งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Discharge Planning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิกุล พรพิบูลย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Discharge Planning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิกุล พรพิบูลย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Discharge Planning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิกุล พรพิบูลย์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2559

2 หัวข้อบรรยาย ความหมาย วัตถุประสงค์ กระบวนการ/ขั้นตอน
การนำไปสู่การปฏิบัติ การประเมินผลลัพธ์

3 ความหมายของ discharge planning

4 การวางแผนจำหน่าย เป็นกระบวนการเตรียมพร้อมอย่างรอบด้าน เพื่อให้ผู้ป่วย ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง เมื่อออกจากโรงพยาบาลไปสู่ บ้านหรือไปยังสถานบริการอีกที่หนึ่ง ซึ่งต้องทำร่วมกัน โดยทีมบุคลากรของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมถึง ผู้ป่วยและญาติ/ครอบครัวด้วย

5 การวางแผนจำหน่าย เป็นกระบวนการเตรียมพร้อมด้านการดูแลจากสถาน บริการระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง โดยความร่วมมือกัน ระหว่างทีมดูแล ผู้ป่วย ญาติ และสถานดูแลในชุมชน

6 วัตถุประสงค์ของ discharge planning
เพื่อให้มีการดูแลต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้านหรือชุมชน หรือ สถานดูแลที่รับช่วงต่อ เพื่อให้เกิดการทำงานประสานกันระหว่างผู้ดูแลในโรงพยาบาล และในชุมชน หรือองค์กร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมศักยภาพของผู้ดูแลที่จะรับช่วงต่อจากโรงพยาบาล เพื่อลดระยะเวลานอนโรงพยาบาลและลดการกลับเข้า โรงพยาบาลซ้ำโดยไม่ได้นัดหมายล่วงหน้า ส่งเสริมการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่จำเป็น

7 Discharge Planning Service Utilization Improve Reduce Re-admission
Re-visit Length of hospitalization

8 ผู้ป่วยที่ต้องการ discharge planning
1. ผู้ป่วยที่ต้องมีการดูแลต่อเนื่องหลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาล 2. ผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรัง 3. ผู้ป่วยที่มีประวัติเข้ารับบริการบ่อย ๆ นอนโรงพยาบาลบ่อยครั้ง มารับบริการที่ OPD ซ้ำบ่อยครั้ง กลับเข้าโรงพยาบาลซ้ำก่อนวันนัดหมาย

9 รูปแบบของการวางแผนจำหน่าย
แบบไม่เป็นทางการ (Informal discharge planning) กระทำโดยแพทย์เจ้าของไข้และหรือพยาบาลเจ้าของไข้ โดยไม่ได้ทำตามแนวปฏิบัติใด ๆ ไม่มีการติดต่อสื่อสาร ใดๆ ระหว่างโรงพยาบาลกับสถานดูแลในชุมชน และไม่ มีการจัดทำบันทึกแผนจำหน่ายที่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่มีการติดตามที่เป็นระบบ และประเมินผลลัพธ์ได้ยาก

10 รูปแบบของการวางแผนจำหน่าย
แบบที่เป็นทางการ (Formal discharge planning) กระทำโดยทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง มีแนวปฏิบัติ ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารระหว่างโรงพยาบาลกับสถาน ดูแลในชุมชน และ มีการจัดทำบันทึกแผนจำหน่ายที่เป็น ลายลักษณ์อักษร มีการติดตามที่เป็นระบบ และประเมินผลลัพธ์ได้

11 รูปแบบเชิงโครงสร้างของการวางแผนจำหน่าย
แบบที่เป็นทางการ (Formal discharge planning) กระทำโดยทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง มีแนวปฏิบัติ ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารระหว่างโรงพยาบาลกับสถาน ดูแลในชุมชน และ มีการจัดทำบันทึกแผนจำหน่ายที่เป็น ลายลักษณ์อักษร มีการติดตามที่เป็นระบบ และประเมินผลลัพธ์ได้

12 กระบวนการ discharge planning (ขั้นตอน)
1. ค้นหาผู้ป่วยและประเมินความต้องการอย่างรอบด้านตั้งแต่เนิ่น ๆ (ตั้งแต่แรกรับ) 2. ประสานความร่วมมือในการวางแผนจำหน่ายระหว่างแพทย์ พยาบาล ทีมดูแลอื่น ๆ ผู้ป่วย ญาติ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 3. ค้นหาทางเลือกในการดูแลต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วย และการส่งต่อไปยังสถานที่ดูแลที่เหมาะสมกับเชื่อนไขและสภาพของผู้ป่วยแต่ละคน 4. ติดต่อประสานกับแหล่งบริการต่างๆ เพื่อส่งต่อและช่วยให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลที่เหมาะสม 5. เตรียมความพร้อมผู้ป่วยและญาติ ให้กำลังใจให้เกิดความกระตือรือร้นในการร่วมดูแลตั้งแต่อยู่ในโรงพยาบาล

13 กระบวนการวางแผนจำหน่าย
ประเมินตั้งแต่แรกรับ วินิจฉัยความต้องการ ประเมินผลลัพธ์ ร่วมกันวางแผน ติดตาม สอน-แนะนำ ปฏิบัติ จำหน่าย ฝึกทักษะ ประสาน empower

14 การวางแผนจำหน่ายโดยใช้หลัก D-METHOD
D – Diagnosis ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคและการเจ็บป่วย M – Medicine ความรู้เรื่องยา E – Environment สภาพแวดล้อมของการดูแล T – Treatment วิธีการรักษา หัตถการที่จำเป็น H – Health การดูแลสุขภาพองค์รวม O – Out patient วิธีปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการมารับบริการ D – Diet อาหาร

15 เครื่องมือประกอบการวางแผนจำหน่าย
แนวปฏิบัติทางคลินิก เครื่องมือประกอบการวางแผนจำหน่าย คู่มือ โปรแกรมการดูแล อุปกรณ์การสาธิตวิธีปฏิบัติ แบบบันทึกการปฏิบัติด้วยตัวเอง

16 Discharge Planning ต้องทำเป็นทีม

17 การกำหนดบทบาท case manager ในการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย โดยประยุกต์เข้ากับรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง

18 Case Finding ค้นหาผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อนและมีผลลัพธ์การรักษาที่ไม่ดี
ค้นหาผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ วินิจฉัยกรณีผู้ป่วยที่ต้องมีการวางแผนจำหน่าย สื่อสารให้ทีมสหสาขาฯ ได้รับรู้ว่าผู้ป่วยรายใดที่สมควรวางแผนจำหน่าย (อาจทำสัญญลักษณ์ไว้ที่ OPD card หรือเวชระเบียน)

19 Case Manager ลงมือปฏิบัติ
ประเมินปัญหาเชิงลึกและรอบด้าน กำหนดปัญหาและสาเหตุ ปัจจัยเกี่ยวข้อง ร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งทีมสหสาขาฯ ที่เกี่ยวข้อง ติดตามแก้ไขตามปัญหาเป็นรายกรณี อย่างต่อเนื่อง (เน้นทีมสหสาขาฯ) เตรียมผู้ป่วยและญาติ ประสานแหล่งรับช่วงต่อดูแล จำหน่ายผู้ป่วย ติดตามหลังจำหน่าย ประเมินผลลัพธ์ Case Manager ลงมือปฏิบัติ

20 การสนับสนุการใช้แหล่งประโยชน์
การติดตามดูแลและส่งเสริมการจัดการตนเองที่บ้าน การจัดการสภาพแวดล้อม การจัดการเรื่องอาหารและน้ำดื่ม การออกกำลังกายและกิจกรรมในชีวิต Home Visit Community Mobilization การแสวงหาและใช้แหล่งประโยชน์ในชุมชน สนับสนุนอาชีพและรายได้ การรับสวัสดิการสังคมตามสิทธิ การช่วยเหลือโดยจิตอาสา เพื่อนบ้าน

21 การวัดผลลัพธ์ของ discharge planning
1. Length of stay 2. Re-admission rate 3. Re-visiting rate 4. Complication rate 5. Patient clinical status 6. Health status 7. Patient satisfaction 8. Health behaviors 9. Quality of life 10. cost-effectiveness

22 Evidence of Discharge Planning
1. Congestive heart failure A meta-analysis showed that comprehensive discharge planning plus post-discharge support for older patients with congestive heart failure reduced readmission rates significantly and improved health outcomes such as survival and quality of life without increasing costs. Phillips CO, Wright SM, Kern DE, et al. Comprehensive discharge planning with post-discharge support for older patients with congestive heart failure: a meta-analysis. JAMA. 2004; 291:

23 Evidence of Discharge Planning
2. Orthopedic patients Results showed that both completion rate of pre-discharge instructions and patient satisfaction were improved with discharge planning. Lin PC, Wang JL, Chang SY, et al. Effectiveness of a discharge planning pilot program for orthopedic patients in Taiwan. Int J Nurs Stud. 2005;42:

24 Evidence of Discharge Planning
3. Elderly patients with hip fracture Overall, standardized rehabilitation and discharge planning did not affect postoperative function or institutionalization in elderly patients with hip fracture. Among patients with low social support, discharge planning improved function and reduced institutionalization. Beaupre LA, Cinats JG, Senthilselvan A, et al. Does standardized rehabilitation and discharge planning improve functional recovery in elderly patients with hip fracture? Arch Phys Med Rehabil ;86:2231e2239.

25 Evidence of Discharge Planning
4. Elderly patients with hip fracture due to falling A discharge planning intervention by a nurse can improve physical outcomes and quality of life in hip fracture patients. Huang TT, Liang SH. A randomized clinical trial of the effectiveness of a discharge planning intervention in hospitalized elders with hip fracture due to falling. J Clin Nurs. 2005; 14:

26 Evidence of Discharge Planning
12.5. Rural hospital With discharge planning, there were significant increase in the proportion of patients with a timely and informative risk screening, referrals to community health service providers, and improved communication processes between hospital staff and community health service providers. Bolch D, Johnston JB, Giles LC, et al. Hospital to home: an integrated approach to discharge planning in a rural South Australian town. Aust J Rural Health. 2005; 13:

27 ? มีคำถามไหมคะ


ดาวน์โหลด ppt Discharge Planning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิกุล พรพิบูลย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google