งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

RIHES-DDD TB Infection control

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "RIHES-DDD TB Infection control"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 RIHES-DDD TB Infection control
Version1.0, 3 October 2014 Daralak T. 04/12/2015

2 จุดประสงค์ (Purpose) : เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของโครงการวิจัยในสถาบันฯ ที่ต้องสัมผัสผู้ป่วยสงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรค ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเพื่อป้องกันการเป็นวัณโรคและป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคของอส.ที่ป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ขอบเขตการใช้งาน (Applies to): เจ้าหน้าที่ (HCW)ที่ต้องสัมผัสอาสาสมัครที่ป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อวัณโรคและโรคติดเชื้อในระบบหายใจ

3 วิธีการดำเนินการ (Procedures)
Facility level Measures Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

4 วิธีการดำเนินการ (Procedures)
Facility level Measures Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

5 เครื่องกรองอากาศ ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ ตู้เก็บเสมหะ

6 วิธีการดำเนินการ (Procedures)
Facility level Measures Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

7 หากบุคคลใดทั้งเจ้าหน้าที่และอาสาสมัคร มีอาการไอ จาม ให้ใช้หน้ากากอนามัย ซึ่งมีจัดเตรียมไว้ในคลินิกวิจัยทุก คลินิก ให้เจ้าหน้าที่ประจำจุดแรกที่พบอาสาสมัครของแต่ละคลินิกวิจัย ดำเนินการซักประวัติเบื้องต้นเพื่อคัดกรอง อาสาสมัครหรือผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรค ประกอบด้วยอาการ ไอเรื้อรัง 2 สัปดาห์ขึ้นไป ไอเป็น เลือด อาการไข้ เหงื่อออกตอนกลางคืน น้ำหนักลด เบื่ออาหาร หากพบว่า อาสาสมัครมีอาการดังกล่าว 2 อย่างขึ้นไป แนะนำให้อาสาสมัครใส่หน้ากากอนามัยชนิด surgical mask และให้แยกอาสาสมัครส่ง เข้าห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ (โทร 6058) ในการตรวจผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือวัณโรคดื้อยา ให้เจ้าหน้าที่ใช้หน้ากากอนามัยชนิด N95 การดูแลอาสาสมัครหรือผู้ป่วยที่สงสัย/ยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ ให้ดำเนินการดูแล อาสาสมัครแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop service) ณ. ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ หากต้องมีการเก็บเสมหะที่คลินิก ให้เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำวิธีการเก็บเสมหะอย่างถูกวิธี และเก็บเสมหะในตู้ เก็บ เสมหะที่จัดเตรียมไว้ จัดอบรมและ/หรือส่งเสริมให้ความรู้กับบุคลากรเกี่ยวกับวัณโรค รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ และแพร่กระจายเชื้อ

8

9 วิธีการดำเนินการ (Procedures)
Facility level Measures Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

10 ทุกคลินิกวิจัยมีการจัดเตรียมแอลกอฮอล์สำหรับอาสาสมัครทำความสะอาดมือ
ทุกคลินิกวิจัยมีการจัดเตรียมหน้ากากอนามัยสำหรับเจ้าหน้าที่และอาสาสมัคร ทุกคลินิกวิจัยจะมีเครื่องกรองอากาศ (Portable Air Cleaners) เจ้าหน้าที่ต้องล้างมือด้วยน้ำยาล้างมือหรือแอลกอฮอล์ทุกครั้งภายหลังเสร็จสิ้นหัตถการ สำหรับห้องตรวจเฉพาะ TB/Respiratory Infection Exam room. (ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ) มีการเปิดระบบทำลายเชื้อโรคด้วยรังสี Ultraviolet โดยเจ้าหน้าที่เปิด UV lamp ทุกวันหยุดราชการ วันละ 2 ชั่วโมง เวลา20-22 น. เมื่อเจ้าหน้าที่ดำเนินการแล้วบันทึกในแฟ้มบันทึกการตรวจสอบเครื่องมือ ที่คลินิกรักษ์สุขภาพ มีการตรวจสอบความพร้อมของตู้เก็บเสมหะ โดยเจ้าหน้าที่เปิดสวิทช์ทดสอบการทำงานของตู้ เดือนละ 1 ครั้ง และทุกครั้งก่อนมีการ ใช้งาน เมื่อเจ้าหน้าที่ดำเนินการแล้วบันทึกลงในแฟ้มบันทึกการตรวจสอบเครื่องมือ ที่คลินิกรักษ์สุขภาพ นอกจากนี้ให้ผู้ ประสานงานติดต่อบริษัทผู้รับผิดชอบเพื่อตรวจและบำรุงรักษาปีละ 1 ครั้ง ก่อนรับอาสาสมัคร/ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ เข้าห้องตรวจ 4 ให้เจ้าหน้าที่เปิดระบบการ ระบายอากาศและกรองเชื้อโรคเตรียมไว้ และภายหลังการใช้ห้องตรวจ 4 สำหรับผู้ป่วยที่สงสัย/ยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อ ในระบบหายใจ ให้ใช้สเปรย์ฆ่าเชื้อที่เตรียมไว้ในห้องตรวจ 4 ฉีดฆ่าเชื้อ รอนาน 1 ชัวโมงก่อนเปิดใช้ในครั้งต่อไป

11 วิธีการดำเนินการ (Procedures)
Facility level Measures Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

12 มีการจัดเตรียมและตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ หน้ากากอนามัยชนิด surgical mask หน้ากาก N95 ถุงมือใช้แล้วทิ้ง ตลอดจน น้ำยาล้างมือและหรือแอลกอฮอล์ทำความสะอาด ให้พร้อมใช้อยู่เสมอ ดูแลความสะอาดเรียบร้อยของทุกคลินิกวิจัย และ ตู้เก็บเสมหะให้พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา จัดให้มีการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่สถาบันฯ ทุก 2 ปี ซึ่งมีการตรวจและซักประวัติเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการติด เชื้อวัณโรค ตลอดจนมีการส่งตรวจเอกซเรย์ทรวงอก (CXR) ตามความเหมาะสม สำหรับเจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยงที่ ต้องดูแลหรือสัมผัสกับผู้ป่วยหรือสิ่งส่งตรวจของอาสาสมัครหรือผู้ป่วยสงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรค แพทย์ให้ มีการชักประวัติคัดกรองปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเห็นของแพทย์ แพทย์พิจารณาให้การตรวจเพิ่มเติมในกรณีเจ้าหน้าที่มีอาการน่าสงสัยเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ และหาก ตรวจพบเจ้าหน้าที่ป่วยเป็นวัณโรค ต้องดำเนินการประสานงานและส่งต่อตามระบบการรักษาพื่อให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวได้รับ การรักษาตามความเหมาะสม ร่วมกับทำการตรวจสอบและคัดกรองเจ้าหน้าที่อื่นซึ่งทำงานใกล้ชิดกับเจ้าหน้าที่คนดังกล่าว และส่งต่อเพื่อรับยาป้องกันวัณโรคหากจำเป็น สำหรับเจ้าหน้าที่โครงการวิจัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค จัดให้มีการตรวจ PPD test ก่อนเริ่มทำงาน และ ตรวจซ้ำทุก2ปี ในกรณีผลเป็น negative หากเป็น positive แพทย์จะเป็นผู้ให้คำปรึกษาตามความ เหมาะสมต่อไป

13 PPD test (Year 2015 : 37 ราย วันที่ 14, 15 และ 18 Dec 2015)
No Unit PPD test Obtain date Read date Result (pos./Neg) อุปกรณ์ : Syringe insulin, ปากกาแบบ permanent, ไม้บรรทัด , สำลีแอล์กอฮอล์, น้ำยา PPD (แช่เย็น, มีอายุการใช้งาน 24 ชม.หลังจากเปิด ) Reference:RIHES ACTG-G : The handling For Tuberculin testing (version 1.0 , 23 May 2012)

14 ขั้นตอน วิธีการทดสอบ ฉีด 0.1 ml ของ 10 IU เข้าชั้นของผิวหนัง ตรงบริเวณด้านในของปลายแขนตามแนวทาง Procedure for Administration of the PPD and Anergy Skin Tests Via the Mantoux Method การอ่านผล อ่านผลหลังฉีด ชั่วโมง โดยวัดขนาดเส้นผ่าศก. เฉลี่ยของตุ่มนูนแข็ง ถ้าเกิน 10 มิลลิเมตรขึ้นไป ถือว่าได้ผลบวก สำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ การวัดขนาดเส้นผ่าศก >5 มม.ขึ้นไป ถือว่าได้ผลบวก

15 -Manse (ไชโย)- มันจบแล้ว


ดาวน์โหลด ppt RIHES-DDD TB Infection control

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google