งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
EAST ASIA เอเชียตะวันออก GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

2 สาธารณรัฐประชาชนจีน ( People's Republic of China : China PRC )

3 จีนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 1
จีนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น มณฑล (Province) 22 มณฑล (หากรวมไต้หวันด้วย 23 มณฑล) เขตปกครองตนเอง (Autonomous region) 5 แห่ง 3. เทศบาลมหานคร (Municipality) 4 แห่ง เขตบริหารพิเศษ (Special administrative region : SAR) 2 แห่ง

4 มณฑล (Province) 22 มณฑล ( 23 มณฑล หากรวมไต้หวัน ที่จีนอ้างว่าเป็นมณฑลหนึ่งของจีน )

5 มณฑล 22 มณฑล ( 23 มณฑล หากรวมไต้หวัน ที่จีนอ้างว่าเป็นมณฑลหนึ่งของจีน )
เฮอหลงเจียง จิ๋ลิน เหลียวหนิง เฮอเป่ย์ ชานสี ซานตง เฮอหนาน ชิ่งไห่ กานซู เจียงซู ส่านสี อันหุย เสฉวน หูเปย์ เจียงซี เจ๋อเจียง หูหนาน กุ๋ยโจว ฝูโจว ไต้หวัน ยูหนาน กว่างตุ้ง ไห่หนาน

6 มณฑล 22 มณฑล ( 23 มณฑล หากรวมไต้หวัน ที่จีนอ้างว่าเป็นมณฑลหนึ่งของจีน )
เฮอหลงเจียง จิ๋ลิน เหลียวหนิง ชานสี ชิ่งไห่ เฮอเป่ย์ ซานตง กานซู เจียงซู ส่านสี เฮอหนาน หูเปย์ เสฉวน อันหุย เจ๋อเจียง กุ๋ยโจว หูหนาน เจียงซี ยูหนาน ฝูโจว กว่างตุ้ง ไต้หวัน ไห่หนาน

7 เขตปกครองตนเอง (Autonomous region) 5 แห่ง

8 เขตปกครองตนเอง ( Autonomous region ) 5 แห่ง
เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน เขตปกครองตนเองซินเจียง-อูยกูว์ เขตปกครองตนเองหนิงเซียฮุย เขตปกครองตนเองทิเบต 1. Tibet (Xizang) 2. Xinjiang Uyghur 3. Inner Mongolia ( Nei Mongol ) 4. Ningxia Hui 5. Guangxi Zhuang เขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง

9 เขตปกครองตนเองของจีน 5 แห่ง
เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน เขตปกครองตนเองหนิงเซียฮุย เขตปกครองตนเองซินเจียง-อูยกูว์ เขตปกครองตนเองทิเบต เขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง

10 เทศบาลมหานคร (Municipality) 4 แห่ง

11 เขตเทศบาลมหานคร(Municipality) 4 แห่ง
ปักกิ่ง เทียนจิน ฉงชิ่ง เซี้ยงไฮ้

12 เขตเทศบาลมหานคร 4 แห่ง ปักกิ่ง เทียนจิน ฉงชิ่ง เซี้ยงไฮ้

13 เขตเทศบาลมหานคร ( Municipality ) 4 แห่ง
มหานครปักกิ่ง (Beijing) มหานครเทียนจิน (Tianjin) เขตเทศบาลมหานคร ( Municipality ) 4 แห่ง มหานครเซี้ยงไฮ้ (Shanghai) มหานครฉงชิ่ง (Chungqing)

14 เขตบริหารพิเศษ (Special administrative region : SAR) 2 แห่ง

15 เขตบริหารพิเศษ ( Special administrative region : SAR ) 2 แห่ง
ฮ่องกง มาเก๊า

16 เขตบริหารพิเศษ ( Special administrative region : SAR ) 2 แห่ง
เขตบริหารพิเศษมาเก๊า Macau Special administrative region เขตบริหารพิเศษฮ่องกง Hong Kong Special administrative region

17 เมืองกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง
ที่ราบลุ่มปากแม่น้ำซี(ซีเจียง) มณฑลกวางตุ้ง เป็นมณฑลที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของจีน และเป็นมณฑลที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดของจีนด้วย เมืองเซินเจิ้น เมืองเศรษฐกิจที่จีนใช้พัฒนาเป็นเมืองเศรษฐกิจสมัยเริ่มเปิดเสรีทางเศรษฐกิจครั้งแรก เมืองจูไห่ เมืองเศรษฐกิจที่จีนใช้พัฒนาเป็นเมืองเศรษฐกิจสมัยเริ่มเปิดเสรีทางเศรษฐกิจครั้งแรก ฮ่องกง มาเก๊า

18 China VS Taiwan

19 ประเทศ จีน (China) ไต้หวัน (Taiwan)
ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาชนจีน ( People's Republic of China : China PRC ) สาธารณรัฐจีน ( Republic of China : ROC ) ชื่อทั่วไป จีน / จีนแผ่นดินใหญ่ / จีนแดง / จีนคอมมิวนิสต์ ไต้หวัน / จีนไทเป / จีนไต้หวัน / จีนก๊กมินตั๋ง รัฐบุรุษคนสำคัญ เหมาเจ๋อตุง ( Mao Zedong ) เจียงไคเช็ก ( Chiang Kai-shek ) เนื้อที่ 9,596,961 ตร.กม. 35,980 ตร.กม. จำนวนประชากร 1400 ล้านคน 26 ล้านคน เมืองหลวง ปักกิ่ง (Beijing) ไทเป ( Taipei ) การปกครอง ระบอบคอมมิวนิสต์ ระบอบประชาธิปไตย ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี GDP 11,200,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 530,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้เฉลี่ยต่อหัว 17,000 ดอลลาร์สหรัฐ / ปี 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ / ปี สกุลเงิน หยวน ( Yuan) : CNY ดอลลาร์ไต้หวัน ( Taiwan Dollar ) : TWD กลุ่มประเทศ ประเทศกำลังพัฒนา (Developing country) ประเทศพัฒนาแล้ว (Developed country) สถานะ จีน กับ ไต้หวัน จีนถือว่าไต้หวันเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจีน ถือเป็น มณฑล ที่ 23 ของจีน ไต้หวัน ไม่ยอมรับการกล่าวอ้างของจีนและถือว่าตนเองเป็นประเทศที่มีอธิปไตยสมบูรณ์ เสมือนประเทศเอกราชประเทศหนึ่งในโลก สถานะที่เกี่ยวข้องกับ UN เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ (UN) และ เป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ (UNSC) ไม่ได้เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ (UN)

20 จามรี (YAK) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์วัวและควาย เป็นสัตว์ประจำถิ่นที่มีมากในแถบทิเบต เอเชียกลาง โดยมักอาศัยในที่สูงและยาวเย็นจึงทำให้มีขนยาวเพื่อความอบอุ่น


ดาวน์โหลด ppt GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google