งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ โดย... นพ.สมบัติ แทนประเสริฐสุข ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค

2 ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรคปี 2560
การพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี Model Thailand 4.0 แผนพัฒนาศก.สังคมประเทศ ฉ. 12 ( ) ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข 20 ปี แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉ. 12 ( ) แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดกระทรวง สธ. ปี 2560 แผนพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ ฉ. 12 ( ) แผนงานป้องกันควบคุมโรคต่างๆ ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ( ) ตัวชี้วัดของกรมควบคุมโรค ปี 2560

3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 : ปฏิรูประบบ (พ.ศ ) ระยะที่ 2 : สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ ) ระยะที่ 3 : สู่ความยั่งยืน (พ.ศ ) ระยะที่ 4 : เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย (พ.ศ ) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) Promotion Prevention Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence กรมควบคุมโรค

4 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี

5 กรอบแนวทางที่สำคัญของยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ที่เกี่ยวข้องกับ กระทรวงสาธารณสุข

6 การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี สู่ยุทธศาสตร์แผนฯ12 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)

7 ยุทธศาสตร์แผนฯ 12 ที่สอดคล้องกับกระทรวงสาธารณสุข
2. การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำของสังคม 1. การเสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพทุนมนุษย์ เป้าหมาย เป้าหมาย 2.คนในสังคมทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้และความสามารถเพิ่มขึ้น 4.คนไทยมีสุขภาวะดีขึ้น 2. เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมภาครัฐ ตัวชี้วัด 2.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2 คะแนน IQ เฉลี่ย ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2.3 เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด 4.2 การตายจากอุบัติเหตุทางถนนต่ำกว่า ๑๘ คน ต่อประชากรแสนคน 4.4 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลง การคลอดในผู้หญิงกลุ่มอายุ ปี ลดลง ตัวชี้วัด 2.4 ความแตกต่างของสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่ลดลง

8

9 4 Excellence กระทรวงสาธารณสุข

10

11 แผนงาน โครงการ และตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปี 2560
Promotion Prevention Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence 16 แผนงาน 48 โครงการ 96 ตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค 5 แผนงาน 8 โครงการ 14 ตัวชี้วัด

12 มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ผังความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สู่แผนงานป้องกันควบคุมโรคฯ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ยุทธฯชาติ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม คนในสังคมทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น คนไทยมีสุขภาวะดีขึ้น เพิ่มโอกาสเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมภาครัฐ เป้าฯ ชาติ เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี วิสัยทัศน์ สธ. Promotion Prevention Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence ยุทธฯ สธ. เป้าฯ สธ. ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชน จากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 วิสัยทัศน์ คร. พัฒนาร่วมมือกับเครือข่ายฯ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานฯ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายฯ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ฯ เตรียมพร้อมตอบโต้ สถานการณ์ฉุกเฉินฯ บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ ยุทธฯ คร. เป้าฯ คร. เป้าหมายการลดโรค: ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค ลดตาย แผนฯ คร. แผนพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์กลุ่มโรค / รายโรค กลุ่มแผนคร. แผน CD แผน SALT แผน NATI แผน EN OCC

13 ภาครัฐ วิสัยทัศน์ : ประชาชนทุกคนได้รับการปกป้องจากโรคและภัยสุขภาพ
ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคฯ กับแผนยุทธศาสตร์โรค เพื่อนำไปสู่เป้าหมายลดโรค & ภัยสุขภาพ วิสัยทัศน์ : ประชาชนทุกคนได้รับการปกป้องจากโรคและภัยสุขภาพ เป้าหมายลดโรคและภัยสุขภาพ แผนยุทธศาสตร์ โรคจากการประกอบอาชีพ & สิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ อุบัติใหม่ แผนยุทธศาสตร์ เอดส์ วัณโรค โรคเรื้อน ตับอักเสบ แผนยุทธศาสตร์ โรคไม่ติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ การบาดเจ็บ แผนยุทธศาสตร์ ปัจจัยเสี่ยง (Alc. ยาสูบ) ที่แสดงไว้ใน Slide นี้ เป็นคณะกรรมการที่ดูนโยบาย (Policy) น่าจะเพิ่มเติมด้วยว่า มีคณะกรรมการตามกฎหมาย คือ คณะกรรมการวัตถุอันตราย ที่ใช้ พรบ.วัตถุอันตราย 2535 และฉบับปรับปรุง -คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง อาจตัดแถวสีฟ้า คณะอนุกรรมการ 3 คณะออกไป จะทำให้ที่ว่างมากขึ้น การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน- ระบบป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็ง-เป็นเอกภาพ ภาครัฐ (MOPH, non- MOPH) เอกชน (ภาคธุรกิจ, NGO) พัฒนาภารกิจ โครงสร้าง บริหาร จัดการระบบ พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการ เฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค พัฒนามาตรการ ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาความเข้มแข็งแผนงานควบคุมโรค พัฒนาระบบกลไกตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนากำลังคนรองรับระบบป้องกันควบคุมโรคภัยสุขภาพ พัฒนาระบบห้อง ปฏิบัติการทางสาธารณสุข ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค & ภัยสุขภาพแห่งชาติ (๒๕๖๐-๒๕๖๔)

14 กรอบแผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค ลดตาย แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนาเชิงระบบ (Backbone) กลไกเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุขภาพ ภาวะปกติและฉุกเฉิน การจัดการความรู้ การรับรองมาตรฐาน และการประเมินเทคโนโลยี การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Cluster CD แผนงานควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ แผนงานควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์และคน แผนงานควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ แผนงานควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง แผนงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล แผนงานควบคุมโรคหนอนพยาธิ Cluster SALT แผนงานการดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แผนงานควบคุมวัณโรค แผนงานควบคุมโรคเรื้อน โครงการป้องกันและควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส Cluster NATI แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แผนงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แผนงานควบคุมการบริโภคยาสูบ แผนงานควบคุมการบาดเจ็บ Cluster Env/Occ แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ 2. แผนงาน ยุทธศาสตร์ บริหารจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม กลไกการขับเคลื่อน : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ” (DHS/DC)

15 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การพัฒนาเชิงระบบ
จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผลสัมฤทธิ์คุณภาพการป้องกันควบคุมโรค ตามระบบสุขภาพอำเภอ : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” (DHS/DC) แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ , จัดการข้อมูลเฝ้าระวังสอบสวนโรค , ป้องกันชุมชน สถานบริการสาธารณสุข ป้องกันและลดการตายจากการจราจรทางถนน ,ขับเคลื่อน Big City RTI , พัฒนาการสอบสวนและนำข้อมูลไปใช้ สร้างทีม Merit Maker และสื่อสารประชาสัมพันธ์ ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , ควบคุมโฆษณาและส่งเสริมการขาย , สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม ,มาตรการระดับชุมชน, คัดกรอง บำบัดรักษา โรคจากอาชีพ&สิ่งแวดล้อม จัดบริการอาชีวอนามัยแรงงานในชุมชน พัฒนาเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงการทำงานของแรงงานในชุมชนและนอกระบบ สนับสนุนสถานประกอบการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์ สนับสนุนสถานประกอบการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร เฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการฯ บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ซิกาเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย : คัดกรองCXR กลุ่ม HIV/DM ผู้ต้องขัง ต่างด้าว ผู้สูงอายุ รักษา กินยาครบ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ : RRTTR/ลดการตีตรา ป้องกันควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส: เข้าถึงการรักษา ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง โครงการพระราชดำริ Malaria ในโรงเรียน ตชด 196 รร. คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ โรคหนองพยาธิ ในพื้นที่ทุรกันดาร การพัฒนาเชิงระบบ บริหารแผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ – 2564 (Mega project) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ : ควบคุมโรคในช่องทางเข้าออกประเทศ ด่านฯ จว.ชานแดน / SEZ / Travel Medicine แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ : พัฒนา EOC ให้เกิดประสิทธิภาพเชื่องโยงระดับเขตและจังหวัด แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ 2558 ให้เป็นรูปธรรมและเกิดประสิทธิภาพในระดับจังหวัดและอำเภอ บริหารจัดการงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม 15

16 เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59
เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 โรคติดต่อสำคัญ 1 โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 2 โรคพิษสุนัขบ้า ปี 63 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 3 โรคเรื้อน ปี 63 ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ ไม่เกิน 100 ราย 4 มาลาเรีย ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย 5 เอดส์ ปี 73 ยุติปัญหาเอดส์ : No เด็กคลอดมาติดเชื้อ & ผู้ใหญ่ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย 6 วัณโรค ปี 63  อุบัติการณ์วัณโรคลง 20% แผนการดำเนินงานในปี 60 กรมยังคงยึด เป้าหมายป้องกันควบคุมโรค เพื่อการลดโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ทั้งโรคติดต่อที่สำคัญ โรคไม่ติดต่อ การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรคประกอบอาชีพ โรคไม่ติดต่อ 7 บาดเจ็บจากการจราจร ปี 63 ควบคุมอัตราตาย  50% จากปี 54 8 โรคไม่ติดต่อ ปี 68  ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลง 25% ควบคุมปัจจัยเสี่ยง แอลกอฮอล์ ปี 68  ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัว ปชก. ต่อปี ลง 10% 10 ยาสูบ ปี 68  การบริโภคยาสูบลง 30 % 11 ความดันโลหิตสูง ปี 68  ความชุกภาวะความดันโลหิตสูงลง 25 % 12 เบาหวาน ปี 68 ความชุกของเบาหวานและโรคอ้วน ไม่ให้เพิ่มขึ้น โรคจากการประกอบอาชีพฯ 13 เกษตรกรรม ปี 63 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ไม่เกิน 9 : แสน ปชก.

17 ตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ปี 2560 ปี 2560: เป็นตัวชี้วัด PA สธ. 6/29
ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ 4 มิติ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุขจุดเน้นปี 2560 ที่เกี่ยวข้องกับ กรมควบคุมโรค 20 ปี 14/96 ตัวชี้วัด ปี 2560: เป็นตัวชี้วัด PA สธ. 6/29 ตัวชี้วัดปี 2560 กรมควบคุมโรค ตัวชี้วัดผลผลิต 17 ผลผลิต ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์

18 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี
ด้านสาธารณสุข จุดเน้นปี 2560 ที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค 14/96 ตัวชี้วัด เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข 6 /29 ตัวชี้วัด

19 เป็น PA สธ. ปี2560 สธ. 6 /29 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปีที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค 14/96 ตัวชี้วัด เป็น PA สธ. ปี2560 สธ. 6 /29 ตัวชี้วัด โครงการ ตัวชี้วัด PA ปลัด หมายเหตุ 1. Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3 โครงการ) 1.โครงการพัฒนาระบบ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และภัยสุขภาพ ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง : ร้อยละ80 2. โครงการควบคุมโรค ติดต่อ อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ : ร้อยละ 85 3. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก : ร้อยละ 85 4. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) : ร้อยละ 80 3. โครงการควบคุมโรคไม่ ติดต่อและภัยสุขภาพ 5. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 /แสนประชากร อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน:ไม่เกิน 14/แสนประชากร 7. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ : อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 แผนงานที่ 3 : การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (1 โครงการ) 4. โครงการควบคุมโรคไม่ ติดต่อและภัยสุขภาพ 8. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป : ร้อยละ 19 9. ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป : 6.81 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี

20 เป็น PA สธ. ปี2560 สธ. 6 /29 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปีที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค 14/96 ตัวชี้วัด เป็น PA สธ. ปี2560 สธ. 6 /29 ตัวชี้วัด โครงการ ตัวชี้วัด สธ. vs กรมฯ หมายเหตุ 2. Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (2 โครงการ) 5. โครงการบริหารจัดการ ขยะและสิ่งแวดล้อม ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ตัวชี้วัดร่วม 6. โครงการคุ้มครอง สุขภาพประชาชนจาก มลพิษสิ่งแวดล้อมใน พื้นที่เสี่ยง 11. จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตัวชี้วัดร่วม 3. Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบสุขภาพ (Service Plan 1 โครงการ) 7. โครงการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพ สาขา โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 12. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ เบาหวานเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 59 หรือมากกว่า 40% / ความดัน เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 59 หรือมากกว่า 50% 13. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) : มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 แผนงานที่ 9 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ (1 โครงการ) 8. โครงการพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษและ สุขภาพแรงงานข้าม ชาติ (Migrant Health) 14. ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด : ร้อยละ 25 รวม 5 แผนงาน 8 โครงการ 14 ตัวชี้วัด 6

21 การดำเนินงานตามภารกิจกรมควบคุมโรค
ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มิติประสิทธิผล-1.1.1 การดำเนินงานตามภารกิจกรมควบคุมโรค ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของแผนงานควบคุมโรคระดับชาติ 18 แผน+1ระบบ

22 ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลำดับ แผนงาน ตัวชี้วัด 1 แผนงานที่ควบคุมโรคที่ป้องกันดัวยวัคซีน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อเร่งรัดความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กกลุ่มเป้าหมาย 2 แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อลดเหตุการณ์ระบาดโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 3 แผนงานควบคุมโรคติดต่อจาก สัตว์และคน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า 4 แผนงานควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ระดับความสำเร็จของการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ระดับความสำเร็จของการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ 5 แผนงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ระดับความสำเร็จของการลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๑๖ ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) 6 แผนงานควบคุมโรคไข้มาลาเรีย ระดับความสำเร็จของจำนวนอำเภอไม่มีการแพร่เชื้อมาลาเรีย 7 แผนงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล 8 แผนงานควบคุมโรคเอดส์ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงรับบริการฝากครรภ์ อายุ ปี 9 แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อลดอัตราป่วยโรคหนองใน ในกลุ่มอายุ ปี

23 ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ลำดับ แผนงาน ตัวชี้วัด 10 แผนงานควบคุมวัณโรค อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 11 แผนงานควบคุมโรคเรื้อน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานลดจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่มีความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability) 12 แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 13 แผนงานควบคุมการบาดเจ็บ จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ดำเนินการมาตรการชุมชน ๔๐ อำเภอเสี่ยง (DHS/DC) ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ 14 แผนงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19ปี ไม่เพิ่มขึ้นจากผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง (BSS) ในปี 2558 15 แผนงานควบคุมการบริโภคยาสูบ ร้อยละของอัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น อายุ 15 – 18 ปี ไม่เกินร้อยละ ๙ 16 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิในพื้นที่สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นขึ้นไป ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร

24 ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลำดับ แผนงาน ตัวชี้วัด 17 แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 18 ระบบงานระบาดวิทยา ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ 19 แผนงานควบคุมโรคเขตเมือง ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ ระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชนแนวตั้ง ระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชนแนวตั้ง

25 ตัวชี้วัดการขับเคลื่อนงานยุทธศาสตร์
กรมควบคุมโรค ( )

26 ตัวชี้วัดการขับเคลื่อนงานยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ปี 2559- 2563
ประสิทธิผล ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความร่วมมือและสนับสนุนภาคีเครือข่ายภายในประเทศและนานาชาติ ร้อยละของภาคีเครือข่ายระดับนานาชาติ ประเทศ ภูมิภาค และท้องถิ่นมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ คุณภาพ การให้บริการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา นวัตกรรม มาตรการ มาตรฐาน และวิชาการ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นหลักของประเทศ 1. สัดส่วนของผลิตภัณฑ์เพื่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่ดำเนินการตามมาตรฐานสากล 2. สัดส่วนของลูกค้าหรือผู้ใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ฯ ของกรมควบคุมโรค 3. จำนวนศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค 1. จำนวน นโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือกฎหมายในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่ได้รับความเห็นชอบให้นำไปใช้ในระดับพื้นที่ / เขตสุขภาพ / กรม /กระทรวง / ภูมิภาค(region) / ประเทศ / นานาชาติ 2. สัดส่วนของหน่วยงานที่มีกลไกและการกำกับติดตาม ควบคุมคุณภาพ และประเมินผลการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 เตรียมความพร้อมและการจัดการในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานสากล 1. ร้อยละของหน่วยงานที่มีความสำเร็จในการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรม สุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสมในการป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 2.ร้อยละของหน่วยงานที่มีความสำเร็จในการบริหารจัดการให้กรมควบคุมโรคมีภาพลักษณ์ที่ดี 1. จำนวนศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ทั้งส่วนกลางและสำนักงานป้องกันควบคุมโรค สามารถดำเนินการได้ครบถ้วน 5 ขั้นตอน 2. ระดับความสำเร็จของทีมตระหนักรู้สถานการณ์และทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค สามารถเชื่อมต่อระบบข้อมูลการเฝ้าระวังเหตุการณ์ได้แบบ Real 3. ระดับความสำเร็จของห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุขสามารถดำเนินการตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัสในโรคที่เป็นปัญหาสำคัญได้ (Influenza , Hand Foot Mouth Disease, Zika Virus Disease ยุทธศาสตร์ที่ 6 บริหารจัดการองค์การแนวใหม่ การพัฒนาองค์กร 1. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์ประเมินความโปร่งใสในการดำเนินงาน 2. จำนวนหมวดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพบริหารจัดการองค์การได้ตามมาตรฐานสากล 3. ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล 26

27 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google