ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย Biology (40242)
2
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.1.1โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน 6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.2.1 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 6.2.2 การขับถ่ายของสัตว์ 6.2.3 การขับถ่ายของคน 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.3.1 การลำเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.3.2 การลำเลียงสารในร่างกายของคน 6.3.3 ระบบน้ำเหลือง
3
การขับถ่ายของคน
4
การขับถ่ายของคน การขับถ่ายของคน ไตกับการรักษาสมดุลของน้ำและสารต่าง ๆ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต ผิวหนังกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
5
อวัยวะในการใช้ขับถ่ายของเรา
หน้าที่ ลำไส้ ขับกากที่เป็นของแข็งจากอาหารออกทางทวารหนัก ปอด ขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ผิวหนัง ขับน้ำและเกลือออกในรูปของเหงื่อ ไต ขับปัสสาวะ
6
ระบบปัสสาวะ ไต (Kidney) เป็นอวัยวะหลักในการขับถ่าย
ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ที่ทำหน้าที่ ในการกรองนับล้านหน่วยเรียกว่า หน่วยไต (Nephron) ไตเป็นตัวกรองเลือด เพื่อกำจัดยูเรีย (Urea) เกลือส่วนเกิน และน้ำ ทั้งหมดนี้รวมกันเป็นของเหลว เรียกว่า น้ำปัสสาวะ (Urine) ซึ่งไหลไปตามท่อ 2 ท่อ เรียกว่า ท่อไต (Ureter) ไปยังกระเพาะปัสสาวะ (Bladder) กระเพาะจะว่างเมื่อเราถ่ายปัสสาวะออก ไตควบคุมน้ำในร่างกาย เราดื่มน้ำมากเท่าไร น้ำปัสสาวะ ก็จะถูกสร้างมากขึ้นเท่านั้น
7
The Human Urinary System
The urinary system is made-up of the kidneys, ureters, bladder, and urethra. The nephron, an evolutionary modification of the nephridium, is the kidney's functional unit. Waste is filtered from the blood and collected as urine in each kidney. Urine leaves the kidneys by ureters , and collects in the bladder. The bladder can distend to store urine that eventually leaves through the urethra.
8
The Human Urinary System
9
Kidney ไต (kidney) เป็นอวัยวะขับถ่ายของมนุษย์ประกอบด้วย
1. Cortex เนื้อชั้นนอกสุดมีเลือดผ่าน % จึงเป็นจุดสีแดง 2. Medulla เนื้อไตชั้นใน ประกอบด้วยท่อไตและมีเส้นเลือดอยู่ 3. กรวยไต (Pelvis) ต่อกับท่อไต เป็นส่วนปลายของเมดัลลายื่นเข้าไปจรดกับส่วนที่เป็นโพรง ไตแต่ละข้างประกอบด้วย หน่วยไต (nephron) ประมาณ 1 ล้านหน่วย ลักษณะเป็นท่อยาวๆ คดเคี้ยว
10
Structure of Kidney
11
Kidney
12
Nephron หน่วยไต (nephron) มีลักษณะเป็นท่อ
ปลายข้างหนึ่งรูปถ้วย เรียกว่า Bowman’s capsule ล้อมรอบกลุ่มหลอดเลือดฝอย เรียกว่า glomerulus ท่อของหน่วยไต ประกอบด้วย 1. ท่อขดส่วนต้น (proximal convoluted tubule) 2. ห่วงเฮนเล (loop of Henle) 3. ท่อขดส่วนปลาย (distal convoluted tubule) ปลายของท่อจะเปิดออกที่ ท่อรวม (collecting duct) ออกสู่กรวยไต
13
เนื้อไตในส่วนของ medulla ประกอบด้วย renal pyramid ประมาณข้างละ 8-18 อัน มาเปิดเข้าสู่ renal pelvis
อันเป็นแหล่งรวบรวมนำปัสสาวะก่อนส่งผ่านท่อปัสสาวะ (ureter) ไปยังกระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder) การทำงานของไตเป็นผลเนื่องมาจากการทำงานของหน่วยย่อยของไต ที่เรียกว่า nephron ไตแต่ละข้างประกอบด้วย nephron ประมาณ 1 ล้านอัน
14
The Nephron The nephron consists of a cup-shaped capsule containing capillaries and the glomerulus, and a long renal tube. Blood flows into the kidney through the renal artery, which branches into capillaries associated with the glomerulus. Arterial pressure causes water and solutes from the blood to filter into the capsule. Fluid flows through the proximal tubule, which include the loop of Henle, and then into the distal tubule. The distal tubule empties into a collecting duct. Fluids and solutes are returned to the capillaries that surround the nephron tubule.
15
Components of The Nephron
Glomerulus : mechanically filters blood Bowman's Capsule : mechanically filters blood Proximal Convoluted Tubule : Reabsorbs 75% of the water, salts, glucose, and amino acids Loop of Henle : Countercurrent exchange, which maintains the concentration gradient Distal Convoluted Tubule : Tubular secretion of H ions, potassium, and certain drugs.
16
Nephron
18
http://www. besthealth
19
เส้นเลือดที่ไต เส้นเลือดที่ไต ประกอบด้วยเส้นเลือดต่างๆหลายเส้น คือ
- renal artery เป็นเส้นเลือดแดงที่นำเลือดเข้าสู่ไต บริเวณรอยบุ๋มตอนกลางไต - ต่อจากรีนัลอาร์เทอรีจะมีเส้นเลือดแตกแขนงออกแทรกเข้าไปในเนื้อไตส่วนใน เรียกว่า interlobar artery - จากอาร์เทอรี เส้นนี้จะมีเส้นเลือดทอดโค้งอยู่ระหว่างเนื้อไตส่วนนอกและเนื้อไตส่วนในเรียกว่า arcute artery - ต่อจากนั้น มีเส้นเลือดแตกแขนงจากอาร์คิวเอตอาร์เทอรี ในแนวตั้งฉาก เรียกว่า afferent arteriole และเรียกว่า โกลเมอรูลัส ตามลำดับ - จากโกลเมอรูลัส จะมีการรวมกันของเส้นเลือดฝอยเป็นเส้นเลือดที่ออกจากโบว์แมนแคปซูล เรียกว่า efferent arteriole - เอฟเฟอเรนต์อาร์เทอริโอล จะแตกแขนงเป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยอีกครั้งหนึ่งและกลุ่มเส้นเลือดฝอยนี้จะพันเป็นตาข่ายอยู่รอบๆ ท่อหน่วยไต (renal tubule) แล้วจึงรวมกันเป็นเส้นเลือดดำและออกจากไตทางเส้นเลือดดำรีนัล เวน (renal vein)
21
http://www. besthealth
24
http://science. kennesaw
25
ไตกับการรักษาสมดุลของน้ำและสารต่าง ๆ
โกลเมอรูลัสสามารถกรองสารเฉลี่ยวันละประมาณ ลิตร ร่างกายขับปัสสาวะวันละประมาณ ลิตร อีก ลิตร หายไปไหน ? แสดงว่า ไตมีการดูดน้ำและสารต่าง ๆ กลับ ร่างกายเรามีกลไกอะไรที่ใช้ในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะนี้ ?
26
ไตกับการรักษาสมดุลของน้ำและสารต่าง ๆ
antidiuretic hormone : ADH aldosterone
27
antidiuretic hormone : ADH
ถ้าร่างกายขาดน้ำ แรงดันออสโมติกในเลือดจะสูง หรือมีน้ำในเลือดต่ำ hypothalamus ต่อมใต้สมอง หลั่ง ADH เข้าสู่กระแสเลือด กระตุ้นให้หน่วยไตและท่อรวมดูดน้ำกลับคืนสู่หลอดเลือด ทำให้ปริมาณน้ำในเลือดสูงขึ้น ภาวะขาดน้ำ hypothalamus ทำให้ร่างกายเกิดการกระหายน้ำ เมื่อดื่มน้ำ แรงดันออสโมติกในเลือดจะต่ำลง จนเข้าสู่ภาวะปกติ
28
aldosterone ฮอร์โมนนี้ ทำหน้าที่ ควบคุมสมดุลน้ำและแร่ธาตุ
ฮอร์โมนนี้ ทำหน้าที่ ควบคุมสมดุลน้ำและแร่ธาตุ ผลิตจากต่อมหมวกไต (adrenal gland) ควบคุมสมดุล Na , K , P เป็นต้น
29
http://www. besthealth
30
Hormone Control of Water and Salt
Water reabsorption is controlled by the antidiuretic hormone (ADH) in negative feedback. ADH is released from the pituitary gland in the brain. Dropping levels of fluid in the blood signal the hypothalamus to cause the pituitary to release ADH into the blood. ADH acts to increase water absorption in the kidneys. This puts more water back in the blood, increasing the concentration of the urine. When too much fluid is present in the blood, sensors in the heart signal the hypothalamus to cause a reduction of the amounts of ADH in the blood. This increases the amount of water absorbed by the kidneys, producing large quantities of a more dilute urine.
31
Hormone Control of Water and Salt
Aldosterone, a hormone secreted by the kidneys, regulates the transfer of sodium from the nephron to the blood. When sodium levels in the blood fall, aldosterone is released into the blood, causing more sodium to pass from the nephron to the blood. This causes water to flow into the blood by osmosis. Renin is released into the blood to control aldosterone.
33
การกรองสารและการดูดสารกลับของหน่วยไต
34
http://science. kennesaw
39
กลไกในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
Bladder มีความจุปัสสาวะประมาณ cm3 ในเด็กเล็กการควบคุมปัสสาวะเป็นการควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ เมื่อโตขึ้น สมองและก้านสมองพัฒนาขึ้น จึงสามารถควบคุมได้ เราเริ่มปวดปัสสาวะ เมื่อมีปัสสาวะประมาณ 200 cm3 ใน bladder ผนังกระเพาะปัสสาวะ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ไขสันหลัง ก้านสมอง , cerebellum cortex กล้ามเนื้อกระเพาะบีบตัว urine
40
Filtration of the blood in the fine structure of the kidneys.
41
กระบวนการเกิดปัสสาวะ
1. Ultrafiltration การกรอง 2. Tular secretion การขับออก 3. Tubular reabsorption การดูดกลับ แรงที่ทำให้เกิดการกรอง Net filtration pressure = แรงที่ทำให้เกิดกรอง - แรงต้านการกรอง
42
Urine Production Filtration in the glomerulus and nephron capsule.
Reabsorption in the proximal tubule. Tubular secretion in the Loop of Henle.
43
http://www. mhhe. com/biosci/ap/dynamichuman2/content/urinary/visuals
45
การดูดกลับของสารที่ไต
การดูดกลับของสารที่ไตเกิดขึ้นโดยอาศัย 2 กระบวนการ คือ 1. Active transport เป็นการดูดกลับของสารที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย เช่น กลูโคส วิตามิน กรดอะมิโน ฮอร์โมน และอิออนต่างๆ 2. Osmosis เป็นการดูดกลับของน้ำ
46
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis) พบบ่อยในผู้หญิง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย หากไม่ได้รับการรักษา เชื้อแบคทีเรียจะสามารถเคลื่อนตัวผ่านไปยังท่อไต ทำให้ไตและกรวยไตเกิดการอักเสบ (pyelonephritis) ได้
47
ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต
โรคนิ่ว โรคไตวาย
48
Kidney Stones In some cases, excess wastes crystallize as kidney stones. They grow and can become a painful irritant that may require surgery or ultrasound treatments. Some stones are small enough to be forced into the urethra, others are the size of huge, massive boulders.
49
Kidney Stones http://www.mayoclinic.org/kidney-stones/
52
http://www. mhhe. com/biosci/ap/dynamichuman2/content/urinary/visuals
53
หน้าที่ของระบบขับถ่าย
หน้าที่ของระบบขับถ่าย คือ 1. ควบคุมและรักษาระดับสมดุลของน้ำ 2. เป็นแหล่งกำจัดของเสียและสิ่งมีพิษออกจากร่างกายทางปัสสาวะ 3. ควบคุมความดันของกระแสเลือดและความเข้มข้น ของโซเดียมอิออน 4. มีบางส่วนทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อสร้างฮอร์โมน
54
Kidney function 1. ควบคุมสมดุลของน้ำความเข้มข้น 2. การเผาผลาญสารอาหาร
3. สารแปลกปลอม 4. สร้างฮอร์โมน 5. สร้างอาหาร
55
Kidney Function Kidneys perform a number of homeostatic functions :
Maintain volume of extracellular fluid Maintain ionic balance in extracellular fluid Maintain pH and osmotic concentration of the extracellular fluid. Excrete toxic metabolic by-products such as urea, ammonia, and uric acid.
56
ผิวหนังกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
หน้าที่ของผิวหนัง เช่น ป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย รักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ รับความรู้สึก ขับถ่ายของเสีย (เหงื่อ)
57
Structure of skin
58
Sweat gland
59
The Sweat Gland The average person has 2.6 million sweat glands in their skin! Sweat glands are distributed over the entire body -- except for the lips, nipples and external genital organs. The sweat gland is in the layer of skin called the dermis along with other "equipment," such as nerve endings, hair follicles and so on. The following figure illustrates what's going on:
61
Reference
62
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.