ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
2
ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ระดับจังหวัดกำแพงเพชร
ผลการดำเนินงาน ปี ระดับจังหวัดกำแพงเพชร 1. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 16 ของ Median 5 ปี (ปี2555-ปี2559) ระดับจังหวัด Median (ปี55-59) อัตราป่วย ปี2560 ลด / เพิ่ม เทียบ MD จ.กำแพงเพชร 103.96 67.79 ลดลง ร้อยละ (ผ่านเป้าหมาย) 2. อัตราป่วยตาย ไม่เกินร้อยละ 0.10 ระดับจังหวัด ผู้ป่วย ปี 2560 ผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราป่วยตาย จ.กำแพงเพชร 495 ราย 2 ราย ร้อยละ 0.40 (ไม่ผ่านเป้าหมาย)
3
ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ระดับอำเภอ
ผลการดำเนินงาน ปี ระดับอำเภอ 1. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 16 ของ Median 5 ปี (ปี2555-ปี2559) ที่ อำเภอ Median 5 ปี (ต่อแสน ปชก.) ปี 2560 (ต่อแสนปชก.) ลด / เพิ่ม MD (ร้อยละ) 1 เมือง 180.25 128.59 2 ไทรงาม 86.68 45.06 3 คลองลาน 42.76 26.72 4 ขาณุวรลักษบุรี 42.00 10.32 5 คลองขลุง 51.60 67.81 6 พรานกระต่าย 60.69 11.28 7 ลานกระบือ 45.02 118.36 8 ทรายทองวัฒนา 75.50 55.18 9 ปางศิลาทอง 89.39 26.07 10 บึงสามัคคี 33.85 15.13 11 โกสัมพีนคร 177.91
4
อัตราป่วย(ต่อแสนปชก)
เป้าหมายลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ median อำเภอ Median 5 ปี เป้าหมาย ปี 2561 (ปี ) ลด 10 % จาก MD 5 ปี อัตราป่วย(ต่อแสนปชก) จำนวน (ราย) 1.เมือง 133.66 285 120.29 257 2.ไทรงาม 45.06 23 40.55 21 3.คลองลาน 34.58 22 31.12 20 4.ขาณุวรลักษบุรี 15.95 17 14.36 15 5.คลองขลุง 52.59 38 47.33 34 6.พรานกระต่าย 23.97 21.58 7.ลานกระบือ 44.09 19 39.68 8.ทรายทองวัฒนา 72.16 64.94 9.ปางศิลาทอง 58.66 18 52.79 16 10.บึงสามัคคี 34.05 9 30.65 8 11.โกสัมพีนคร 173.77 50 156.40 45 จ.กำแพงเพชร 70.53 515 63.48 464
5
3. ลดการติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 50 ของ ปี 2560
ปี จ.กำแพงเพชร หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อไวรัสซิกา จำนวน 3 ราย เป้าหมาย ปี 2561 ไม่เกิน 1 ราย ที่ อำเภอ จำนวนผู้ป่วย ปี (ราย) พื้นที่พบผู้ป่วย หญิงตั้งครรภ์ กลุ่มอื่นๆ รวม 1 โกสัมพีนคร 15 16 ต.ลานดอกไม้ (ม.1,2,8) ต.โกสัมพี (ม.1) 2 พรานกระต่าย ต.เขาคีรีส (ม.6) 3 ขาณุวรลักษบุรี ต.สลกบาตร (ม.1 , 7) ต.บ่อถ้ำ (ม.6) 4 เมือง 6 ต.ในเมือง (ชช.โพธิ์เงิน) ต.สระแก้ว (ม.6) ต.นาบ่อคำ (ม.1) 5 คลองลาน ต.คลองลาน (ม.9) ไทรงาม 11 ต.มหาชัย (ม.9) ต.หนองแม่แตง (ม.2,3,10) ต.หนองทอง (ม.7) 7 คลองขลุง ต.คลองขลุง (ม.10) จ.กำแพงเพชร 37 40 7 อำเภอ / 13 ตำบล /18 มบ.
6
มาตรการสำคัญ โรคไข้เลือดออก
กิจกรรม เป้าหมาย 1.วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง(รายตำบล) ตามเกณฑ์ของอำเภอ หรือเทียบรายงานพยากรณ์โรคของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2561 ปี ละ 1 ครั้ง 2.เฝ้าระวังทางกีฏวิทยา โดยสุ่มประเมินค่าดัชนี Seting 6 ร. เดือนละ 1 ครั้ง 2.1 รพ.สต./รพ. สุ่มประเมิน 2 หมู่บ้าน หรือชุมชน 2.2 ทีมอำเภอ สุ่มประเมิน 2 รพ.สต. ๆ ละ 1 มบ./ชุมชน 2.3 ทีมจังหวัด สุ่มประเมิน 2 อำเภอ / 2 รพ. / 2 รพ.สต.ๆ ละ 1 มบ. ร้อยละ 80 ของ seting 6 ร. (ที่สุ่มประเมิน) มีค่าดัชนีตามเกณฑ์ คือ 1.โรงเรือน HI<10 ,2.โรงแรม/3.โรงงาน CI< 5 4. โรงเรียน 5.โรงพยาบาล 6.โรงธรรม CI=0 3.มีการประสานแผน และจัดกิจกรรมรณรงค์ Big cleaning ตามแผน ร่วมกับภาคีเครือข่าย มาตรการ 5 ส 3 เก็บ 3 โรค (มาตรการ 5 ป. 1 ข.) ก่อนการระบาด (ก.พ. – เม.ย.) ฤดูกาลระบาด (พ.ค. – ส.ค.) มีแผนงาน โครงการ Big cleaning และมีการจัดกิจกรรมตามแผน 4.มีการจัดตั้ง Dengue corner ในสถานบริการ ร้อยละ 100 ของสถานบริการ 5.สอบสวนและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ(มาตรการ 331)และ(Day 1 3 7) ไม่เกิด second generation (ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เกิดขึ้นภายหลัง 28 วัน นับจากพบผู้ป่วยรายแรก หรือ Index case) Second generation ไม่เกินร้อยละ 10 ของหมู่บ้าน / ชุมชน เกิดโรค 6.มีการใช้ CPG และจัดทำ Monitor shock ในกรณีผู้ป่วย admit ทุกราย ร้อยละ 100 ของผู้ป่วย Admit
7
มาตรการสำคัญ โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
กิจกรรม เป้าหมาย 1.มีการเฝ้าระวัง และส่งตรวจผู้ที่มีอาการสงสัย (PUI) 4 กลุ่ม ตามนิยาม 1.หญิงตั้งครรภ์ 2.ผู้มีอาการผื่น/ไข้ 3.ทารกศีรษะเล็ก 4.GBS PUI ทุกราย ส่งตรวจ PCR 2.กรณีพบผู้ป่วยยืนยัน ให้อำเภอ Activate EOC ทุกราย 3.ค้นหาผู้ป่วยและเฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน 3.1 หญิงตั้งครรภ์ ในพื้นที่พบผู้ป่วยยืนยัน (2 ครั้ง ห่างกัน 14 วัน) 3.2 ผู้มีอาการสงสัย (PUI) รัศมี 100 เมตร หรือ ในชุมชน หญิงตั้งครรภ์ทุกรายทั้งตำบล PUI ทุกราย 4.การควบคุมโรค มาตรการ Day 4.1 การสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลาย 6 ครั้ง (Day ) 4.2 การพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย รัศมี 100 เมตร หรือทั้งชุมชน Day 7 รัศมี 100 ม. : HI ,CI = 0 Day 14 ชุมชน : HI ,CI < ร้อยละ 5 อย่างน้อย 3 ครั้ง (Day ) 5.การควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ ไม่เกิด second generation ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ เกิดขึ้นภายหลัง 28 วัน นับจากพบผู้ป่วยรายแรก หรือ Index case
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.