งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ. บำเพ็ญ เขียวหวาน สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2 เกิดขึ้นกับบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ เกี่ยวกับความเชื่อถือประสบการณ์เดิม
บุคคลรับรู้ต่างกัน มักเป็นนามธรรม เกิดขึ้นกับบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ เกี่ยวกับความเชื่อถือประสบการณ์เดิม ตรวจสอบยาก ส่วนบุคคล ประเภทของ ความรู้ ความจริง ทั่วไป บุคคลทั่วไป รับรู้ได้ตรงกัน รับรู้ได้โดย ประสาทสัมผัส ตรวจสอบได้ มักเป็นรูปธรรม

3 ที่มาของ ความรู้ ความจริง
บังเอิญ ไม่ได้ตั้งใจ ขนบธรรมเนียมประเพณี สืบทอดกันมา อุปนัย รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์หาคำตอบ ผู้มีอำนาจ ที่มาของ ความรู้ ความจริง นิรนัย ใช้เหตุผล ตรรกะ ผู้อาวุโส ผู้เชี่ยวชาญ ลองผิด ลองถูก ประสบการณ์ ส่วนตัว

4 วิธีการนิรนัย/อนุมาน(deductive method) “อริสโตเติล”
หาความรู้ความจริงโดยใช้เหตุผล ขั้นตอน ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1.หาเหตุใหญ่ (major premise) - สัตว์ปีกทุกตัวมี 2 ขา - ถ้านักเรียนมาโรงเรียนสายครูจะทำโทษ 2.หาเหตุย่อย (minor premise) - ไก่เป็นสัตว์ปีก - เด็กชายจุกมาโรงเรียนสาย 3.หาข้อสรุป (major premise) - ไก่มี 2 ขา - เด็กชายจุกโดนครูทำโทษ

5 วิธีการอุปนัย/อุปมาน (inductive method) “ฟรานซิส เบคอน”
การหาความรู้โดยเก็บข้อมูลย่อย ๆ หลายกรณี โดยวิธีการต่าง ๆ สังเกต ทดลอง สอบถาม ฯ แล้วสรุปเป็นความรู้ ขั้นตอน 2.วิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่าง - ทำการศึกษาไก่ ,นก,เป็ด ซึ่งทุกตัวเป็นสัตว์ปีก - คนทุกคนเกิดมาแล้วต้อง ตาย - สัตว์ปีกทุกตัวมี 2 ขา - พบว่าเป็นเช่นนี้เหมือนกัน ทุกครั้งกับทุกคน - พบว่าทุกตัวมี 2 ขา 3.สรุปผล 1.เก็บข้อมูล - พบว่าคนเกิดมาแล้วตาย

6 วิจัย (คำนาม) ความหมาย การสะสม การรวบรวม
การสะสม การรวบรวม การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา ค้นหา กำกึ๊ด (ปัญญา) (วิจโย = ปัญญา) เสาะหา สาวลงลึกในเรื่องที่อยากรู้ ความหมาย การแสวงหาองค์ความรู้อย่างมีแบบแผนตามหลักวิชา กว้าง กระบวนการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีแบบแผนตามหลักวิชา เพื่อให้ได้องค์ความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งโดยมีความมั่นใจในข้อสรุป แคบ

7 การวิจัย “การค้นคว้าหาคำตอบ ข้อสงสัย หรือปัญหา อย่างมีระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ/ความรู้ที่เชื่อถือได้” ? ได้คำตอบ ได้ความรู้ ข้อสงสัย

8 ความเชื่อพื้นฐานเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคม (Social Phenomena)
1.ทุกอย่างมีวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีเงื่อนไขจากอดีต การออกแบบไม่สามารถตัดขวางที่ปฏิเสธมิติทางประวัติศาสตร์ มีความเป็นพลวัต (Dynamic) ปรากฏการณ์สังคมเคลื่อนไหว ไม่หยุดนิ่ง(Static) ไม่สามารถออกแบบทดลองแบบวิทยาศาสตร์ กายภาพได้ 3.มีมิติเชิงภาวะวิสัย (Objective) และเชิงอัตตวิสัย (Subjective) ต้องพิจารณาทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลขและไม่ใช่ตัวเลข จึงเข้าใจความซับซ้อนและเป็นองค์รวม (Holistic) ได้ มีทั้งเป็นแบบแผน (Pattern)และไม่เป็นแบบแผนตามตัว (Chaotic) การทำกรอบวิจัยที่เป็น Model และแสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงของตัวแปรใช้ไม่ได้เสมอไป 5.ปรากฏการณ์ไม่เป็นอิสระจากระบบคุณค่า(Value) ทั้งของผู้ศึกษาและตัว ปรากฏการณ์เอง ต้องพิจารณาด้านคุณค่า อารมณ์ ความรู้สึก ระบบคิดด้วย

9 วงจรชีวิตของปรากฏการณ์ทางสังคม (Life Cycle of the Social Phenomena)
ภายใต้เงื่อนไข การเกิดขึ้น(Emergence) เงื่อนไข เงื่อนไข ล่มสลาย ดับสูญ (Death) การดำรงอยู่ Existence ของปรากฏการณ์ การเปลี่ยนแปลง Change เงื่อนไข การตั้งโจทย์การวิจัยต้องพิจารณาว่ากำลังศึกษาอะไรและตรงวงจรใดของปรากฏการณ์ เช่นการหาคำตอบว่ากลุ่ม “เกิดขึ้น”อย่างไร? จะเป็นคนละคำตอบของกลุ่ม “ดำรงอยู่”หรือ“เปลี่ยนแปลง”

10 สามกระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคมศาสตร์
กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคมศาสตร์ ได้มีการปรับเปลี่ยนมาโดยลำดับ กล่าวโดยสรุปได้ว่า กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคมศาสตร์ มีสามกระบวนทัศน์ ได้แก่ 1. สังคมศาสตร์เชิงปฎิฐาน (positivist social science) สังคมศาสตร์เชิงตีความ( interpretivist social science ) สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์(critical social science)โดยมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การวิจัยและข้อแตกต่างของแต่ละกระบวนทัศน์ ดังนี้

11 การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์การวิจัย
กระบวนทัศน์กระแสหลัก (dominant paradigm) กระบวนทัศน์ทางเลือก (alternative paradigms) Paradigm shift สังคมศาสตร์เชิงปฎิฐาน (positivist social science) สังคมศาสตร์เชิงตีความ (interpretivist social science) สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์ (critical social science)

12 การแสวงหาความรู้ - ความจริง
การวิจัย เชิงทดลอง(experiment) การวิจัย เชิงบรรยาย (non-experiment) การวิจัยตามสาขาต่างๆ (research traditions) เช่น เชิงชาติพันธุ์วรรณนา เชิงประวัติศาสตร์ การวิพากษ์หลักสูตร (curriculum critique) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) เพื่อสิทธิสตรี (feminist research) เชิงปฏิบัติการ แบบมีส่วนร่วม (PAR) การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) การวิจัยเชิงวิพากษ์ (critical research) สังคมศาสตร์เชิงปฎิฐาน (Positivist Social) สังคมศาสตร์เชิงตีความ (Interpretivist Social) สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์ (Critical Social Science) การแสวงหาความรู้ - ความจริง

13 เริ่ม ยืนยัน องค์ความรู้ - ทฤษฎี เพิ่ม การอนุมาน (Deduction) กำหนดคำถามการวิจัย กำหนดสมมติฐาน ให้นิยามเชิงปฏิบัติการแก่ตัวแปร ใช้เครื่องมือวัดตัวแปร ได้ข้อมูลเชิงประจักษ์ การอุปมาน (Induction) ทดสอบสมมติฐาน ตอบคำถามวิจัย แบบแผนการวิจัยเชิงปริมาณ (กำหนดไว้แน่นอน) เริ่มด้วยการอนุมาน

14 เป็นข้อสรุป หรือทฤษฎี
สังเคราะห์ เป็นข้อสรุป หรือทฤษฎี วิเคราะห์ ค้นหาแบบแผนของความสัมพันธ์ (Pattern) ระหว่างกลุ่มของข้อมูล การอุปมาน จัดกลุ่มข้อมูลจากที่พบจริง ตั้งคำถามวิจัย อาจมีสมมติฐานชั่วคราว เริ่ม ศึกษาข้อมูลในบริบทจริง

15 ข้อวิจารณ์จุดอ่อน แนวคิดเชิงปฎิฐาน & เชิงตีความ
ปฎิฐาน--เชิงปริมาณ ตีความ--เชิงคุณภาพ ไม่สนใจบริบทสังคมเชิงพลวัติ สังคมไม่หยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงเพราะโครงสร้างสังคมไม่เสมอภาค ไม่ให้ความสำคัญเชิงลึกต่อศักยภาพปัจเจก ด้านความรู้สึกด้านความคิด ไม่เข้าถึงความหมายที่แท้จริงของสิ่งที่ศึกษา เป็นการวิจัยเพื่อรักษาสถานะเดิมมากกว่าเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม เป็นแนวคิดเชิงอัตวิสัย ขาดความชัดเจน ความคิดของบุคล แยกไม่ออกจากค่านิยม ไม่สะท้อนปัญหาที่แท้จริง ไม่ช่วยให้ตระหนักต่อปัญหา มองบริบทระยะสั้นเกินไป ไม่ใช่การวิจัยเชิงรุก ไม่นำไปสู่วิถีการเปลี่ยนแปลง มุ่งศึกษาประเด็นจุลภาคเฉพาะเจาะจง ไม่สามารถเป็นตัวแทนอ้างอิง ขาดข้อมูลชัดเจนสนับสนุน

16 สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์ การวิจัยเพื่อการเปลี่ยนแปลง
สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์ (Critical Social Science) เน้นกระบวนการเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานความเท่าเทียม การเปลี่ยนแปลงมีหลายระดับ ด้านความคิด ความเชื่อ การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม (พัฒนา) เชิงปฏิรูป กลุ่มงานวิจัย ภายใต้กระบวนทัศน์ที่ 3 (สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์) การวิจัยเชิงวิพากษ์ (Critical R.) การวิจัยสิทธิสตรี (Feminist R.) การวิจัยเพื่อสร้างจิตสำนึก (Conscientizing R.) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action R.) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action R.) เทคนิควิธีการวิจัย การสะท้อนตนเอง (Reflexive Methods) เชื่อในศักยภาพของปัจเจกชน วิภาษวิธี (Dialectic techniques) ผู้ถูกวิจัยร่วมตระหนัก คิดเป็นเจ้าของ ร่วมเรียนรู้ และรับผลการวิจัย

17 การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR)
Participatory + Action + Research ผสมผสาน การมีส่วนร่วม + การปฏิบัติ + การแสวงหาความรู้

18 สังคมศาสตร์ เชิงวิพากษ์ (Critical Social Sci.)
เน้นกระบวนการเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานความเท่าเทียม เทคนิควิธีการสำคัญ การสะท้อนตนเอง (Reflexive Methods) เชื่อในศักยภาพของปัจเจกชน วิภาษวิธี (Dialectic Techniques) ผู้ถูกวิจัย ร่วมตระหนัก คิดเป็นเจ้าของร่วมเรียนรู้ และรับผลการวิจัย ไม่มุ่งเน้นเชิงปริมาณหรือคุณภาพแต่ผสมผสาน สำรวจ /ทดลอง /กรณีศึกษา /ศึกษาเชิงประวัติศาสตร์

19 คำถามงานวิจัย RESEARCH
ไม่ค่อยสรุป ทำแล้วเกิดมรรคผลอะไร ไม่แก้ปัญหา วิจัยและปฏิบัติแยกส่วน /นักวิจัยไม่ได้ปฏิบัติ นำไปพัฒนาไม่ได้ ทำแล้วทิ้ง /ไม่สอดคล้องเกิดช่องว่างกับความเป็นจริง ทำตามนโยบาย คนกำหนดนโยบายไม่ได้เรียนรู้กับผู้อื่น ทำตามใจตนเอง ต่างคนต่างทำ ใคร ใครคนทำ คนคิด คนใช้ คนรับประโยชน์ เอาเปรียบ ผูกขาด ผูกขาดอยู่กับผู้เชี่ยวชาญ คนทำงาน-ชาวบ้านเข้าไม่ถึง คำศักดิ์สิทธิ ไว้อ้าง ไว้ขู่ ฯลฯ

20 ข้อพิจารณาความแตกต่าง
นักวิชาการ ชุมชน มุ่งวิชาการ วิธีการที่ถูกต้อง อยากได้ความรู้ แต่ขาดแหล่ง &วิธีสืบค้น ได้ข้อเท็จจริง ได้แก้ปัญหา พัฒนา มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ขาดมิติสังคม ขาดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีมิติสังคม วัฒนธรรม ทัศนะของผู้ถ่ายทอดมากกว่าผู้เรียนรู้มาแบบผู้รู้ดี มีภูมิปัญญาท้องถิ่น รู้สึกตัวเองด้วย รู้น้อย ไม่ตระหนักกับกระบวนการมีส่วนร่วมที่แท้จริง ไม่มีโอกาสมีส่วนร่วม ใช้ภาวิชาการอธิบายแบบนักวิชาการ ไม่เข้าใจภาษาวิชาการ ได้ผลงาน กุมข้อมูล ต้องการได้ข้อมูล ใช้ข้อมูล เข้าไม่ถึง

21 ความเชื่อพื้นฐานบางประการเกี่ยวกับธรรมชาติการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์
มนุษย์มีความจำ (Memory) ซึ่งเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม มนุษย์มีความเชื่อและมีระบบคุณค่าที่ตนยึดถือ (Values and Beliefs) ซึ่งกำหนดการ แสดงออกด้านพฤติกรรมในสถานการณ์และในแต่ละกลุ่มต่างกัน มนุษย์แสดงพฤติกรรมตอบสนองตามสิ่งที่มองเห็นและให้ความหมายตาม ประสบการณ์ ของตนเอง (Perception) มากกว่าการแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อความเป็นจริง (Reality) 4.มนุษย์ใช้เหตุผลทั้งที่เป็นเชิงภาวะวิสัย (Objective) และอัตตวิสัย (Subjective) คือทั้งที่ วัดได้เป็น Scale ตัวเลขและเหตุผลส่วนตัว มนุษย์เป็นทั้ง “ตัวกระตุ้น”(Stimulus) และ “ตัวตอบสนอง”(Response) นักวิจัยต้อง ระวังเพราะจะเป็นทั้งตัวกระตุ้นและตัวตอบสนองในการได้ข้อมูลซึ่งมีผลต่อความ ลำเอียงความน่าเชื่อถือ

22 ความเป็นธรรมชาติ ต้องมีความหลากหลาย ทั้งชีวภาพ วัฒนธรรม ความคิด
ต้องมีความหลากหลาย ทั้งชีวภาพ วัฒนธรรม ความคิด มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน “ป่า” มีสรรพสิ่งเกี่ยวข้องกันไม่ใช่ “สวนป่า” “คน” มีความสัมพันธ์ทาง“สังคม” สามารถจัดการตัวเองได้ “ป่า” ธรรมชาติฟื้นตัวเองได้ “สังคม” มีระบบการจัดการ มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ ธรรมชาติไม่หยุดอยู่กับที่ พฤติกรรมคนเป็นพลวัต

23 โลกทัศน์ของนักวิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพต่อสรรพสิ่งในสังคม
- สรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงในโลกมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนจับแยกกันยาก - การปฏิบัติต่อ “ตัวแปร” / “เงื่อนไข” / “เหตุปัจจัย” แต่ละตัวว่าเป็นตัวแปรอิสระ ไม่น่าจะเป็นจริง - ปรากฏการณ์ทางสังคมไม่สามารถ “ทำนาย” ได้อย่างแม่นยำเสมอไปเพราะซับซ้อน มีพลวัต - การกำหนดกรอบเงื่อนไขของการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ทางสังคมไม่อาจควบคุม ได้จริงอย่างสมบูรณ์ - ให้ความสำคัญกับจินตนาการและความคิดเชิงสร้างสรรค์มาก เพราะหลายๆ กรณีใช้ อธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมได้มากกว่าข้อมูลทั่วไป

24 “การวิจัยที่ไม่อิงข้อมูลตัวเลข แต่ใช้และนำเสนอข้อมูลในเชิงบรรยาย พรรณนา ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากคำบอกเล่าสิ่งที่คนบันทึกไว้ และพฤติกรรมที่สังเกตพบ” Strauss & Corbin มุ่งทำความเข้าใจและตีความ ให้ความหมาย แก่ปรากฏการณ์ และพฤติกรรมของคนในสังคม

25 การแสวงหาความรู้โดยพิจารณา ปรากฏการณ์สังคมจากสภาพแวดล้อมตามความเป็นจริงในทุกมิติเพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์กับสภาพแวดล้อมนั้น โดยสนใจข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด ความหมาย ค่านิยม อุดมการณ์ของบุคคล มักใช้การศึกษาติดตามระยะเวลายาว โดยสังเกต สัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการเป็นหลัก เน้นการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการตีความ สร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (นำข้อมูลเชิงรูปธรรมย่อยๆ หลายๆ กรณี มาสรุปเป็น เป็นเชิงนามธรรม จาก ลักษณะ ร่วมที่พบ)

26 งานวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมาย ความคิดพื้นฐาน
ทำความเข้าใจ ตีความ ให้ความหมาย การปรากฏการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ ของคนในสังคม ศึกษาเฉพาะกรณี ไม่มุ่งการอ้างอิงทั่วไป (generalization) ความคิดพื้นฐาน พฤติกรรมมนุษย์ ซับซ้อน มีหน้าบ้าน & หลังบ้าน แต่ละคน กลุ่ม มองโลกต่างกัน มีผลต่อพฤติกรรมต่างกัน พฤติกรรมมนุษย์เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอด

27 3. แนวทางการวิจัย ให้ความสำคัญต่อ
ความเป็นธรรมชาติของวิธีการวิจัย ตามสถานการณ์ กลมกลืน ไม่โจ่งแจ้ง ใช้เวลาทำความเข้าใจ ศึกษา ความเป็นองค์รวม (Holistic) ของการศึกษา มองพฤติกรรมนั้นกับปัจจัยทุกด้าน ไม่ลดทอนตัวแปร(ควบคุม) เพื่อศึกษาบางประเด็น ความสัมพันธ์ เชื่อมโยง ไม่แยกส่วนให้ความสำคัญกับบริบท (Context) การตีความไม่อยู่ภายไต้กรอบของสมมุติฐานที่กำหนดไว้ ใช้หลักอุปนัย (Induction approach) สรุปจากข้อเท็จจริงย่อยๆ ที่พบ สู่ ข้อสรุปใหญ่ สนใจกับความคิดทัศนะ ของคนกลุ่มที่ศึกษา เก็บข้อมูลแบบสังเกตการณ์ แบบมีส่วนร่วม พูดคุย ซักถาม สังเกต ตะล่อมกล่อมเกลา

28 5. การวิเคราะห์ข้อมูล~ตีความ
4. ข้อมูล ไม่อ้างอิงข้อมูลตัวเลข (เชิงปริมาณ) ข้อมูลได้จากการ บอกเล่า บันทึก คุย เสนา สังเกต มากกว่า การวัด 5. การวิเคราะห์ข้อมูล~ตีความ ไม่เน้นสถิติ (อาจใช้แค่ร้อยละ) ใช้การเปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ แยกประเภท การตีความเน้นการเข้าถึงปรากฏการณ์จริงๆ ในพื้นที่ นักวิจัยเป็นเครื่องมือสำคัญในการตีความให้ความหมาย

29 ลองมาดู VCD ต่อไปนี้

30 ลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ

31 หลักการศึกษารอบด้าน องค์รวมภาพรวมทั้งหมด (Holistic Principle)
การให้ความสำคัญกับบริบท (Context) การให้ความสำคัญกับสภาพแวดล้อม โดยรวม ปรากฏการณ์ หรือปัญหานั้นเกี่ยวข้องอยู่ เพราะปรากฏการณ์สังคมเชื่อโยงกับปรากฏการณ์อื่นๆ การให้ความสนใจกับปฎิสัมพันธ์ของมนุษย์ ของสมาชิกสังคม การให้ความสนใจกับความคิดความเชื่อ และทัศนะของกลุ่มคนที่ศึกษา (Insider’s view) มองในแง่มุมคนในวัฒนธรรมนั้น การไม่เน้นการตั้งสมมติฐาน ถ้ามีก็ปรับสมมติฐานได้ ถ้าไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง การให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลแบบสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม การคุย ซักถาม สัมภาษณ์ เจาะลึก เอกสาร หลักฐาน RRA PRA ไม่เน้นแบบสอบถาม

32 7. เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลบุคคลที่เลือกสรร ว่าเป็นผู้รู้เรื่องนั้นๆ ดี (Key Information)
8. การใช้ระยะเวลาในการอยู่ใกล้ชิดกับเหตุการณ์ ที่ศึกษาของผู้วิจัย เป็นการศึกษาลุ่มลึก (in-depth) ผู้วิจัยต้องเข้าถึงปรากฏการณ์อย่างแท้จริง 9. การทำความเข้าใจปรากฏการณ์โดยการตีความ (Interpretation) เพราะปรากฏการณ์ของข้อมูลสังคมมีความหมายลึกซึ้งเกินกว่าจะปรากฏให้เห็นบน “ผิวหน้า” ต้องหาความหมายที่อยู่ “หลังบ้าน” มากกว่า “หน้าบ้าน” 10. การพิจารณาความแม่นตรงของข้อมูล (Validity) และความเชื่อถือข้อมูล (Reliability) โดยดูว่าคำตอบสอดคล้องกับบริบทของชุมชน ข้อสังเกตหรือไม่ และตรวจสอบแบบ “สามเส้า” (Triangulation)

33 11. การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ขณะเก็บในสนาม และตลอดเวลาไม่เน้นใช้สถิติ ใช้เปรียบเทียบ แยกประเภท วิเคราะห์องค์ประกอบฯ ไม่เน้นข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) 12. การเขียนรายงาน เป็นการบรรยายส่วนมาก และมีการบรรยายสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม กระบวนการเกิดปรากฏการณ์ โดยไม่แยกเขียนรายงานจากการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์อย่างสิ้นเชิง

34 สังเกต ใช้เอกสาร สัมภาษณ์ ผู้วิจัย 1 เวลา บุคคล ผู้วิจัย 3 ผู้วิจัย 2 สถานที่

35 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
1. Edit and clean data ต้องทำในภาคสนามวันต่อวัน ตรวจสอบความถูกต้อง บันทึกใน Field note แยกตาม File นักวิจัยต้อง มีความชัดเจนในประเด็นต่อไปนี้

36 1.1 การกำหนดหน่วยบันทึก ( recording unit ) เป็นหน่วยย่องานวิจัยเชิงคุณภาพจะสอดแทรกอยู่ใน Field note ต้องดึงออกมาในลักษณะเดียวกันกับการ Sorting ข้อมูลเชิงปริมาณ เพื่อมาเรียบเรียงให้เห็นประเด็นหลักในหน่วยความหมายได้ชัดเจน และต้องบันทึกสถานภำพทางสังคมของผู้ให้ข้อมูลไว้ด้วย

37 1.2 หน่วยวิเคราะห์ ( unit of analysis) เป็นสารสนเทศที่ได้จากการรวบรวม หน่วยบันทึกย่อยๆมากมาย เพื่ออธิบายความหมายของเงื่อนไขต่างๆ

38 1.3 หน่วยความหมาย ( context unit ) ของเรื่อง คือหน่วยที่ใช้อธิบายประเด็นหลักหรือวัตถุประสงค์ในการวิจัย เช่น - ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดำรงชีวิต - ระบบคุณค่าและความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน

39 2. วิธีการตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ของข้อมูลและการตีความเบื้องต้น
ต้องตรวจสอบว่าข้อมูลที่ได้มาเพียงพอหรือไม่โดยการนำมาเรียบเรียงตามหน่วยวิเคราะห์แต่ละหน่วย ถ้าข้อมูลไม่ตรงกันต้องสอบทานว่าความจริง เป็นอย่างไร วิธีการสอบทานที่ใช้กันมากใน การวิจัยเชิงคุณภาพ คือ การทำ Traingulation ( สามเส้า ) ( Danzin : 1970 )

40 Triangulation เป็นการตรวจสอบว่าข้อมูลที่ได้มาถูกต้องหรือไม่จาก 3 แหล่ง ได้แก่ แหล่ง “ เวลา ” แหล่ง “ สถานที่ ” และแหล่ง “ บุคคล ”

41 2.1การตรวจ Triangulation ด้านตัวผู้วิจัย เป็นการตรวจสอบว่าผู้วิจัยได้ข้อมูลในเรื่องเดียวกัน ต่างกันอย่างไร โดยเปลี่ยนตัวนักวิจัยหรือผู้สังเกตการณ์ กรณีไม่แน่ใจในความสามารถของนักวิจัยในการเก็บข้อมูลสนาม ควรเก็บโดยนักวิจัย มากกว่า 1 คน

42 2.2 การตรวจ Triangulation เชิงทฤษฎี ( Theoretical triangulation ) เป็นการตรวจสอบว่าถ้าผู้วิจัยใช้แนวคิดทฤษฎี ที่ต่างไปจากเดิม จะทำให้การตีความข้อมูลแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด แนวคิดหรือทฤษฎีที่นำมาตีความแต่ละ Phenomena

43 2.3 การตรวจสอบ Triangulation ด้านวิธีการที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
( Methodological triangulation ) เมื่อใช้ต่างวิธีกันในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้ มีความสอดคล้องกันหรือไม่

44 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Analytical technique of Qualitative research method) วิธีปรากฎการณ์นิยม การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) อธิบายความหมายของข้อมูลที่รวบรวมได้โดยวิธีการอุปมาน (Inductive) เป็นการสรุปจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ ประมวล รวบรวมข้อมูลทั้งหมด แล้วเรียบเรียงให้เป็นภาพที่ชัดเจน

45 ลองมาดูตัวอย่างงานวิจัยต่อไปนี้

46 เป็นข้อสรุป หรือทฤษฎี
สังเคราะห์ เป็นข้อสรุป หรือทฤษฎี วิเคราะห์ ค้นหาแบบแผนของความสัมพันธ์ (Pattern) ระหว่างกลุ่มของข้อมูล การอุปมาน จัดกลุ่มข้อมูลจากที่พบจริง ตั้งคำถามวิจัย อาจมีสมมติฐานชั่วคราว เริ่ม ศึกษาข้อมูลในบริบทจริง

47 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำให้ได้สารสนเทศ
ที่เป็นองค์ความรู้ในระดับหนึ่ง ซึ่งต้องการ การยืนยันข้อค้นพบด้วยระเบียบวิธีการวิจัยใน ระดับต่อไป ผลการวิจัยที่ได้จึงเรียกว่า Grounded Theory

48 โลกทัศน์ของนักวิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพต่อสรรพสิ่งในสังคม
- สรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงในโลกมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนจับแยกกันยาก - การปฏิบัติต่อ “ตัวแปร” / “เงื่อนไข” / “เหตุปัจจัย” แต่ละตัวว่าเป็นตัวแปรอิสระ ไม่น่าจะเป็นจริง - ปรากฏการณ์ทางสังคมไม่สามารถ “ทำนาย” ได้อย่างแม่นยำเสมอไปเพราะซับซ้อน มีพลวัต - การกำหนดกรอบเงื่อนไขของการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ทางสังคมไม่อาจควบคุม ได้จริงอย่างสมบูรณ์ - ให้ความสำคัญกับจินตนาการและความคิดเชิงสร้างสรรค์มาก เพราะหลายๆ กรณีใช้ อธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมได้มากกว่าข้อมูลทั่วไป


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google