งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การวิเคราะห์นำใช้ ปัญหาในพื้นที่ การแก้ไขปัญหา ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา ๑.ออกรายงานแล้วข้อมูลไม่ครบ,ไม่สมบูรณ์ (F๑ ,F๒) นำใช้ไม่ได้ ตรวจสอบและทำการแก้ไขข้อมูลในโปรแกรมอีกครั้ง ๒.เจ้าหน้าที่ขัดความเข้าใจ ขาดทักษะ ในการออกรายงาน การวิเคราะห์ (แยกแยะ เชื่อมโยง - สังเคราะห์ และใช้การนำใช้ข้อมูล - ปรึกษา ศวภ. ทำความเข้าใจในการออกรายงาน เข้าร่วมอบรมในการพัฒนาทักษะ ศจค.ช่วยชี้แจงการนำใช้ข้อมูล ๓.ชุมชนไม่ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมรับฟังรายงาน - จัดกระบวนนำเสนอชุมชนให้น่าสนใจ ๔.นักวิชาการขาดทักษะการอ่านข้อมูล จากการส่งออกรายงานที่เป็น excel - จัดการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมexcel

2 ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การวิเคราะห์นำใช้ ปัญหาในพื้นที่ การแก้ไขปัญหา ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา ๕.พื้นที่มีการนำใช้ประโยชน์จากรายงานน้อย ประชุมทำความเข้าใจเพื่อนำใช้ข้อมูล และฝึกอมรมพัฒนาทักษะการนำใช้ข้อมูล ๖.การประมวลผลออกรายงาน การคำนวณร้อยละไม่ชัดเจน แจ้งผู้ดูแลระบบทำการปรับปรุง ๗.ข้อมูลรายงานบังตัวซ้ำซ้อน เช่น อาชีพ ,ว่างงาน เลือกนำใช้ข้อมูลที่ต้องการและตรงกับประเด็นที่จะใช้แก้ปัญหา ๘.ผู้นำไม่ให้ความสำคัญกับรายงาน และการนำใช้ข้อมูล ชี้แจงผลการวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย จากข้อมูล และชักชวนให้ผู้นำ ใช้ข้อมูล

3 การนำใช้ข้อมูล

4 วัตถุประสงค์การเรียนรู้และการนำใช้ข้อมูล
1.การจัดกระบวนการเรียนรู้ข้อมูล ให้กับประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทั้ง ในและนอกชุมชน 2.การค้นหาศักยภาพของพื้นที่ 3.การวางแผนและออกแบบการดูแล ช่วยเหลือและบริการที่ตอบสนองต่อ ปัญหาและความต้องการของพื้นที่

5 ท้องถิ่น ท้องที่ ชุมชน หน่วยงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1: การวิเคราะห์ศักยภาพ และนำใช้ข้อมูลตำบล(SWOT Analysis) ทบทวนข้อมูล การมีส่วนร่วม ท้องถิ่น ท้องที่ ชุมชน หน่วยงาน ข้อมูล จปฐ. TCNAP Portfolio อสม. ข้อมูล GIS เวทีประชาคม กำหนดโจทย์ รวบรวมข้อมูล ออกแบบกลยุทธ์ สู่การนำใช้ วิเคราะห์ข้อมูล จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W) โอกาส (O) อุปสรรค (T) การเชื่อมกับแผนปฏิบัติการและงบประมาณ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบเดิม ตั้งคณะกรรมการ ตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจ ประเมินและทบทวน แผน รวบรวปัญหาและความต้องการ การมีส่วนร่วม RECAP

6 กระบวนการการวิเคราะห์ข้อมูลผ่านการวางแผนงานสู่การนำใช้

7

8 รับรู้ได้จากประสาทสัมพัส ของคน 7 ประการ “หู ตา จมูก ปาก ลิ้น กาย ใจ”

9

10

11 ทดลองฝึกการนำใช้ข้อมูล
โจทย์ : 1. ให้แต่ละกลุ่มยกตัวอย่างปัญหาหรือสถานการณ์ในพื้นที่ 2. ให้ตั้งโจทย์ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแหล่งที่มาของข้อมูล 3. ให้ออกแบบวิธีการนำเสนอข้อมูลดังกล่าว (ผู้เข้าร่วม / เทคนิค วิธีการนำเสนอ)

12 แนวทางการใช้ประโยชน์จาก TCNAP
มหาวิชชาลัย ศจค. ศปง. 1.ข้อมูลแสดงสถานะของตำบลสุขภาวะ (Healthy community profile) 4.ข้อมูลสำหรับการจัดทำแผน หรือข้อบัญญัติตำบล 3.ข้อมูลสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน หรือการฝึกอบรม (Community learning/ Learning package) 2.ข้อมูลที่แสดงศักยภาพของชุมชน (Community potentials) 5.ข้อมูลสำหรับการพัฒนา นวัตกรรมเชิงระบบ อปท.เครือข่าย

13 นวัตกรรม ภารกิจ อปท. 13 กลุ่มประกร 3 สร้างยกกำลัง 3 7+1 นโยบายสาธารณะ
หมู่บ้านจัดการตนเอง หมู่ที่ 2, 5, 9, 10 ด้านสุขภาพ ระบบการดูแลสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โรงพยาบาลคือบ้าน บ้านคือโรงพยาบาล ศูนย์บริการชุมชน Care Giver Center ชุดความรู้ / หลักสูตร 1 ครอบครัว 1 แกนนำ สุขภาพธรรมาภิบาล หมู่บ้านจัดการตนเองด้านสุขภาพ รพ.ช ดอนแก้ว วพ.เชียงใหม่ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ วัด รพ.นครพิงค์ นวัตกรรม การจัดการ ระบบสุขภาพชุมชน พัฒนาระบบบริการ แพทย์แผนไทย คลินิคเฉพาะโรค Mobile Clinic จัดตั้งกองทุน จิตอาสา สปสช. วันละบาท พัฒนา อสม.น้อย Care Giver จิตอาสาเยี่ยมบ้าน อสมช.เยี่ยมบ้าน 1 ครอบครัว 1 แกนนำ ศักยภาพ ลานกิจกรรม บ้านตัวอย่าง สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์ ธรรมนูญสุขภาพ ประชาคม กฎ กติกา ระเบียบ JHCIS GIS Port Folio TCNAP และนำใช้ข้อมูล อสมช. 9 ด้าน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มออกกำลังกาย กลุ่มจิตอาสา ผู้นำชุมชน 30 คน อสม. 168 คน จิตอาสา 2,599 คน อสม.น้อย 75 คน ทุนและศักยภาพทางสังคม ปัจจัยเสี่ยง / ปัจจัยเสริม สุรา/ยาสูบ ขยะ หมอกควัน อุบัติเหตุ อาหารไม่ปลอดภัย อาหารปลอดภัย พลังงานชุมชน ลานสร้างสรรค์ 13 กลุ่มประกร ภารกิจ อปท. 7+1 นโยบายสาธารณะ 3 สร้างยกกำลัง 3 ปัจจัยเสี่ยง/ปัจจัยเสริมต่อสุขภาพ จิตอาสา ผู้นำ แกนนำ รพ.ช ดอนแก้ว วพ.เชียงใหม่ มูลนิธิขาเทียม เครือข่ายจิตอาสา อสมช. 9 สาขา รพ.นครพิงค์ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ผญาล้านนา

14 นวัตกรรม 13 กลุ่มประชากร 6 7+1 นโยบายสาธารณะ ภารกิจ อปท. แหล่งเรียนรู้
นวัตกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อม (กายภาพและสังคม) วัยทำงาน,วัยผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส, เด็กเยาวชน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Good Public SPACE) ปัญหา พัฒนาศักยภาพอาสาจัดการขยะ ขยะจร ปัญหาขยะที่รกร้างว่างเปล่า ๑๑ แห่ง ไม่มีพื้นที่สาธารณะทำกิจกรรม สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมกับผู้พิการ/ผู้สูงอายุ เกษตรเขตเมือง(ที่ว่างสร้างอาหาร) 6 7+1 นโยบายสาธารณะ เพิ่มมูลค่าขยะสู่พลังงาน/ สิ่งประดิษฐ์ ชุดกิจกรรม สูตรการจัดการขยะเขตเมือง ( ครัวเรือน,หอพัก,บ้านจัดสรร,หน่วยงาน) เกษตรกรรม ส่วนร่วม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1. พัฒนาศักยภาพ ผู้พิการ 172 ผู้สูงอายุ ๑,๗๖๔ 2. พัฒนาสิ่งแวดล้อม นวัตกรรม ผังเมืองการจัดการขยะ 3. พัฒนาระบบบริการ อาสาจัดเก็บขยะ ๒๑ คน โรงปุ๋ยหมักชุมชน ๑ คน บ่อหมักแก๊สชีวภาพ ๑ แห่ง พื้นที่ไม่ใช้ประโยชน์ กลุ่มเพียงพอดี ๒๐ คน กลุ่มผู้สูงอายุ ๕๑๗ คน อสม. ๑๖๘ คน คณะกรรม การคัดแยกขยะ กลุ่มจิตอาสา 4. การจัดตั้งกองทุน/สวัสดิการ กองทุนจัดการขยะระดับตำบล ภารกิจ อปท. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต การจัดระเบียบชุมชนและสังคม 5.พัฒนาระบบข้อมูล พื้นที่จัดการขยะต้นแบบระดับประเทศ 6. กฎกติกาและนโยบาย ทุนทางสังคม จัดภูมิทัศน์/สิ่งอำนวยความสะดวกให้กับผู้พิการและผู้สูงอายุ ลานกีฬา ธนาคารกายอุปกรณ์ ชมรมกีฬา พื้นที่สาธารณะ (Social Public Space) แหล่งเรียนรู้ วิชาธรรมาภิบาล วิชาการจัดการขยะและพลังงานทดแทน วิชาพื้นที่สร้างสรรค์ หน่วยงาน สนง.ทรัพยากรธรรมชาติ สนง.สิ่งแวดล้อมภาค๑ กลุ่มจิตอาสา ๒,๕๙๙ คน ม.แม่โจ้,มช. สนง.พลังงานเชียงใหม่

15 นวัตกรรม “อาสาดอนแก้วสร้างสุข”
13 กลุ่มประชากร นวัตกรรม “อาสาดอนแก้วสร้างสุข” ปัญหา สังคม สุขภาพ 6 ชุดกิจกรรม ภารกิจ อปท. เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วิทยาลัยจิตอาสา โครงสร้างพื้นฐาน(ทางลาดชัน) ส่งเสริมคุณภาพชีวิต จัดระเบียบชุมชนและสังคม ส่งเสริมอาชีพ การจัดการสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาวัฒนธรรม/การศึกษา กองทุนพลเมืองจิตอาสา การเมืองการปกครอง ความปลอดภัยในชุมชน ทุนทางตรง ทุนทางอ้อม ศูนย์จัดการจิตอาสา 28 กลุ่ม กลุ่ม 86 คน คน กองทุนอาสาสร้างสุข 2,599 220 นโยบายสาธารณะ 7+1 Data Center / GIS หมู่บ้าน แหล่งประโยชน์ การบริหารจัดการแบบมีส่วนรวม 27 63 การจัดสวัสดิการสังคมโดยชุมชน จิตอาสามืออาชีพ เกษตรกรรมยั่งยืน ตำบล เครือข่าย 75 15 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติฯ 1 2 3 4 การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน การดูแลสุขภาพชุมชนโดยชุมชน ภาค ประชาชน ท้องถิ่น ท้องที่ การจัดการภัยพิบัติ เครือข่าย หน่วยบริการ สุขภาพ การลงทุนด้านสุขภาพ

16 ผล เหตุ ผล เหตุ

17 ประเด็น ผู้ที่เกี่ยวข้อง การเมือง การปกครอง สุขภาพ การนำเสนอข้อมูล
(ปัญหา/สถานการณ์) ออกแบบ การนำเสนอข้อมูล สภาวะแวดล้อม สังคม ออกแบบ เศรษฐกิจ ผู้ที่เกี่ยวข้อง

18 การนำเสนอข้อมูล การออกแบบ เพื่ออะไร? (What) นำเสนอใคร? (Who)
สร้างการรับรู้ ให้ตระหนักรู้ ใช้ตัดสินใจ ใช้วางแผน นำเสนอใคร? (Who) การนำเสนอข้อมูล การออกแบบ ท้องที่ ท้องถิ่น นำเสนออย่างไร? (How) หน่วยงาน ประชาชน

19 กำหนดโจทย์/เป้าหมาย 1 การสรุป/ประมวลผลข้อมูล 2 การเรียนรู้ของชุมชน
การสรุป/ประมวลผลข้อมูล 2 การรายงานผล/นำเสนอข้อมูล การเรียนรู้ของชุมชน นโยบาย สถานการณ์ ปัญหา ความเปลี่ยนแปลง การมีส่วนร่วมของชุมชน 3 กำหนดโจทย์/เป้าหมาย 4 หาข้อมูลสนับสนุน TCNAP 5 RECAP แนวทางขับเคลื่อน/วิธีแก้ไข

20 ทบทวน

21 “การพัฒนาจะมีประสิทธิภาพได้ต้องยึดหลักการรวมกลุ่ม  
การทํางานรวมกันเป็นกลุ่ม จะช่วยให้ชุมชนเจริญเติบโตโดยเร็วที่สุด” 


ดาวน์โหลด ppt ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google