Mind Mapping.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Mind Mapping."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Mind Mapping

2 การพัฒนาความจำด้วย Mind Map
คิดค้นโดย Tony Buzan เป็นแผนผังที่แสดงแนวความคิดของมนุษย์ที่มีการเชื่อมโยงความคิดต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีแนวความคิดหลักเป็นศูนย์กลาง แล้วมีความคิดย่อย ๆ กระจาย อยู่รอบ ๆ ความคิดหลัก

3 หลักการของ “แผนที่ความคิด”
หลักการของ “แผนที่ความคิด” คำหลักที่เป็นแกนกลาง (Central Word) หรือ แนวความคิด (Concept) เช่น ตัวฉัน ความคิดหลักๆ (Main Ideas) เช่น ครอบครัว การศึกษา คำลูก (Child Words) เช่น พ่อแม่ พี่น้อง ป.6 ม. 3 ม.6 ป.ตรี

4 ตัวอย่าง หลักการของ “แผนที่ความคิด”

5 ตัวอย่าง Mind Map แบบเขียนเป็นภาพ

6 การเริ่มต้นในการทำแผนที่ความคิด
การค้นหาความสัมพันธ์ เขียนอย่างรวดเร็วลงบนกระดาษโดยไม่หยุด ไม่มีการตัดสินใจ หรือเรียบเรียง วางความคิดหลักเอาไว้ตรงกลางหน้ากระดาษ ใช้ตัวอักษรตัวใหญ่หรือตัวหนากว่าปกติสำหรับ Central Word และ Main Ideas ปล่อยเนื้อที่ว่างกระดาษเอาไว้มาก ๆ

7 กฏพื้นฐานในการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map Rules)
นำกระดาษขนาด เอ 4 หรือใหญ่กว่า วางในแนวนอน และต้องเป็นกระดาษที่ไม่มีเส้น ใช้ปากกาสีปากตัด หลาย ๆ ขนาด หลาย ๆ สี รวมทั้งปากกาเน้นคำ เลือกหัวข้อหรือประเด็นปัญหาที่ต้องการเขียนแผนภูมิความคิด รวบรวมเอกสาร และข้อมูล วัตถุดิบก่อนการเขียน Mind Map ให้มากที่สุด เริ่มต้นการเขียนจากตรงกลางหน้ากระดาษโดยไม่ต้องใส่กรอบให้ข้อความหรือ ขีดขอบเขต

8 กฏพื้นฐานในการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map Rules) (ต่อ)
พยายามใช้คำสำคัญ หรือใช้สีเน้น เลือกคำหรือ เลือกหัวข้อเรียงตามลำดับความสำคัญ การแตกแขนงย่อย ๆ ลงไป ตามลำดับสำหรับเนื้อหาที่สัมพันธ์กัน ใช้รูปภาพให้บ่อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ แทนคำหรือข้อความ คำหรือข้อความจะต้องอยู่บนเส้นเสมอ และเส้นจะมีความยาวเท่ากับคำ หรือรูปภาพ ใช้สีตามจินตนาการของแต่ละคน เพื่อให้มีความเป็นเอกลักษณ์ เก็บข้อความให้มาก จัดหมวดหมู่ เรียบเรียง ตกแต่งให้มีความสวยงาม

9 แหล่งการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ที่มา ชุดวิชาทักษะชีวิต หน่วยที่ 4

10 เฉลยการจดบันทึกแบบ mind map
ที่มา ชุดวิชาทักษะชีวิต หน่วยที่ 4

11 การประยุกต์ใช้แผนที่ความคิด
แผนที่ความคิดกับการอ่านเพื่อทำความเข้าใจ 1. กวาดตามอง เพื่อดูความสัมพันธ์หรือสอดคล้อง 2. อ่าน และตรวจสอบความเข้าใจ 3. ทำแผนที่ความคิด จากการที่จำได้ 4. ศึกษา แผนที่ความคิดที่เขียนแล้ว เพื่อหาช่องว่างความรู้ 5. ทำให้เป็นความรู้ส่วนตัวของเราที่ทำให้เราจำได้

12 ประโยชน์การใช้แผนที่ความคิด ฝ่ายแนะแนวการศึกษา สำนักบริการการศึกษา
ช่วยให้จำได้ง่ายขึ้น ช่วยให้เกิดความคิดเป็นระบบ ช่วยในการทบทวน ช่วยให้เกิดความเข้าใจและจำได้มากขึ้นจากการทบทวนซ้ำ ช่วยในการเตรียมตัวสอบ ฝ่ายแนะแนวการศึกษา สำนักบริการการศึกษา

13 ผังมโนภาพ (mind map) ความหมาย ผังมโนภาพ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ในสถานศึกษาหลายแห่ง ได้มีการกล่าวถึง การใช้ผังมโนภาพเกินความจำเป็น เนื่องจาก คำโฆษณาเกินจริง เกี่ยวกับการใช้สมอง ทั้งซีกซ้าย และ สมองซีกขวา ที่มีการพิสูจน์ ในลักษณะของ รูปแบบวิทยาศาสตร์ลวง ผังมโนภาพ ถือว่าเป็นวิธีหนึ่ง ที่ช่วยบันทึกความคิด เพื่อให้เห็นภาพความคิด ที่หลากหลายมุมมอง ที่กว้างและชัดเจน กว่าการบันทึก ที่โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ อีกทั้ง เป็นวิธีการที่สอดคล้องกับ โครงสร้างทางการคิดของมนุษย์ ที่บางช่วงมนุษย์ จะสูญเสียสมาธิ และ ความจดจ่อไปโดยอัตโนมัติ ขณะที่กำลังคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การทำให้สมองได้คิด ได้ทำงานตามธรรมชาตินั้น มีลักษณะเหมือนต้นไม้ที่แตกกิ่งก้านออกไปเรื่อยๆ ผังมโนภาพ ถูกใช้เป็นแนวคิดไร้รูปแบบตายตัว มาหลายศตวรรษแล้ว เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การระดมสมอง การจดจำข้อมูล การจินตนาการ และ การแก้ปัญหา โดยนักศึกษา วิศวกร นักจิตวิทยา รวมถึงบุคคลทั่วไป ตัวอย่างของผู้คิดผังมโนภาพ ที่น่าจะเก่าแก่ที่สุดในโลก คือ นักคิด ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 นามว่า พอไพรี ผู้ที่จำแนกนิยาม ที่ถูกคิด โดยอริสโตเติลไว้ โดยการมโนภาพ ในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิวัติรูปแบบของผังมโนภาพ โดยการบูรณาการ คือ ดร.อัลลัน คอลลินส์ และ นักวิจัยในช่วงทศวรรษ 60 (พ.ศ. 2500) เอ็ม.โรส ควิลแลนด์ โดยเผยแพร่วิธีการคิดแบบใหม่นี้ โดยการลงบทความ และ ทำการวิจัยเกี่ยวกับ การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ ของมนุษย์ และ การมโนภาพ ทำให้ ดร.อัลลัน คอลลินส์ ถือว่า เป็นบิดาแห่งผังมโนภาพสมัยใหม่ ก็ว่าได้ โทนี บูซาน ได้ชื่อว่า เป็นผู้นำในเรื่องแผนที่ความคิด มาช่วยในการจดจำระยะยาวที่เรียกว่า วิธีเนโมนิก ซึ่งได้แก่ การนำความรู้ใหม่ ไปผูกโยงกับ ความรู้เดิมที่มีอยู่ ควบคู่ไปกับ การพัฒนาสมองซีกขวา โดยการจินตนาการ ด้วยหลักการใช้คำหลักเป็นตัวกำหนด แล้วขยายกิ่งก้านสาขาออกไป วิธีนี้ ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในเรื่อง การทำประชาคม การบันทึกคำบรรยาย เป็นต้น ความหมาย ผังมโนภาพ (Mind map) (1) จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ผังมโนภาพ (Mind map) ผังมโนภาพ หรือ แผนที่ความคิด หรือ ไมด์แม็ป (อังกฤษ: mind map) คือไดอะแกรม ที่แสดงให้เห็นถึง ความเชื่อมโยง ของมโนภาพ ที่สัมพันธ์กันรูปแบบหนึ่ง โดยปกติ จะใช้รูปวงกลม แทนมโนภาพ หรือ ความคิด และ เส้นลูกศร แทนลักษณะ และ ทิศทางของความสัมพันธ์นั้น มีคำกำกับไว้ว่า วงกลม แทนมโนภาพของอะไร เส้นลูกศร แทนความสัมพันธ์ ในลักษณะและทิศทางใด ในบางครั้ง มีการใช้การเน้น และ แจกแจงเนื้อความ ด้วยสี และ การวาดรูปประกอบ ในสถานศึกษาหลายแห่ง ได้มีการกล่าวถึง การใช้ผังมโนภาพเกินความจำเป็น เนื่องจาก คำโฆษณาเกินจริง เกี่ยวกับการใช้สมอง ทั้งซีกซ้าย และ สมองซีกขวา ที่มีการพิสูจน์ ในลักษณะของ รูปแบบวิทยาศาสตร์ลวง ผังมโนภาพ ถือว่าเป็นวิธีหนึ่ง ที่ช่วยบันทึกความคิด เพื่อให้เห็นภาพความคิด ที่หลากหลายมุมมอง ที่กว้างและชัดเจน กว่าการบันทึก ที่โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ อีกทั้ง เป็นวิธีการที่สอดคล้องกับ โครงสร้างทางการคิดของมนุษย์ ที่บางช่วงมนุษย์ จะสูญเสียสมาธิ และ ความจดจ่อไปโดยอัตโนมัติ ขณะที่กำลังคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การทำให้สมองได้คิด ได้ทำงานตามธรรมชาตินั้น มีลักษณะเหมือนต้นไม้ที่แตกกิ่งก้านออกไปเรื่อยๆ ผังมโนภาพ ถูกใช้เป็นแนวคิดไร้รูปแบบตายตัว มาหลายศตวรรษแล้ว เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การระดมสมอง การจดจำข้อมูล การจินตนาการ และ การแก้ปัญหา โดยนักศึกษา วิศวกร นักจิตวิทยา รวมถึงบุคคลทั่วไป ตัวอย่างของผู้คิดผังมโนภาพ ที่น่าจะเก่าแก่ที่สุดในโลก คือ นักคิด ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 นามว่า พอไพรี ผู้ที่จำแนกนิยาม ที่ถูกคิด โดยอริสโตเติลไว้ โดยการมโนภาพ ในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิวัติรูปแบบของผังมโนภาพ โดยการบูรณาการ คือ ดร.อัลลัน คอลลินส์ และ นักวิจัยในช่วงทศวรรษ 60 (พ.ศ. 2500) เอ็ม.โรส ควิลแลนด์ โดยเผยแพร่วิธีการคิดแบบใหม่นี้ โดยการลงบทความ และ ทำการวิจัยเกี่ยวกับ การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ ของมนุษย์ และ การมโนภาพ ทำให้ ดร.อัลลัน คอลลินส์ ถือว่า เป็นบิดาแห่งผังมโนภาพสมัยใหม่ ก็ว่าได้ โทนี บูซาน ได้ชื่อว่า เป็นผู้นำในเรื่องแผนที่ความคิด มาช่วยในการจดจำระยะยาวที่เรียกว่า วิธีเนโมนิก ซึ่งได้แก่ การนำความรู้ใหม่ ไปผูกโยงกับ ความรู้เดิมที่มีอยู่ ควบคู่ไปกับ การพัฒนาสมองซีกขวา โดยการจินตนาการ ด้วยหลักการใช้คำหลักเป็นตัวกำหนด แล้วขยายกิ่งก้านสาขาออกไป วิธีนี้ ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในเรื่อง การทำประชาคม การบันทึกคำบรรยาย เป็นต้น โปรแกรม mind map (open source) DeepaMehta FreeMind KDissert Labyrinth MindRaider Pimki PlanFacile Pocket Freemind Semantik VYM (View Your Mind) WikkaWiki Edraw mindmap เว็บข้อมูลเกี่ยวกับ ผังความคิด mindmap ข้อมูล mindmap การศึกษาแบบผังความคิด ฟรีโปรแกรม bubbl.us Cayra ComboGen Compendium Gliffy IHMC CmapTools Mapul Mind42.com Mindomo MindMeister MindPlan RecallPlus LITE Edition WiseMapping DebateMapper ประโยชน์ และ ความสำคัญของ แผนที่ความคิด 1. เป็นเครื่องมือช่วย ในการเรียนรู้ การจดบันทึก ทบทวนขอบเขตความรู้ 2. เป็นเครื่องมือ สร้างองค์รวมแห่งปัญญา ผ่านกรอบภาพรวม (conception framework) ของเรื่องราว หรือ ปัญหา ที่กำลังเผชิญ 3. เป็นเครื่องช่วยถอดองค์ความรู้ ที่ซ่อนไว้ (tacit knowledge) ออกมาอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับ สภาวะของเรื่องราว หรือ ปัญหา(ต่อยอดความคิด) ผ่านกระบวนการเชิงวิพากษ์ 4. ผู้จัดการความรู้ (facilitator) ในทีม มีโอกาสแสดงศักยภาพได้เต็มที่ และเป็นอิสระ ในการกระตุ้น และสร้างโอกาสการเรียนรู้ของสมาชิกในทีม

14 โปรแกรม mind map (open source)
DeepaMehta FreeMind KDissert Labyrinth MindRaider Pimki PlanFacile Pocket Freemind Semantik VYM (View Your Mind) WikkaWiki Edraw mindmap เว็บไซต์ข้อมูล เกี่ยวกับ ผังความคิด mindmap ข้อมูล mindmap การศึกษาแบบผังความคิด โปรแกรมฟรี (shareware) bubbl.us Cayra ComboGen Compendium Gliffy IHMC CmapTools Mapul Mind42.com Mindomo MindMeister MindPlan RecallPlus LITE Edition WiseMapping DebateMapper ขั้นตอนการสร้าง mind map (1) การค้นหา ความสัมพันธ์ ของความคิดหลัก และ ความคิดรอง ซึ่งมีได้หลายระดับ แล้ววางความคิดหลัก หรือแก่นของเรื่อง (สาระสำคัญ) ที่กลางหน้ากระดาษว่างเปล่าแผ่นกว้าง ด้วยปากกาสื (เลือกไว้หลายๆ สี) (2) คิดคำพูดสั้นๆ กระชับ หรืออาจใช้สัญรูป แทนความคิดหลัก และ ความคิดในระดับรองๆ ลงไป โดยจะเขียนเป็น คำ หรือ ข้อความ กำกับไปในแต่ละเส้นความคิด เมื่อคิดได้ควรรีบเขียน และ (3) ทุกเส้นความคิด (ความคิดหลัก) จากศูนย์กลาง จะโยงความสัมพันธ์ ไปยังเส้นความคิดในระดับย่อยถัดไป ความยาวเส้น จะยาวเท่ากับ คำ หรือ ข้อความ หรือ ให้ดูเหมาะสมกับ สัญรูป ขนาดของเส้น จากศูนย์กลาง จะมีขนาดเรียวเล็ก ออกไป ยังเส้นความคิด ในระดับรองๆ ลงไป และอาจมีรูปร่างโค้งงอ ไปตามรูปทรงของ สัญรูป หรือคำ ข้อความ ความหมาย ผังมโนภาพ (Mind map) (1) จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ผังมโนภาพ (Mind map) ผังมโนภาพ หรือ แผนที่ความคิด หรือ ไมด์แม็ป (อังกฤษ: mind map) คือไดอะแกรม ที่แสดงให้เห็นถึง ความเชื่อมโยง ของมโนภาพ ที่สัมพันธ์กันรูปแบบหนึ่ง โดยปกติ จะใช้รูปวงกลม แทนมโนภาพ หรือ ความคิด และ เส้นลูกศร แทนลักษณะ และ ทิศทางของความสัมพันธ์นั้น มีคำกำกับไว้ว่า วงกลม แทนมโนภาพของอะไร เส้นลูกศร แทนความสัมพันธ์ ในลักษณะและทิศทางใด ในบางครั้ง มีการใช้การเน้น และ แจกแจงเนื้อความ ด้วยสี และ การวาดรูปประกอบ ในสถานศึกษาหลายแห่ง ได้มีการกล่าวถึง การใช้ผังมโนภาพเกินความจำเป็น เนื่องจาก คำโฆษณาเกินจริง เกี่ยวกับการใช้สมอง ทั้งซีกซ้าย และ สมองซีกขวา ที่มีการพิสูจน์ ในลักษณะของ รูปแบบวิทยาศาสตร์ลวง ผังมโนภาพ ถือว่าเป็นวิธีหนึ่ง ที่ช่วยบันทึกความคิด เพื่อให้เห็นภาพความคิด ที่หลากหลายมุมมอง ที่กว้างและชัดเจน กว่าการบันทึก ที่โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ อีกทั้ง เป็นวิธีการที่สอดคล้องกับ โครงสร้างทางการคิดของมนุษย์ ที่บางช่วงมนุษย์ จะสูญเสียสมาธิ และ ความจดจ่อไปโดยอัตโนมัติ ขณะที่กำลังคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การทำให้สมองได้คิด ได้ทำงานตามธรรมชาตินั้น มีลักษณะเหมือนต้นไม้ที่แตกกิ่งก้านออกไปเรื่อยๆ ผังมโนภาพ ถูกใช้เป็นแนวคิดไร้รูปแบบตายตัว มาหลายศตวรรษแล้ว เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การระดมสมอง การจดจำข้อมูล การจินตนาการ และ การแก้ปัญหา โดยนักศึกษา วิศวกร นักจิตวิทยา รวมถึงบุคคลทั่วไป ตัวอย่างของผู้คิดผังมโนภาพ ที่น่าจะเก่าแก่ที่สุดในโลก คือ นักคิด ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 นามว่า พอไพรี ผู้ที่จำแนกนิยาม ที่ถูกคิด โดยอริสโตเติลไว้ โดยการมโนภาพ ในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิวัติรูปแบบของผังมโนภาพ โดยการบูรณาการ คือ ดร.อัลลัน คอลลินส์ และ นักวิจัยในช่วงทศวรรษ 60 (พ.ศ. 2500) เอ็ม.โรส ควิลแลนด์ โดยเผยแพร่วิธีการคิดแบบใหม่นี้ โดยการลงบทความ และ ทำการวิจัยเกี่ยวกับ การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ ของมนุษย์ และ การมโนภาพ ทำให้ ดร.อัลลัน คอลลินส์ ถือว่า เป็นบิดาแห่งผังมโนภาพสมัยใหม่ ก็ว่าได้ โทนี บูซาน ได้ชื่อว่า เป็นผู้นำในเรื่องแผนที่ความคิด มาช่วยในการจดจำระยะยาวที่เรียกว่า วิธีเนโมนิก ซึ่งได้แก่ การนำความรู้ใหม่ ไปผูกโยงกับ ความรู้เดิมที่มีอยู่ ควบคู่ไปกับ การพัฒนาสมองซีกขวา โดยการจินตนาการ ด้วยหลักการใช้คำหลักเป็นตัวกำหนด แล้วขยายกิ่งก้านสาขาออกไป วิธีนี้ ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในเรื่อง การทำประชาคม การบันทึกคำบรรยาย เป็นต้น โปรแกรม mind map (open source) DeepaMehta FreeMind KDissert Labyrinth MindRaider Pimki PlanFacile Pocket Freemind Semantik VYM (View Your Mind) WikkaWiki Edraw mindmap เว็บข้อมูลเกี่ยวกับ ผังความคิด mindmap ข้อมูล mindmap การศึกษาแบบผังความคิด ฟรีโปรแกรม bubbl.us Cayra ComboGen Compendium Gliffy IHMC CmapTools Mapul Mind42.com Mindomo MindMeister MindPlan RecallPlus LITE Edition WiseMapping DebateMapper ประโยชน์ และ ความสำคัญของ แผนที่ความคิด 1. เป็นเครื่องมือช่วย ในการเรียนรู้ การจดบันทึก ทบทวนขอบเขตความรู้ 2. เป็นเครื่องมือ สร้างองค์รวมแห่งปัญญา ผ่านกรอบภาพรวม (conception framework) ของเรื่องราว หรือ ปัญหา ที่กำลังเผชิญ 3. เป็นเครื่องช่วยถอดองค์ความรู้ ที่ซ่อนไว้ (tacit knowledge) ออกมาอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับ สภาวะของเรื่องราว หรือ ปัญหา(ต่อยอดความคิด) ผ่านกระบวนการเชิงวิพากษ์ 4. ผู้จัดการความรู้ (facilitator) ในทีม มีโอกาสแสดงศักยภาพได้เต็มที่ และเป็นอิสระ ในการกระตุ้น และสร้างโอกาสการเรียนรู้ของสมาชิกในทีม

15 ประโยชน์ และ ความสำคัญของ แผนที่ความคิด
(4) ประสบการณ์ ความรู้ และ ทักษะ ของแต่ละบุคคล ในทีม จะช่วยกันสร้าง เส้นความคิด ตั้งแต่ศูนย์กลาง ไปยัง เส้นความคิดในระดับย่อย ให้กระชับ ชัดเจน ในแต่ละความคิดหลัก ปล่อยเนื้อที่ว่างบนกระดาษไว้ให้มากพอ ในการต่อยอดความคิดใหม่ (5) รูปแบบของ mind map ที่นิยมใช้กัน เช่น แบบผังองค์กร (association) หรือ แบบกล้างปลา แบบรัศมีของแสง (radiant) แบบโครงสร้างแฟ้มข้อมูลตามลำดับชั้น หรือ HFS (hierarchical file) โดยอาจใช้สไตล์ ในการออกแบบ ที่หลากหลาย เช่น การ์ตูน หลักวิชาการ อิสระส่วนตัว เน้นความสวยงาม ประโยชน์ และ ความสำคัญของ แผนที่ความคิด 1. เป็นเครื่องมือช่วย ในการเรียนรู้ การจดบันทึก ทบทวนขอบเขตความรู้ 2. เป็นเครื่องมือ สร้างองค์รวมแห่งปัญญา ผ่านกรอบภาพรวม (conception framework) ของเรื่องราว หรือ ปัญหา ที่กำลังเผชิญ 3. เป็นเครื่องช่วยถอดองค์ความรู้ ที่ซ่อนไว้ (tacit knowledge) ออกมาอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับ สภาวะของเรื่องราว หรือ ปัญหา(ต่อยอดความคิด) ผ่านกระบวนการเชิงวิพากษ์ 4. ผู้จัดการความรู้ (facilitator) ในทีม มีโอกาสแสดงศักยภาพได้เต็มที่ และเป็นอิสระ ในการกระตุ้น และสร้างโอกาสการเรียนรู้ของสมาชิกในทีม ระบบการเก็บแฟ้มข้อมูล ตามลำดับชั้น ใช้ตัวย่อว่า HFS (Hierarchical File System) เป็นระบบที่ช่วย จัดเก็บกลุ่มแฟ้มข้อมูล (file) ไว้ในโฟลเดอร์ (folder) และเมื่อเปิดเข้าไปใน สัญรูป (icon) ของแต่ละ folder ก็จะมองเห็น file หรือ โฟลเดอร์ย่อย (subfolder) อยู่ภายใน การเก็บแฟ้มในระบบ HFS จะทำให้ผู้ใช้ เข้าใจได้ง่ายกว่า การเก็บข้อมูลแบบ สารบบ (directory) และ สารบบย่อย (subdirectory) ของระบบปฏิบัติการดอส (DOS: Disc Operating System) ความหมาย ผังมโนภาพ (Mind map) (1) จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ผังมโนภาพ (Mind map) ผังมโนภาพ หรือ แผนที่ความคิด หรือ ไมด์แม็ป (อังกฤษ: mind map) คือไดอะแกรม ที่แสดงให้เห็นถึง ความเชื่อมโยง ของมโนภาพ ที่สัมพันธ์กันรูปแบบหนึ่ง โดยปกติ จะใช้รูปวงกลม แทนมโนภาพ หรือ ความคิด และ เส้นลูกศร แทนลักษณะ และ ทิศทางของความสัมพันธ์นั้น มีคำกำกับไว้ว่า วงกลม แทนมโนภาพของอะไร เส้นลูกศร แทนความสัมพันธ์ ในลักษณะและทิศทางใด ในบางครั้ง มีการใช้การเน้น และ แจกแจงเนื้อความ ด้วยสี และ การวาดรูปประกอบ ในสถานศึกษาหลายแห่ง ได้มีการกล่าวถึง การใช้ผังมโนภาพเกินความจำเป็น เนื่องจาก คำโฆษณาเกินจริง เกี่ยวกับการใช้สมอง ทั้งซีกซ้าย และ สมองซีกขวา ที่มีการพิสูจน์ ในลักษณะของ รูปแบบวิทยาศาสตร์ลวง ผังมโนภาพ ถือว่าเป็นวิธีหนึ่ง ที่ช่วยบันทึกความคิด เพื่อให้เห็นภาพความคิด ที่หลากหลายมุมมอง ที่กว้างและชัดเจน กว่าการบันทึก ที่โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ อีกทั้ง เป็นวิธีการที่สอดคล้องกับ โครงสร้างทางการคิดของมนุษย์ ที่บางช่วงมนุษย์ จะสูญเสียสมาธิ และ ความจดจ่อไปโดยอัตโนมัติ ขณะที่กำลังคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การทำให้สมองได้คิด ได้ทำงานตามธรรมชาตินั้น มีลักษณะเหมือนต้นไม้ที่แตกกิ่งก้านออกไปเรื่อยๆ ผังมโนภาพ ถูกใช้เป็นแนวคิดไร้รูปแบบตายตัว มาหลายศตวรรษแล้ว เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การระดมสมอง การจดจำข้อมูล การจินตนาการ และ การแก้ปัญหา โดยนักศึกษา วิศวกร นักจิตวิทยา รวมถึงบุคคลทั่วไป ตัวอย่างของผู้คิดผังมโนภาพ ที่น่าจะเก่าแก่ที่สุดในโลก คือ นักคิด ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 นามว่า พอไพรี ผู้ที่จำแนกนิยาม ที่ถูกคิด โดยอริสโตเติลไว้ โดยการมโนภาพ ในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิวัติรูปแบบของผังมโนภาพ โดยการบูรณาการ คือ ดร.อัลลัน คอลลินส์ และ นักวิจัยในช่วงทศวรรษ 60 (พ.ศ. 2500) เอ็ม.โรส ควิลแลนด์ โดยเผยแพร่วิธีการคิดแบบใหม่นี้ โดยการลงบทความ และ ทำการวิจัยเกี่ยวกับ การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ ของมนุษย์ และ การมโนภาพ ทำให้ ดร.อัลลัน คอลลินส์ ถือว่า เป็นบิดาแห่งผังมโนภาพสมัยใหม่ ก็ว่าได้ โทนี บูซาน ได้ชื่อว่า เป็นผู้นำในเรื่องแผนที่ความคิด มาช่วยในการจดจำระยะยาวที่เรียกว่า วิธีเนโมนิก ซึ่งได้แก่ การนำความรู้ใหม่ ไปผูกโยงกับ ความรู้เดิมที่มีอยู่ ควบคู่ไปกับ การพัฒนาสมองซีกขวา โดยการจินตนาการ ด้วยหลักการใช้คำหลักเป็นตัวกำหนด แล้วขยายกิ่งก้านสาขาออกไป วิธีนี้ ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในเรื่อง การทำประชาคม การบันทึกคำบรรยาย เป็นต้น โปรแกรม mind map (open source) DeepaMehta FreeMind KDissert Labyrinth MindRaider Pimki PlanFacile Pocket Freemind Semantik VYM (View Your Mind) WikkaWiki Edraw mindmap เว็บข้อมูลเกี่ยวกับ ผังความคิด mindmap ข้อมูล mindmap การศึกษาแบบผังความคิด ฟรีโปรแกรม bubbl.us Cayra ComboGen Compendium Gliffy IHMC CmapTools Mapul Mind42.com Mindomo MindMeister MindPlan RecallPlus LITE Edition WiseMapping DebateMapper ประโยชน์ และ ความสำคัญของ แผนที่ความคิด 1. เป็นเครื่องมือช่วย ในการเรียนรู้ การจดบันทึก ทบทวนขอบเขตความรู้ 2. เป็นเครื่องมือ สร้างองค์รวมแห่งปัญญา ผ่านกรอบภาพรวม (conception framework) ของเรื่องราว หรือ ปัญหา ที่กำลังเผชิญ 3. เป็นเครื่องช่วยถอดองค์ความรู้ ที่ซ่อนไว้ (tacit knowledge) ออกมาอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับ สภาวะของเรื่องราว หรือ ปัญหา(ต่อยอดความคิด) ผ่านกระบวนการเชิงวิพากษ์ 4. ผู้จัดการความรู้ (facilitator) ในทีม มีโอกาสแสดงศักยภาพได้เต็มที่ และเป็นอิสระ ในการกระตุ้น และสร้างโอกาสการเรียนรู้ของสมาชิกในทีม

16

17

18

19

20

21 แบบฝึกหัด สร้าง mind map เรื่อง......


ดาวน์โหลด ppt Mind Mapping.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google