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยชุมชนมี ส่วนร่วม และนำผลการประเมินสื่อสาร สู่สังคม และพัฒนางาน

11 คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ
การขับเคลื่อนนโยบายเพิ่มค่าอาหารกลางวันนักเรียน ปี คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2556 : เรื่อง การตั้งงบประมาณโครงการอาหารกลางวันนักเรียน ตามภาวะเศรษฐกิจ จากอัตรา บาทต่อคนต่อวัน เป็น 20 บาทต่อคนต่อวัน โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 24,775,999,200 บาท ส่งผลให้ นักเรียนได้รับประโยชน์ จำนวน 5,800,469 คน โดยมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ควบคุม กำกับ และประเมินคุณภาพ อาหารและโภชนาการ

12 จัดเมนูอาหาร ได้หลากหลาย
ปี ผลการประเมินคุณภาพอาหารกลางวันมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ยังต่ำกว่ามาตรฐานที่ Commitment กับ ครม. จัดปริมาณ&ความถี่อาหารได้ตาม ธงโภชนาการ จัดเมนูอาหาร ได้หลากหลาย ปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วน หรืออย่างน้อย 70%ต่อมื้อ อาหารกลางวัน 20 บาท จัดผักผลไม้ ได้ทุกวัน หรือ 3 วันต่อสัปดาห์ ปริมาณพลังงานและสารอาหารมื้อกลางวันควรได้รับ40% ต่อวัน พลังงาน (kgcal) 600 แคลเซียม (mg) 360 วิตามินบี 1 (mg) 0.3 เหล็ก (mg) 5.5 วิตามินเอ (µgRE) 215 วิตามินซี (mg) 18 เพิ่ม ไข่ ตับ ปลา และเต้าหู้ได้บ่อยขึ้น หรือสัปดาห์ละ ครั้ง ค่าบริหารจัดการ เช่น ค่าจ้างแม่ครัว ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าขยะ การพัฒนาทักษะบุคลากร ค่าอาหาร 15 บาท ค่าบริหารจัดการ 5 บาท

13 เทียบเคียงผลลัพธ์กับประเทศญี่ปุ่น ยังต่ำกว่ามาตรฐาน
Japan 73 ปี Thailand 66 ปี โครงการอาหารกลางวันนักเรียน IQ > 100 IQ < 100 IQ มาตรฐานอาหารกลางวัน มาตรฐาน เด็ก อ้วน ผอม เตี้ย มาตรฐาน ปี เริ่มมีการเคลื่อนไหว ควรผลักดันให้มีนักโภชนาการประจำตำบล /โรงเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ >15% /ค่าอาหาร

14 ข้อควรรู้ในการใช้ Thai School Lunch : TSL
ถ้าจะนำไปเป็นรายการขออนุมัติเบิก-จ่าย ต้องใช้ราคาอาหาร ณ วันที่ จัดซื้อ/จัดจ้าง เนื่องจากราคาอาหาร/ชนิดอาหารมีการปรับ ในกรณีจ้างเหมาบริการ โรงเรียนควรจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียน 1 เดือนโดยใช้ TSL เป็น TOR ในการจ้างเหมาบริการ โดย รร.ควบคุมคุณภาพอาหาร ควรจัดทำเมนูอาหารให้สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน / ชุมชน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และเศรษฐกิจชุมชน 4. ควรประเมินคุณภาพอาหารกลางวัน เอย่างน้อย เทอมละ 1 ครั้ง


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวัน โดยใช้ Thai School Lunch

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google