งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป
พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents, and Family Section Global AIDS Program Thailand/Asia Regional Office CDC Southeast Asia Regional Office

2 Outlines triple EMTCT (HIV, syphilis, hepatitis B) ในประเทศไทย
ข้อแนะนำจาก WHO เรื่อง EMTCT of HBV สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป

3 WHO plans for triple elimination MTCT Elimination MTCT of HIV, syphilis and HBV

4 The maternal-child health service can serve as a platform for EMTCT of more than HIV and syphilis
Test and Treat women with ART Provide ARV prophylaxis to infants and appropriate infant feeding Syphilis Test and treat pregnant women with single dose B-penicillin Prophylaxis to exposed infant HBV Test and ?treat with TDF Give birth dose Hepatitis B vaccine to the infant

5 สถานการณ์โรคตับอักเสบบีในไทย
คาดการณ์ว่า คนไทยประมาณ 5 ล้านคน ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และจากสถิติในอดีตพบว่าใน 100 คนจะมีผู้ที่เป็นพาหะโรคไวรัสตับอักเสบบีอยู่ 8-10 คน คนที่เป็นพาหะนั้นไม่ได้เป็นโรค ไม่มีอาการเจ็บป่วย เพียงแต่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีซ่อนตัวอยู่ใน ร่างกายและสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี เกือบร้อยละ 30 จะมีโอกาสพัฒนาเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็งและ มะเร็งตับ และมีอัตราเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งตับมากกว่าคนปกติถึง เท่า ประเทศไทยมีการคัดกรอง HBsAg ในหญิงตั้งครรภ์ตามมาตรฐานมานานกว่า 30 ปี แต่ยังไม่มี ข้อมูลระดับประเทศว่าความครอบคลุม ของการคัดกรองและร้อยละเท่าไรของหญิงตั้งครรภ์เป็น พาหะตับอักเสบบี การติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อตับอักเสบบีและทารกยังไม่มีข้อแนะนำที่ชัดเจนว่าควรติดตามแม่ อย่างไร แม้จะแนะนำการให้วัคซีนในทารกแต่การติดตามผลลัพธ์การรักษาในทารกมีการปฏิบัติที่ หลากหลายในแต่ละพื้นที่

6 Stopping Transmission

7 Stopping Transmission

8 ร้อยละความครอบคลุมวัคซีนในเด็กไทย 1-2 ปี (สำรวจ 2551)
กรมควบคุมโรค 2551

9 ร้อยละของการให้วัคซีนตับอักเสบบีไม่ถูกต้อง ในเด็กไทย 1-2 ปี (สำรวจ 2551)
กรมควบคุมโรค 2551

10 EMTCT of HIV, syphilis, (HBV Draft 2017)
ELIMINATION HIV Syphilis HBV ? IMPACT criteria Incidence ≤ 50 cases per 100,000 live births MTCT rate < 2% or < 5% in breastfeeding populations O.1% HBsAg prevalence among children (Global Strategy) ? MTCT <2% (Regional Action Plan) ? PROCESS criteria 1st ANC coverage ≥ 95% Testing coverage ≥ 95% ART coverage ≥95% Testing coverage ≥ 95% Treatment coverage >95% ANC coverage? Testing coverage? treatment for mothers? Birth dose and follow-on series ≥ 95%

11

12 1 A threshold of ≥2% or ≥5% seroprevalence was based on several published thresholds of intermediate or high seroprevalence. The threshold used will depend on other country considerations and epidemiological context. 2 Many countries have chosen to adopt routine testing in all pregnant women, regardless of seroprevalence in the general population, and particularly where seroprevalence ≥ 2%. A full vaccination schedule including birth dose should be completed in all infants, in accordance with WHO position paper on Hepatitis B vaccines 2009 WHO 2016

13 Summary algorithm for diagnosis, treatment and monitoring of chronic HBV infection (I)
WHO 2016

14 Summary algorithm for diagnosis, treatment and monitoring of chronic HBV infection (II)
WHO 2016 Abbreviations: RDT: rapid diagnostic test; ALT: alanine aminotransferase; APRI: aspartase aminotransferase-to-platelet ratio index; TE: Transient elastography;

15 Summary algorithm for diagnosis, treatment and monitoring of chronic HBV infection (III)
HCC: Hepatocellular carcinoma; AFP: Alpha fetoprotein WHO 2016

16 WHO guidelines for hepatitis B March 2015

17 MTCT of HBV ในประเทศไทย
ประเทศไทยมีการคัดกรอง HBsAg ในหญิงตั้งครรภ์ตามมาตรฐานมานานกว่า 30 ปี แต่ยัง ไม่มีข้อมูลระดับประเทศว่าความครอบคลุม ของการคัดกรองและร้อยละเท่าไรของหญิง ตั้งครรภ์เป็นพาหะตับอักเสบบี ทารกที่คลอดจากแม่ที่เป็นพาหะตับอักเสบบีจะได้รับวัคซีน อย่างน้อย 3 โด๊สที่ แรกเกิด 1 เดือนและ 6 เดือน บางรายจะได้รับ HBIG ด้วย การติดตามทารกหลังคลอดว่ามีการติดเชื้อตับอักเสบบีหรือไม่ ยังไม่ได้ปฏิบัติกันแพร่หลาย และไม่ทราบอัตราถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก ควรเริ่มรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์ของทารกจากการติดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่ และจัดทำแนวทาง ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อตับอักเสบบีที่ชัดเจน เพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับรองการ ยุติการถ่ายทอด 3 โรคจากแม่สู่ลูกในอนาคต

18 กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค ได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานโรคตับอักเสบจากไวรัสขึ้นมาเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เป็นหน่วยงานที่ประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์กรวิชาชีพ และองค์กรอิสระหลายแห่ง เช่น สมาคมโรคตับ มูลนิธิโรคตับ สภากาชาดไทย สมาคมโรคเอดส์แห่งประเทศไทย เป็นต้น  มีนโยบายการจัดการปัญหาโรคไวรัสตับอักเสบ 5 ด้าน คือ 1.การเฝ้าระวังโรค 2.การป้องกันควบคุมโรค 3. การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อที่ไม่ทราบสถานะของตน 4.การเร่งรัดให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาที่ เหมาะสม และ 5.การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคในอนาคต  กรมควบคุมโรค ได้ทบทวนระบบเฝ้าระวังโรคไวรัสตับอักเสบ และกำหนดกรอบแนวทางให้บูรณการร่วมกับ การเฝ้าระวังโรคที่มีช่องทางการติดเชื้อคล้ายๆกัน เช่น โรคเอดส์ และโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งคาดว่าจะ เริ่มนำร่องระบบการเฝ้าระวังในรูปแบบดังกล่าวได้ในปี 2559 นี้

19 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google